ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

ผู้ประกันตนชายมาตรา 33 และ 39 ในกรณีที่มีบุตร สามารถเบิกจ่ายเงินจากกองทุนประกันสังคมได้ จริงหรือ?

7 กรกฎาคม 2022 | 10:01

Share

Facebook

Twitter

LINE

Email

ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นเรื่องผู้ประกันตนชายมาตรา 33 และ 39 ในกรณีที่มีบุตร สามารถเบิกจ่ายเงินจากกองทุนประกันสังคมได้ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลจริง 

ผู้ประกันตนชายมาตรา 33 และ 39 ในกรณีที่มีบุตรสามารถเบิกจ่ายเงินจากกองทุนประกันสังคมได้ โดยแบ่งเป็น 3 กรณี ดังนี้

  1. กรณีผู้ประกันตนชายมาตรา 33 มาตรา 39 สามารถยื่นเรื่องขอเบิกสิทธิประโยชน์กรณีคลอดบุตร จะต้องมีการส่งเงินสมทบมาไม่น้อยว่า 5 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนเดือนที่คลอดบุตร จะได้รับเงินเหมาจ่าย ค่าคลอด จ่ายครั้งละ 15,000 บาท เบิกได้ไม่จำกัดจำนวนครั้ง
  2. กรณีค่าตรวจและค่าฝากครรภ์ สามารถเบิกเท่าที่จ่ายจริงจำนวน 5 ครั้ง ไม่เกิน 1,500 บาท ดังนี้

– อายุครรภ์ไม่เกิน     12  สัปดาห์  เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 500 บาท

– อายุครรภ์มากกว่า   12  สัปดาห์  แต่ไม่เกิน 20 สัปดาห์   เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน   300   บาท

– อายุครรภ์มากกว่า   20  สัปดาห์  แต่ไม่เกิน 28 สัปดาห์   เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน   300   บาท

– อายุครรภ์มากกว่า   28  สัปดาห์  แต่ไม่เกิน 32 สัปดาห์   เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน   200   บาท

– อายุครรภ์มากกว่า   32  สัปดาห์  แต่ไม่เกิน 40 สัปดาห์   เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน   200   บาท

ทั้งนี้ ผู้ประกันตนชายต้องแนบสำเนาทะเบียนสมรส กรณีไม่ได้จดทะเบียนสมรสให้แนบหนังสือรับรองกรณีอยู่กินฉันสามีภรรยาโดยเปิดเผย

  1. กรณีผู้ประกันตนชายที่จดทะเบียนสมรสกับภรรยาหรือจดทะเบียนรับรองบุตรหรือมีคำสั่งศาล   ว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย และมีการจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน ภายในระยะเวลา 36 เดือน ผู้ประกันตนจะได้รับเงินสงเคราะห์บุตรเดือนละ 800 บาท ตั้งแต่แรกเกิดไม่เกิน 6 ปีบริบูรณ์

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://www.sso.go.th/eform_news/ หรือโทร 1506

  หน่วยงานที่ตรวจสอบ

สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

  • AFNC
  • AFNCThailand
  • AntiFakeNewsCenter
  • กองทุนประกันสังคม
  • ข่าวจริง
  • บุตร
  • ผู้ประกันตน
  • ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

รฟท. เพิ่ม 6 ขบวนรถพิเศษสายเหนือ - อีสาน ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2566 จริงหรือ?

ข่าวจริง

นโยบายรัฐบาล-ข่าวสาร

23 ธันวาคม 2565 | 14:00 น.

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

กยศ. ขยายเวลาลดดอกเบี้ยกู้ยืมร้อยละ 0.01 ต่อปี และเบี้ยปรับร้อยละ 0.5 ต่อปี ถึง 30 มิ.ย. 66 จริงหรือ?

เบิกค่าคลอดบุตรประกันสังคม ทำไง ? หากพ่อแม่ ไม่ได้จดทะเบียนสมรส แต่จะ เบิกค่าคลอดบุตรประกันสังคม ของบิดา จะต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง จากประสบการณ์เป็นคุณแม่คนหนึ่งที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส และลูกใช้นามสกุลมารดา แต่เบิกค่าคลอดบุตรจากประกันสังคมของบิดา  และเงินสงเคราะห์บุตรเดือนละ 400 บาท จากประกันสังคม ของบิดา จะต้องเตรียมการในการขอจดรับรองบุตร ดังต่อไปนี้

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

เบิกค่าคลอดบุตรประกันสังคม ได้ไหม ถ้าพ่อแม่ ไม่ได้จดทะเบียนสมรส

วิธีเบิกค่าคลอดบุตรประกันสังคม

# เอกสารที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนรับรองบุตร

(นำต้นฉบับเอกสารให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบพร้อมสำเนา 2 ชุด)
1. บัตรประจำตัวประชาชนของผู้ร้อง(บิดา)
2. ทะเบียนบ้านตัวจริงของผู้ร้อง มารดา และผู้เยาว์
3. สูติบัตรของผู้เยาว์ หรือบุตร
4. ใบมรณบัตรของมารดาผู้เยาว์ (กรณีมารดาผู้เยาว์เสียชีวิต)
5. ใบเปลี่ยนชื่อตัว / ชื่อสกุล (ถ้ามี) ของผู้ร้อง,ผู้เยาว์,มารดาของบุตร
6. หนังสือให้ความยินยอมของมารดาผู้เยาว์ และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (กรณีมารดายังมีชีวิต)

# ค่าใช้จ่ายในการยื่นคำร้องเพื่อเบิกค่าคลอดบุตร

1. ค่าขึ้นศาล 200 บาท
2. ค่าประกาศหนังสือพิมพ์ 500 บาท

ค่าใช้จ่ายชำระที่ศาลเยาวชน และครอบครัว  พอดีบ้านอยู่ในเขตพื้นที่ศาลเยาวชน และครอบครัวกลาง (จตุจักร)
แล้วนัดวันขึ้นศาลศาลจะนัดไต่สวนคำร้องไม่น้อยกว่า 45 วันนับแต่วันยื่นคำร้อง และภายในเวลา 15 วัน และจะมีจนท.โทรมาแจ้งนัดวันให้บิดามารดา และบุตรไปให้ถ้อยคำ(ปากคำ)ที่สถานพินิจ (ไปที่บางนา) กับจนท. เพื่อประมวลข้อมูล และรายงานผลต่อศาลในการพิจารณาคำร้องขอจดทะเบียนบุตร
ในวันนัดไต่สวนคำร้อง บิดา มารดา และบุตรต้องมาศาล และนำเอกสารพยานหลักฐานต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ในบัญชีพยานมาศาลเพื่อทำการไต่สวนคำร้อง (ใช้เวลาไม่นาน ต้องสาบานตนทั้งสามี และภรรยา)เมื่อพ้นกำหนด 1 เดือนนับแต่วันที่ศาลมีคำสั่ง สามารถขอคัดถ่ายคำสั่งศาลโดยให้เจ้าหน้าที่รับรองสำเนา และขอหนังสือสำคัญแสดงคดีถึงที่สุด (เจอคิวยาว ต้องรอคัดลอก 1 สัปดาห์) แล้วนำเอกสารดังกล่าว ไปดำเนินการขอค่าสงเคราะห์บุตรได้ค่ะ

 

 

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

เบิกค่าคลอดบุตรประกันสังคมได้ไหม ถ้าพ่อแม่ ไม่ได้จดทะเบียนสมรส

สนใจประกันสุขภาพเหมาจ่าย  คลิกที่นี่

# หลักฐานที่ต้องใช้ในการยื่นคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร

แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร (สปส. 2-01) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของคู่สมรส สำเนาทะเบียนสมรส / ทะเบียนหย่าของผู้ประกันตน (กรณีจดทะเบียนหย่า) หรือสำเนาทะเบียนรับรองบุตร ซึ่งเกิดจากคำสั่งศาลพิพากษาให้เป็นบุตรที่ถูกต้องตามกฎหมาย สำเนาสูติบัตร พร้อมสำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึ่งมีชื่อ และเลขที่บัญชี ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) หรือธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)  เป็นต้น

มาถึงกรณี เบิกค่าประกันสังคมบิดา 13,000 บาท ให้ไปขอเอกสาร สปส.2-01 มากรอกให้เรียบร้อย (ขอที่ทำงาน,ที่ประกันสังคม,Download จาก website) กรอกข้อมูลตามความจริง และเตรียมพยานมา 2 คน เพื่อเซ็นต์ลายเซ็นต์ เอกสารที่ต้องเตรียม
– สำเนาบัตรประชาชนบิดา.มารดา และพยาน 2 คน
– สำเนาสูติบัตร
– สำเนาธนาคารหน้าแรกออมทรัพย์ของบิดา (ผู้ประกันตน)

ป.ล. สถานประกันสังคมบางที่จ่ายคืนให้เป็นเงินสด 13,000 บาท บางที่สั่งจ่ายทางธนาคารนะคะ (กรุณาเช็คกับที่ยื่นเอกสารนะคะ) และในการให้ปากคำแต่ละครั้ง ต้องล้วนเป็นความจริงทั้งสิ้น

สอบถามเพิ่มเติม

ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์สำนักงานประกันสังคม www.sso.go.th หรือโทรสายด่วน 1506

 

 

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

เบิกค่าคลอดบุตรประกันสังคม ได้ไหม ถ้าพ่อแม่ ไม่ได้จดทะเบียนสมรส

_________________________________________________________________________________________

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

เงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด กับ เงินสงเคราะห์เด็ก ต่างกันยังไง ฉบับอัปเดต 2563

เช็คสิ สิทธิประกันสังคมคนท้อง 2563 คุณแม่มีสิทธิเบิกค่าอะไรได้บ้าง

เช็คด่วน เงินอุดหนุนบุตร เข้า 10 พ.ย. 2563 เช็คสิทธิ์เงินอุดหนุนบุตร

บทความจากพันธมิตร

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

การวางแผนการเงิน

อย่าให้มะเร็งร้ายขโมยรอยยิ้มไปจากครอบครัว ประกันมะเร็ง ตรวจพบจ่ายสูงสุด 3,000,000 บาท

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

การวางแผนการเงิน

เทคนิค ออมเงินก่อนเกษียณ ต้องทำอย่างไร ให้มีเงินใช้สบายหลังเกษียณ

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

การวางแผนการเงิน

อยากทำประกันสุขภาพให้ลูก เลือกทำประกันสุขภาพเด็กแบบไหนดี ประกันแบบไหนคุ้มที่สุด

ประกันสังคม คลอดบุตร ไม่ได้ จดทะเบียน สมรส

การวางแผนการเงิน

หมุนเงินไม่ทัน ค่าใช้จ่ายเพียบ ปัญหาหนักอกของพ่อแม่ช่วงลูกเปิดเทอม

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

ค่าคลอดบุตรต้องจดทะเบียนสมรสไหม

1 เดือน รายงาน สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน - Social Security Office. เรียน คุณ TikTuk Khumwandee กรณีคลอดบุตรไม่ได้มีกำหนดไว้ค่ะ หากใช้สิทธิฝ่ายหญิงยื่นไม่ต้องมีทะเบียนสมรส แต่หากใช้สิทธิฝ่ายชายยื่นจะต้องใช้ทะเบียนสมรส แต่ถ้าไม่ได้จดทะเบียนสมรส ก่อนบุตรคลอดให้แนบหนังสือรับรองผู้ประกันตนกรณีไม่มีทะเบียนสมรสแทนค่ะ

เบิกประกันสังคมสามีต้องจดทะเบียนสมรสไหม

A: กรณีที่สามีและภรรยาไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน หรือหญิงซึ่งอยู่กินกันฉันสามีภรรยาและภรรยาก็ไม่ได้สมัครเป็นผู้ประกันตน หากสามีจ่ายเงินสมทบอย่างต่อเนื่องก็สามารถใช้สิทธิของสามีเบิกได้ค่ะ โดยเราจะมีแบบฟอร์มเฉพาะสำหรับผู้ประกันตนที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสให้ยื่นแทนค่ะ #ประกันสังคม #สำนักงานประกันสังคม

เงินสงเคราะห์บุตรประกันสังคมต้องจดทะเบียนสมรสไหม

เรียน ท่านผู้ประกันตน สำนักงานประกันสังคม ขอเรียนว่ากรณีสงเคราะห์บุตรใช้สิทธิฝ่ายชาย (บิดา) ที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาบุตร หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการได้รับสิทธิ 1.ผู้ประกันตนตามมาตรา33 และมาตรา39 จะได้รับสิทธิเมื่อจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน ภายในระยะเวลา 36 เดือนก่อนเดือนที่มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน

เมียท้องเบิกประกันสังคมได้ไหม

คุณแม่ที่ส่งเงินประกันสังคม เมื่อตั้งครรภ์จะสามารถใช้สิทธิเบิกค่ารักษาได้ โดยแบ่งเป็น 5 รายการ คือ เบิกค่าฝากครรภ์: วงเงินรวม 1,500 บาท เบิกค่าคลอดบุตร: เหมาจ่ายวงเงิน 15,000 บาท ต่อครั้ง เบิกเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตร: เบิกได้ 50% ของค่าจ้างเฉลี่ย (สูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท/เดือน)