ปรากฏการณ์ ไฟฟ้าสถิต มี อะไร บาง

ปรากฏการณ์ ไฟฟ้าสถิต มี อะไร บาง

ปัญหาไฟฟ้าสถิต เป็นอีกปัญหาที่หลายๆ คนคงได้พบเจออยู่บ่อยๆ อย่างที่ใกล้ตัวที่สุด คือ การไปใช้บริการที่ห้างสรรพสินค้า และเข็นรถเข็น พอถึงระยะเวลาหนึ่ง พอสัมผัสกับโลหะก็จะรู้สึกเหมือนโดนไฟช็อตอยู่ในระยะเวลาหนึ่ง หรือในการทดสอบในห้องเรียน โดยการทำผ้าถูกับลูกโป่งแล้วนำลูกโป่งมาใกล้กับเส้นผมและเส้นผมก็จะชี้ขึ้นไปยังลูกโป่ง ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นนี้ คือการเกิด “ไฟฟ้าสถิต” แล้วไฟฟ้าสถิตนี้คืออะไร เกิดขึ้นได้อย่างไรมาลองติดตามได้จากบทความนี้ได้เลยครับ

ไฟฟ้าสถิต คืออะไร

ไฟฟ้าสถิต (Static electricity) คือ ปรากฎการณ์ที่บนผิวของวัสดุนั้นมีปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบไม่เท่ากัน ซึ่งจะเกิดขึ้นได้จากการที่พื้นผิวสองชนิดมีการสัมผัสและแยกออกจากกัน โดยที่ด้านหนึ่งมักจะเป็นพื้นผิวที่มีความต้านทานสูงต่อกระแสไฟฟ้า (หรือเป็นฉนวนไฟฟ้า)

โดยปกติแล้ววัสดุหรือพื้นผิวมักจะเป็นกลางทางไฟฟ้า เพราะภายในอะตอมจะมีประจุบวก (โปรตอนในนิวเคลียส) และจำนวนของประจุลบ (อิเล็กตรอนใน “วงรอบนิวเคลียส”) มีปริมาณที่เท่ากัน หลังที่พื้นผิวทั้งสองได้สัมผัสจะทำให้ประจุลบ และประจุบวก เกิดการแยกออกจากกัน และเกิดการเคลื่อนที่ของประจุลบไปยังพื้นผิวหนึ่ง และประจุบวกก็เคลื่อนที่ไปอีกพื้นผิวหนึ่ง เมื่อทำการแยกพื้นผิวออกจากกัน ทำให้เกิดการไม่สมดุลของประจุขึ้น และไฟฟ้าสถิตเองก็สามารถเกิดขึ้นได้กับทั้งวัตถุที่เป็นของเหลว และของแข็ง

การปลดปล่อย ไฟฟ้าสถิต

การปลดปล่อยไฟฟ้าสถิต (Electrostatic Discharge) จะเกิดเมื่อมีการไหลของประจุจากพื้นผิวไปยังสภาพแวดล้อม โดยผลกระทบจากไฟฟ้าสถิต ก็อาจจะพบเห็นได้ เช่น เกิดประกายไฟ ได้ยินเสียง และหลังจากที่เกิดการไหลของประจุเรียบร้อย จะเกิดการเป็นกลางของประจุ

อันตรายจากไฟฟ้าสถิต

ไฟฟ้าสถิต นั้นก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งของอุบัติเหตุได้ โดยทั่วไปเราจะพบไฟฟ้าสถิตในรูปแบบ สะเก็ตไฟ หรือโดนไฟดูดเล็กๆ โดยปกติก็จะทำให้รู้สึกช็อตเพียงนิดเดียว เพราะกระแสไฟฟ้าไม่สูงมากนัก แต่กระแสไฟฟ้าแบบนี้ก็เป็นต้นเหตุที่อาจตจะทำให้อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์เสียหายได้ แต่ถ้ามีปริมาณกระแสไฟฟ้าที่สูงขึ้นก็จะเป็นอันตรายต่อชีวิตได้เช่นกัน และฟ้าผ่าก็ยังเป็นการปลดปล่อยประจุไฟฟ้าสถิตที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่มีความรุนแรงเป็นอย่างมาก

นอกจากนี้ สะเก็ดไฟ ที่เกิดขึ้นจากไฟฟ้าสถิต หากไปเกิดขึ้นในจุดที่มีความเสี่ยง เช่น ใกล้จุดวัตถุไวไฟ หรือในโรงงานอุตสาหกรรม ก็อาจจะเป็นต้นเหตุของอุบัติเหตุที่ร้ายแรงได้เช่นกัน

ปรากฏการณ์ ไฟฟ้าสถิต มี อะไร บาง
ฟ้าผ่า ก็เป็นไฟฟ้าสถิตอีกชนิดหนึ่งที่มีความอันตรายเป็นอย่างมาก

การป้องกัน และการกำจัดไฟฟ้าสถิตออก

ไฟฟ้าสถิตนั้น มักจะเกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีความชื้นต่ำ เพราะความชื้นในอากาศ จะทำให้อากาศเป็นสื่อกระแสไฟฟ้า เมื่อมีการเพิ่มความชื้นอากาศก็จะช่วยให้การปลดปล่อยประจุไฟฟ้าได้ดีขึ้น ดังนั้นการเพิ่มความชื้นในอากาศจะจะมีผลที่ช่วยได้ โดยวิธีง่ายๆ คือ ใช้เครื่องเพิ่มความชื้น หรือเปิดหน้าต่าง และเสื้อผ้านั้นก็มีผลต่อการเกิดไฟฟ้าสถิตด้วย โดยเฉพาะ เสื้อขนสัตว์ ผ้าใยสังเคราะห์ โพลีเอสเตอร์ จะเป็นผ้าที่เป็นตัวนำไฟฟ้าได้ดี จึงทำให้พบปัญหาไฟฟ้าสถิตได้

และสำหรับในโรงงานอุตสาหกรรม ในบางครั้งก็จะมีการใช้ รองเท้านิรภัยต้านไฟฟ้าสถิต มาใช้ในการแก้ไขปัญหาไฟฟ้าสถิต แต่รองเท้าชนิดนี้จะมีพื้นรองเท้าที่นำไฟฟ้าที่ดี ไม่ควรนำไปใช้สลับกับ รองเท้าฉนวน ที่ใช้ในการป้องกันไฟฟ้าช็อตจากไฟฟ้าสายหลัก

การนำไปใช้ประโยชน์

นอกจากอันตรายจากไฟฟ้าสถิตนั้น ปัจจุบันก็ยังมีการนำไปใช้ในการทำงานของอุปกรณ์และเครื่องจักรต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย เช่น การใช้ในเครื่องถ่ายเอกสารที่จะช่วยในการที่ทำให้ผงหมึกไปเกาะในจุดที่ต้องการทำให้ได้ภายสำเนาที่ชัดเจน การใช้ในการพ่นสี ไมโครโฟนแบบเก็บประจุ และอื่นๆ อีกมากมาย

ที่มา : th.wikipedia.org

สินค้าของเรา

ปรากฏการณ์ ไฟฟ้าสถิต มี อะไร บาง

ท่อดูดเกลียวโพลียูรีเทนกันไฟฟ้าสถิต

เป็นท่อที่ผลิตจาก โพลียูริเทน, PVC, ลวดทองแดง ที่สามารถใช้ในในการดูดลม อากาศ ก๊าช ของเหลว ได้ดี มีความยืดหยุ่น และช่วยป้องกันไฟฟ้าสถิตได้อีกด้วย

ปรากฏการณ์ ไฟฟ้าสถิต มี อะไร บาง

การเกิดไฟฟ้าสถิต

จากที่ได้ดูวีดีโอนี้แล้วได้รู้อะไรบ้าง?    

  • ได้รู้ว่าไฟฟ้าสถิตนั้นเกิดขึ้นได้เนื่องจากอะไร
  • ได้รู้การถ่ายเทประจุไฟฟ้าว่าเป็นอย่างไร
  • ได้รู้ว่าเมื่อเรานำหวีมาหวีผมมันสามารถทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตได้

                        ไฟฟ้าสถิต (Static electricity หรือ Electrostatic Charges) เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันปกติจะแสดงในรูปการดึงดูด,การผลักกันและเกิดประกายไฟ
                        การเกิดไฟฟ้าสถิต การที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันทำให้เกิดแรงดึงดูดเมื่อวัตถุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุต่างชนิดกันหรือเกิดแรงผลักกัน เมื่อวัสดุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุชนิดเดียวกันเราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชิ้นมาขัดสีกัน พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยนกัน โดยจะเกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า ฉนวน ตัวอย่างเช่นยาง,พลาสติก และแก้ว สำหรับวัสดุประเภทที่นำไฟฟ้านั้น โอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุไม่เท่ากันนั้นยาก แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้

                        การเกิดไฟฟ้าสถิต การที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันทำให้เกิดแรงดึงดูดเมื่อวัตถุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุต่างชนิดกันหรือเกิดแรงผลักกัน เมื่อวัสดุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุชนิดเดียวกันเราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชิ้นมาขัดสีกัน พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยนกัน โดยจะเกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า ฉนวน ตัวอย่างเช่นยาง,พลาสติก และแก้ว สำหรับวัสดุประเภทที่นำไฟฟ้านั้น โอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุไม่เท่ากันนั้นยาก แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้