วิธี จ่าย ประกันสังคม มาตรา 40 กรุงไทย

ประกันสังคม แจ้งผู้ประกันตนมาตรา 39 และมาตรา 40 ยกเลิกการให้บริการชำระเงินสมทบที่เคาน์เตอร์บิ๊กซี ตั้งแต่ 1 กันยายนนี้ ส่วนช่องทางบริการมีที่ไหนบ้างนั้นตามไปดูกันเลย

นายบุญสงค์ ทัพชัยยุทธ์ เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน เปิดเผยว่า ขณะนี้ สำนักงานประกันสังคม ได้รับแจ้งจากบริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) ยกเลิกการให้บริการรับชำระเงินสมทบกองทุนประกันสังคมผู้ประกันตนตามมาตรา 39 และมาตรา 40 ผ่านเคาน์เตอร์บิ๊กซี ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2565 เป็นต้นไป 

ทั้งนี้ สำนักงานประกันสังคม ขอให้ผู้ประกันตนมาตรา 39 สามารถชำระเงินสมทบผ่านธนาคาร และหน่วยบริการอื่นที่เป็นตัวแทนให้บริการชำระเงิน ได้แก่ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) เคาน์เตอร์เซอร์วิส ไปรษณีย์ไทย เทสโก้ โลตัส และเคาน์เตอร์ CenPay Powered by บุญเติม สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ชำระเงินได้ที่ เคาน์เตอร์ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เคาน์เตอร์เซอร์วิส เทสโก้ โลตัส เคาน์เตอร์ CenPay Powered by บุญเติม ตู้บุญเติม และชำระผ่าน Mobile Application ShopeePay/Shopee หากมีข้อสงสัยติดต่อสอบถามได้ที่โทรศัพท์สายด่วน 1506 ทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ

วิธี จ่าย ประกันสังคม มาตรา 40 กรุงไทย

ที่มากระทรวงแรงงาน

ภาพประกอบ  กระทรวงแรงงาน

  • เกาะติดข่าวที่นี่
  • Website : tnnthailand.com
  • Facebook : TNNONLINE
  • Facebook Live : TNN LIVE
  • Twitter : TNNONLINE
  • Line : @TNNONLINE
  • Youtube official : TNNONLINE
  • Instagram : TNN_ONLINE
  • Tiktok : @TNNONLINE

ผู้ประกันตนมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพอิสระ หรือแรงงานนอกระบบ สำนักงานประกันสังคมจะได้สิทธิประโยชน์คุ้มครอง 5 กรณี โดยผู้ประกันตนสามารถชำระเงินสมทบได้หลากหลายช่องทางทั้งธนาคาร ระบบออนไลน์ และเคาน์เตอร์บริการต่างๆ

ผู้ประกันตนมาตรา 40 คือ บุคคลทั่วไปที่ประกอบอาชีพอิสระ หรือแรงงานนอกระบบ ที่ไม่ได้เป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 หรือผู้ประกันตนมาตรา 39 โดยผู้ประกันตนมาตรา 40 ของ สำนักงานประกันสังคม จะได้สิทธิประโยชน์คุ้มครอง 5 กรณี

1. กรณีเจ็บป่วย

2. กรณีทุพพลภาพ

3. กรณีเสียชีวิต

4. กรณีสงเคราะห์บุตร

5. กรณีชราภาพ

โดยเงื่อนไขการเกิดสิทธิประกันสังคมมาตรา 40 มีดังนี้

กรณีประสบอันตราย/เจ็บป่วย

- ผู้ประกันตนต้องจ่ายเงินสมทบครบ 3 เดือน ภายใน 4 เดือนก่อนประสบอันตราย/เจ็บป่วย

กรณีทุพพลภาพ ขึ้นอยู่กับระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบ

- จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 6 เดือน ภายในระยะเวลา 10 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 500 บาทต่อเดือน

- จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 12 เดือน ภายในระยะเวลา 20 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 650 บาทต่อเดือน

- จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 24 เดือน ภายในระยะเวลา 40 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 800 บาทต่อเดือน

- จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 36 เดือน ภายในระยะเวลา 60 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 1,000 บาทต่อเดือน

กรณีตาย

  • - ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบครบ 6 เดือน ภายใน 12 เดือนก่อนเสียชีวิต ผู้จัดการศพได้รับค่าทำศพ

ขณะที่วิธีการชำระเงินสมทบมาตรา 40 สามารถชำระได้ดังนี้


  1. 1. ชำระผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร / หน่วยบริการ ได้ดังนี้
  • - ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

- ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

- ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)

  • - เคาน์เตอร์เซอร์วิส (เซเว่น-อีเลฟเว่น)
  • - เคาน์เตอร์โลตัส
  • - ตู้บุญเติม

- เคาน์เตอร์บิ๊กซี

  • - เซ็นเพย์ พาวเวอร์ by บุญเติม

2. หักผ่านบัญชีธนาคาร

- ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

  • - ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)
  • - ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน)
  • - ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
  • - ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
  • - ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
  • - ธนาคารออมสิน

- ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)

3. ชำระผ่านโมบายแอปพลิเคชัน

  • - แอปพลิเคชัน ShopeePay

ในส่วนของช่องทางการรับเงินประโยชน์ทดแทนมาตรา 40 สามารถรับได้ดังนี้

  • - รับเงินด้วยตนเอง / มอบอำนาจรับเงินแทนที่สำนักงานประกันสังคมทั่วประเทศ
  • - รับเงินทางธนาณัติ
  • - รับเงินผ่านธนาคาร

ที่มาข้อมูล : สำนักงานประกันสังคม

ที่มาภาพ : AFP

  • เกาะติดข่าวที่นี่
  • Website : www.tnnthailand.com
  • Facebook : TNNONLINE
  • Facebook Live : TNN LIVE
  • Twitter : TNNONLINE
  • Line : @TNNONLINE
  • Youtube official : TNNONLINE
  • Instagram : TNN_ONLINE
  • Tiktok : @TNNONLINE

ผู้ประกันตนสามารถชำระเงินเข้ากองทุนประกันสังคมผ่านระบบ e-Payment ได้กี่ธนาคาร

  • ผู้ประกันตนสามารถชำระเงินเข้ากองทุนประกันสังคมผ่านระบบ e-Payment ได้กี่ธนาคาร
    • ผู้ประกันตนที่ประกอบอาชีพอิสระนอกเหนือจากผู้ประกันตนตามมาตรา 33 มีใครบ้าง ?
    • ช่องทางการนำส่งเงินประกันสังคมเข้ากองทุน สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 39 มี ดังต่อไปนี้
    • ช่องทางการนำส่งเงินประกันสังคมเข้ากองทุน สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มี ดังต่อไปนี้

สำหรับใครที่เป็นพนักงานบริษัท หรือมนุษย์เงินเดือน การจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมจะถูกบริษัทหักเข้ากองทุน 10% โดยอัตโนมัติอยู่แล้ว แบ่งเป็นส่วนของนายจ้างสมทบ 5% และลูกจ้างสมทบอีก 5% ซึ่งลูกจ้างจ่ายสูงสุด 750 บาทต่อเดือน โดยที่ลูกจ้างไม่ต้องนำเงินดังกล่าวไปจ่ายที่ประกันสังคมด้วยตัวเองเราเรียกผู้ประกันตนลักษณะนี้ว่าผู้ประกันตนตามมาตรา 33

แต่อย่างไรก็ตามยังมีผู้ประกันตนอีกกลุ่มที่ประกอบอาชีพอิสระไม่ได้เป็นมนุษย์เงินเดือน ผู้ประกันตนประเภทนี้จะมีวิธีชำระเงินประกันสังคมได้ผ่านช่องทางไหนบ้าง วันนี้เรามีคำตอบมาฝาก

ผู้ประกันตนที่ประกอบอาชีพอิสระนอกเหนือจากผู้ประกันตนตามมาตรา 33 มีใครบ้าง ?

สำหรับผู้ประกันตนที่ประกอบอาชีพอิสระและยังอยู่ในระบบประกันสังคมเราเรียกบุคคลกลุ่มนี้ว่า ผู้ประกันตน ตามมาตรา 39 และมาตรา 40 ซึ่งแบ่งออกเป็น

  • มาตรา 39 คือ ผู้ประกันตนโดยสมัครใจส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมหลังผันตัวออกมาประกอบธุรกิจส่วนตัวแล้ว หรือมีเหตุให้ต้องหลุดออกจากอาชีพเดิมแต่ยังต้องการสิทธิประโยชน์ของประกันสังคมไว้
  • มาตรา 40 คือ ผู้ประกอบอาชีพอิสระ เช่น กลุ่มพ่อค้าแม่ค้า เกษตรกร ขับจักรยานยนต์รับจ้าง หรือพนักงานอิสระต่าง ๆ

วิธี จ่าย ประกันสังคม มาตรา 40 กรุงไทย

วิธี จ่าย ประกันสังคม มาตรา 40 กรุงไทย

วิธี จ่าย ประกันสังคม มาตรา 40 กรุงไทย


ช่องทางการนำส่งเงินประกันสังคมเข้ากองทุน สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 39 มี ดังต่อไปนี้


1. หักผ่านบัญชีธนาคาร 6 ธนาคาร

  • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) BAY
  • ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) KTB
  • ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) TBANK
  • ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) KBAK
  • ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) SCB
  • ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) TMB

2. เคาน์เตอร์เซอร์วิส

  • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) BAY
  • ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) KTB
  • ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) TBANK

3. สำนักงานประกันสังคมทั่วประเทศ


ช่องทางการนำส่งเงินประกันสังคมเข้ากองทุน สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มี ดังต่อไปนี้


1. หักผ่านบัญชีธนาคาร 7 ธนาคาร

  • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) BAY
  • ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) KTB
  • ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) TBANK
  • ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) KBAK
  • ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) SCB
  • ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) TMB
  • ธนาคารออมสิน

2. เคาน์เตอร์เซอร์วิส

  • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) BAY
  • ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) KTB
  • เทสโก้โลตัส
  • บิ๊กซี
  • ตู้บุญเติม

3. สำนักงานประกันสังคมทั่วประเทศ


อีกหนึ่งวิธีที่สามารถชำระเงินประกันสังคมได้ก็คือ การชำระทางออนไลน์ หรือ e-Payment ซึ่งสามารถชำระได้ผ่าน 7 ธนาคาร ได้แก่ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน), ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน), ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน), ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน), ธนาคาร ซิตี้ แบงก์, ธนาคาร Mizuho และ Sumitomo Mitsui Banking Corporation

กรณีผู้ประกันตนชำระเงินสมทบเอง ขั้นตอนการชำระเงินผ่านระบบ e-Payment
1. เข้าไปที่บริการอิเล็กทรอนิคส์ www.sso.go.th
2. เลือกธนาคารสำหรับการชำระผ่านระบบ e-Payment จากนั้นกด “ดำเนินการต่อ”
3. “กดชำระเงิน” โดยระบบจะ Link ไปยังเว็บไซต์ของธนาคารโดยอัตโนมัติเพื่อตัดบัญชี

กรณีชำระเงินสมทบโดยนายจ้าง มีขั้นตอน ดังนี้

1. นายจ้างยื่นคำขอทำธุรกรรม ผ่านเว็บไซต์สำนักงานประกันสังคม “กำหนด User password”
2. นายจ้างติดต่อเพื่อเปิดบัญชีเงินฝาก และทำความตกลงที่จะส่งเงินสมทบ และหักเงินในบัญชีเงินฝาก “ธนาคารกำหนด User password ให้นายจ้าง”
3. นายจ้างส่งข้อมูลและชำระเงินสมทบผ่านระบบ e-payment โดยหักบัญชีเงินฝากธนาคาร 9 ธนาคาร
4. หลังจากธนาคารหักบัญชีเงินฝากของนายจ้างเข้าบัญชีสำนักงานประกันสังคม
-นายจ้างจะได้รับแจ้งผลการชำระเงินทาง e-mail
5. นายจ้าง login เข้าสู่ระบบ www.sso.go.th เลือกเมนูสถานประกอบการ login เข้าสู่ระบบด้วย User name และ Password เพื่อสั่งพิมพ์ใบเสร็จรับเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Receipt) หลังจากชำระเงินแล้ว 3 วันทำการ โดยสามารถดาวน์โหลดคู่มือการใช้งานได้ที่ www.sso.go.th

วิธี จ่าย ประกันสังคม มาตรา 40 กรุงไทย

ประกันสังคม คือหลักประกันของผู้มีรายได้ โดยมีจุดประสงค์เพื่อประกันความเสี่ยงในเรื่อง การเจ็บป่วย ค่าชดเชยกรณีทุพพลภาพ เงินสงเคราะห์บุตร คลอดบุตร รวมถึงกรณีค่าทำศพ แม้ในยามชราก็จะได้รับเงินสงเคราะห์บำเหน็จ บำนาญ ไม่เป็นภาระของลูกหลานอีกด้วย

ดังนั้นการเลือกส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมถือเป็นเรื่องที่ดี แม้คุณจะไม่มีอาชีพที่มีรายได้แน่นอนก็สามารถนำส่งเงินเข้ากองทุนฯ ได้เช่นกันนะครับ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.sso.go.th หรือโทร. 1506

หมายเหตุ : เงินสมทบตั้งแต่งวดเดือนพฤษภาคม 2562 เป็นต้นไป ให้นำส่งผ่านระบบ e-Payment ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป

อ่านเพิ่มเติม :

  • บัตรประกันสังคมหายหรือหมดอายุ ยังใช้สิทธิ์ได้ไหม ต้องทำอะไรหรือเปล่า?
  • เบิกค่ารักษาพยาบาล ประกันสังคม ภายในกี่วัน?
  • โรคนอนไม่หลับ ประกันสังคมและประกันสุขภาพจ่ายค่ารักษาให้ไหม?

วิธี จ่าย ประกันสังคม มาตรา 40 กรุงไทย