แหล่งอารยธรรมใน เอเชีย ตะวันออก เฉียงใต้ ppt

ในภมู ภิ าคเอแเชหียลตะงวอันาอรอยกเธฉรยี รงใมต

แหลงอารยธรรมในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต ความหมายของอารยธรรม • อารยธรรม หมายถึง ความเจรญิ ของมนุษยชาติ มีพฒั นาการทางดานตางๆ ทง้ั ทางดา นการ ผลิตอาหาร การอยูรวมกันเปนชมุ ชนเมอื ง มีการจัดระเบียบการปกครอง มีผปู ระกอบ อาชพี เฉพาะดานตามความชํานาญ และมรี ะบบการขีดเขียนบันทกึ หรอื มีตวั หนังสอื ใช อารยธรรมเปนผลรวมของความเจรญิ ทางวฒั นธรรม ซ่ึงเปน ความเจริญในดานใดดานหน่ึง

ทต่ี ง้ั และความสําคญั ของแหลง อารยธรรม แหลง โบราณคดีถาํ้ • ตัง้ อยูท่ีตําบลทบั ปรกิ อาํ เภอเมือง จังหวัดกระบ่ี เคยเปน ท่อี ยขู องมนษุ ย หลงั โรงเรยี น ตวั ตรงทเ่ี กาแกทีส่ ดุ ที่พบในประเทศไทย เมอ่ื ประมาณ ๓๗,๐๐๐ ปล ว ง แหลง วฒั นธรรม มาแลว พบเครอ่ื งมอื เครือ่ งใชท าํ ดวยหนิ สาํ หรบั ใชในการยังชีพดว ยการ ลา สตั วแ ละจบั ปลา ดองซอน แหลงวฒั นธรรม • อยูทป่ี ากแมน าํ้ แดง ในตงั เก๋ยี หรือเวยี ดนามตอนเหนอื มกี ารพบกลอง มโหระทึกทําดวยสําริด อายปุ ระมาณ ๒,๕๐๐ ปลวงมาแลว โดยพบ บานเชยี ง แพรห ลายในดนิ แดนเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต แสดงวามกี ารตดิ ตอ คา ขาย กับดนิ แดนอ่นื • อยทู ีอ่ าํ เภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี มคี วามเจริญทางวัฒนธรรมสงู มา แตโ บราณ รจู กั ทําการเกษตร เครอื่ งมอื เคร่อื งใชจ ากสาํ ริดและเหลก็ ทาํ เคร่ืองปนดินเผาลายเขียนสี รูจักทอผา วัฒนธรรมบา นเชยี งไดร บั การขน้ึ ทะเบียนเปนมรดกโลกทางวัฒนธรรมใน พ.ศ.๒๕๓๕ แหลงวัฒนธรรม • อยใู กลบ ริเวณแมน้าํ ปตตานี อาํ เภอยะรงั จงั หวดั ปตตานี เปน เมอื ง ยะรงั โบราณขนาดใหญท่ีเคย เปนเมืองทา คาขายระหวางอินเดยี กับจนี ไดรบั อิทธิพลอารยธรรมจากทวารวดีและนับถือพระพทุ ธศาสนา

แหลงมรดกโลกในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต ความหมายและคุณคาของแหลงมรดกโลก มรดกโลก • แหลงมรดกทางวฒั นธรรมและธรรมชาติในโลกทม่ี คี ุณคาสงู ย่งิ ตอ มนษุ ย มรดกโลกแบง เปน ๓ ประเภท ๑ มรดกทางวัฒนธรรม ๒ มรดกทางธรรมชาติ ๓ มรดกแบบผสมระหวา งวัฒนธรรมกับธรรมชาติ • การรับรองและคุม ครองมรดกโลกเปนไปตามอนสุ ญั ญาวา ดวยการ คุม ครองมรดกโลกทางวฒั นธรรมและธรรมชาติ ค.ศ. ๑๙๗๒ (พ.ศ. ๒๕๑๕) ซง่ึ ไดร ับการรับรองโดยองคก ารการศึกษาวิทยาศาสตร และ วฒั นธรรมแหง สหประชาชาติ หรอื เรียกยอๆ วา “ยเู นสโก” (UNESCO)

การขึ้นทะเบยี น • ลักษณะสาํ คัญของมรดกโลกทางวฒั นธรรม จะตองมคี ุณคา สงู และโดดเดน ทางวฒั นธรรม ใน พ.ศ.๒๕๕๘ มแี หลงมรดกโลกท้ังหมด ๑,๐๓๑ แหง อยใู น ๑๖๓ ประเทศท่ัวโลก แบงเปน มรดกโลกทางวฒั นธรรม ๘๐๒ แหง ทางธรรมชาติ ๑๙๗ แหง และทเ่ี ปนแหลง ผสม ๓๒ แหง สาํ หรับในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตม แี หลงมรดกโลก รวม ๓๗ แหง แบง เปน มรดกโลกทางวฒั นธรรม ๒๓ แหง ทางธรรมชาติ ๑๓ แหง และแบบผสม ๑ แหง ลักษณะสาํ คัญของมรดกโลกทางวัฒนธรรม แบง เปน ๓ ลักษณะ อนสุ าวรยี  งานสถาปต ยกรรม งานจติ รกรรมและประติมากรรม จารกึ ทีม่ ี คุณคา ในระดบั สากลสูงยงิ่ กลมุ อาคาร กลมุ อาคารทสี่ รางติดตอกนั หรือแยกจากกนั ทม่ี ีคุณคา ระดบั สากล สงู ย่ิง แหลง ตา งๆ ผลงานท้ังหลายของมนษุ ย หรือผลงานทางธรรมชาตริ วมกับผลงาน ของมนุษย แหลงโบราณคดีที่มคี ุณคาระดับสากลสงู ยิ่ง

คณุ คาของมรดกโลก • ทําใหเกดิ ความช่ืนชม สาํ นกึ ในมรดกท่บี รรพบุรษุ สรางไวใหเ กิดความผกู พนั ในทอ งถ่นิ และประเทศชาติ • เปน แหลงเรยี นรทู ้งั รูปแบบการกอ สรา ง รูปแบบศลิ ปะ การดําเนนิ ชีวิต ศรทั ธาตอ สง่ิ ที่ผคู น เหลาน้ัน นับถือยึดมั่น • กระตนุ ใหเ กดิ สาํ นกึ ในการอนรุ กั ษแหลง อ่ืนๆ ใหเ ปน มรดกของชาตขิ องโลกตอ ไป • เปนแหลง ดงึ ดูดนกั ทอ งเทย่ี ว กอใหเ กิดอาชพี หลากหลายมากขึ้นในทอ งถ่ินมากขนึ้ ใหเกดิ รายไดเ ขาทอ งถ่นิ และประเทศ

มรดกความทรงจาํ แหงโลก • จากการประกาศแหลงมรดกโลกดงั ที่กลา วมาแลว องคการการศกึ ษา วิทยาศาสตร และวฒั นธรรมแหง สหประชาชาติ (ยเู นสโก) ยังได ดาํ เนินแผนงานมรดกความทรงจําแหงโลก (Memory of the World Programme : MOW) ซ่งึ เปนแผนงาน ที่องคการยเู นสโก กาํ หนดใหมีข้ึน เมื่อวันที่ ๒๒ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕ • โดยเชญิ ผเู ชี่ยวชาญดา นสารนิเทศจากองคก รภาครฐั และ ภาคเอกชนจากทวั่ โลกมาประชมุ หารอื รว มกัน แผนงานนีม้ ี วัตถุประสงคเ พ่อื สงเสริม อนรุ ักษ และเผยแพรมรดกความ ทรงจําท่ีเปน เอกสาร วตั ถุ หรอื ขอ มูลขา วสารตา งๆ ท่มี ี คณุ คา สงู ในระดับชาติ ระดับภมู ิภาค และระดับนานาชาติ

คณะกรรมการแหง ชาติวา ดว ยแผนงานความทรงจาํ แหงโลก ซ่งึ ไดดําเนนิ การเสนอใหย เู นสโก ขึน้ ทะเบยี นมรดกความทรงจาํ ของไทยเปน มรดกความทรงจาํ แหง โลก ดังน้ี ศิลาจารึกพอ ขนุ รามคําแหงมหาราช หรอื ศิลาจารกึ สโุ ขทยั หลกั ท่ี ๑ • องคก ารยเู นสโกไดข้นึ ทะเบียนศลิ าจารกึ พอขุนรามคาํ แหงมหาราชหรือ ศลิ าจารึกสุโขทยั หลกั ท่ี ๑ เปน มรดกโลกเมอื่ พ.ศ. ๒๕๔๖ ศิลาจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวิหาร (วดั โพธิ์) • องคก ารยูเนสโกไดมมี ติรับรองศลิ าจารกึ วดั โพธขิ์ นึ้ ทะเบียนเปน เอกสาร มรดกความทรงจาํ แหงโลกในระดับภูมภิ าคเอเชยี แปซฟิ ก เมอื่ พ.ศ.๒๕๕๑ และระดับนานาชาตเิ มือ่ พ.ศ.๒๕๕๔ เอกสารสาํ คญั ของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั • องคก ารยเู นสโกไดข ้ึนทะเบียนเอกสารสาํ คญั ของพระบาทสมเดจ็ พระ จุลจอมเกลา เจาอยูห ัว (รชั กาลที่ ๕) เกีย่ วกบั การปฏิรปู การบริหารการปกครอง แผนดนิ เปน มรดกความทรงจําแหง โลก เม่อื วนั ท่ี ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

ทตี่ งั้ และความสําคญั ของแหลง มรดกโลก บุโรพุทโธ • ตัง้ อยทู างภาคกลางของเกาะชวา ประเทศอินโดนเี ซยี บนทรี่ าบใกลกับแมนํา้ โปรโก สรา งขึ้นในพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔ ในสมยั ราชวงศไ ศเลนทร บโุ รพทุ โธ เปนศาสนสถานในพระพทุ ธศาสนานกิ ายมหายานที่ใหญท่ีสุดในโลกแหงหนงึ่ สรา งขนึ้ จากหินลาวา

ปรมั บานนั • ตงั้ อยทู างภาคกลางของเกาะชวา สรางขนึ้ ในพทุ ธศตวรรษที่ ๑๔ เปน ศาสน สถานในศาสนาพราหมณ – ฮนิ ดูที่ใหญท ่สี ุด ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต ประกอบดว ยเทวาลัยขนาดใหญ ๓ หลงั อุทิศถวายแดเ ทพเจาในศาสนา พราหมณ - ฮินดู ไดแ ก พระพรหม พระนารายณ พระศวิ ะ

เมืองฮอยอัน • เปน เมืองโบราณตง้ั อยรู ิมฝง ทะเลจีนใตทางตอนกลางของประเทศเวียดนาม มี ความสําคญั ในฐานะทีเ่ ปน เมอื งทา ทใ่ี หญท ่สี ุดแหง หนงึ่ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต • องคการยูเนสโกไดป ระกาศใหเ มืองฮอยอนั เปนมรดกโลก เพราะเปนตวั อยา งของ เมอื งทาในชวงพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ - ๒๔ ในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตท ่ีมี เอกลักษณเ ฉพาะตวั โดยมีการผสมผสานสถาปต ยกรรมและศลิ ปะทง้ั ของทองถ่นิ และของตางชาตเิ ขา ดวยกนั รวมท้ังมกี ารอนรุ กั ษอาคารตางๆ ภายในเมืองใหค ง สภาพเดิมไวเปนอยา งดี

นครวัด • ตัง้ อยูท เี่ มอื งเสียมราฐ (เสียมเรยี บ) ในกัมพชู า สรา งขน้ึ สมัยพระเจา สุรยิ วรมันท่ี ๒ ในพทุ ธ ศตวรรษท่ี ๑๖ - ๑๗ เพอ่ื เปน ศาสนสถานในศาสนา พราหมณ- ฮนิ ดู ลทั ธไิ วษณพนิกาย • นครวดั เปนปราสาทหินขนาดใหญ มีคูนํ้าลอมรอบตามแบบมหาสมทุ รท่ลี อมรอบเขาพระ สเุ มรุ ตัวปราสาทสงู ๖๐ เมตร ยาว ๑๐๐ เมตร กวา ง ๘๐ เมตร มปี ราสาท ๕ หลัง ต้งั อยู บนฐานสงู ตามคตขิ องศูนยก ลางจักรวาล

อุทยานประวัตศิ าสตรส ุโขทยั • ในอดตี เคยเปน ราชธานีของอาณาจกั รสุโขทัย (พ.ศ. ๑๗๙๒ -๒๐๐๖) ที่มคี วาม เจรญิ รุงเรอื งทั้งทางดานการเมอื งการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม มากกวา ๗๐๐ ป • ไดร บั การประกาศใหเปน แหลง มรดกโลก เม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๔ รวมกับอทุ ยาน ประวตั ิศาสตรศ รีสชั นาลัย และอุทยานประวัตศิ าสตรกาํ แพงเพชร ดว ยเหตผุ ลวา เปน ตวั แทนถึงผลงานช้นิ เอกทจ่ี ดั ทาํ ข้ึนดวยการสรา งสรรคอ นั ชาญฉลาดและเปนสิ่ง ยนื ยนั ถงึ หลักฐานของวัฒนธรรมอนั ทรงคุณคา ทม่ี เี อกลกั ษณเ ฉพาะตัว

อทิ ธพิ ลของอารยธรรมโบราณในดนิ แดนไทยทีม่ ผี ลตอ พัฒนาการของไทยในปจ จุบนั ศาสนา ศลิ ปกรรม ภาษา การมผี ูนํา ประเพณี การปลกู ขา ว