การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย pdf

หน่วยที่ 2 การตัง้ ถ่ินเดมิ ของชนชาตไิ ทย
ถ่นิ ฐานในดนิ แดน การต้งั ถิ่นฐานในดินแดนไทย
รัฐโบราณในดินแดนไทย
ไทย

แนวคดิ เกย่ี วกบั ความเปน็ มาของชนชาตไิ ทย

1. แนวคิดเร่ืองถน่ิ เดมิ ชนชาติไทยอย่ใู นบรเิ วณตอนกลางของจีน

ผเู้ ร่มิ แนวคิดน้ี คือศาสตราจารย์ แตเรยี ง เดอ ลาคูเปอรี แห่งมหาวิทยาลยั ลอนดอน
สรุปวา่ ชนชาติไทยมีถนิ่ กาเนิดบรเิ วณภาคเหนือของมณฑลเสฉวน ในประเทศจีนมา

ตงั้ แต่ 2,750 ปกี อ่ นพทุ ธศกั ราช และอา้ งว่าในจดหมายเหตุจีน เรียกชนชาติไทยวา่
ตา้ มุง ซ่งึ แปลว่ามุงใหญ่

ปัจจบุ ันไม่ค่อยเปน็ ท่ยี อมรับ เนือ่ งจากสว่ นใหญ่เปน็ การ
ตคี วามจากคาในภาษาไทยจึงมีเหตุผลนอ้ ยไป

แนวคดิ เก่ยี วกับความเปน็ มาของชนชาติไทย

2. แนวคดิ ของชนชาติไทยมีถ่นิ เดิมอยู่แถบเทือกเขาอัลไต

ผรู้ เิ ริ่มแนวคดิ คอื ดร.วลิ เลยี ม คลิฟตัน ดอดด์
ผู้เสนอแนวคดิ นี้ คอื ขุนวิจิตรมาตรา ในหนงั สอื “หลกั ไทย”
พฒั นามาจากแนวคิดของแตร์รีออง เดอ ลา คูเปอรี
ถน่ิ เดิมนา่ จะอยู่ในบริเวณเขตอบอุ่นเหนือเลยประเทศจีนขึ้นไป และไดเ้ คล่ือนย้ายมา

สูป่ ระเทศจีนตง้ั อาณาจกั รของตนขึ้น เรยี กว่า อาณาจักรอ้ายลาว จนี เรียกวา่ ต้ามุง

ปจั จบุ นั แนวคิดนไี้ มค่ ่อยไดร้ บั ความน่าเชือ่ ถอื มากนัก เนอ่ื งจาก
1. สภาพภมู ปิ ระเทศของเทอื กเขาอลั ไตเปน็ ทงุ่ หญา้ เหมาะแกก่ ารเล้ียงสัตว์ ไมเ่ หมาะแกก่ ารดารงชพี
2. การอพยพจากเทือกเขาอลั ไตลงมา ต้องเดนิ ทางเป็นระยะเวลาทางไกลมาก และตอ้ งผ่านทะเลทราย

กวา้ งสงู ใหญท่ ุรกนั ดาร
3. บรเิ วณเทือกเขาอัลไตเปน็ เขตที่มีภูมอิ ากาศหนาวเยน็

แนวคดิ เกีย่ วกับความเปน็ มาของชนชาติไทย

3. แนวคดิ ถน่ิ เดมิ ของชนชาติไทยอยูใ่ นบริเวณตอนใต้ของจีน

 ผูร้ ิเริม่ แนวคิดนี้ ได้แก่ อาร์ชิบลั ด์ รอสส์ คอลูน นกั สารวจชาวองั กฤษ ไดเ้ ดนิ ทางสารวจ
ดนิ แดนตามแนวชายแดนทางใต้ของจนี จากกวางตงุ้ มาถงึ มัณฑะเลยข์ องพมา่ แล้วเขียน
รายงานเปน็ หนังสอื ชอ่ื Across Chryse

 พบวา่ ตามเสน้ ทางทสี่ ารวจประชาชนมวี ชี ีวติ และวฒั นธรรมท่คี ล้ายคลึงกนั ท้งั ด้านภาษาพดู
การแต่งกาย

 สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ, หลี ฟังกว้ ย, ดร.วลิ เลยี ม เจ. เก็ดนีย,์ ดร.เดวดิ เค.
วัยอาจ, ดร.บรรจบ พันธุเมธา , ศ.ดร.ประเสรฐิ ณ นคร

ปจั จบุ ันแนวคิดนไี้ ด้รบั การยอมรบั มากทส่ี ดุ เพราะมีหลักฐานประกอบท่ี
น่าเชอ่ื ถือกบั ธรรมชาติของการอพยพของมนุษย์ที่จะมักอพยพจากท่ีสูงลงมาท่ีต่า มี
สถานทีไ่ ม่ไกลจากที่ต้งั ประเทศไทยปจั จบุ ันมากนกั ประกอบกับมีความคล้ายคลึงกนั ใน
วฒั นธรรมของประชาชน

แนวคดิ เกยี่ วกบั ความเปน็ มาของชนชาติไทย

4. แนวคดิ ถิ่นเดมิ ของชนชาติไทยอยูใ่ นคาบสมุทรมลายูและหม่เู กาะอนิ โดนเี ซีย

 รธู เบเนดิกต์ เสนอแนวคิดวา่ ชนชาติไทยเปน็ เชื้อชาติมลายไู ด้อพยพจากทางใต้ของแหลมมลายู
และหมู่เกาะอินโดนีเซียขนึ้ ไปทางเหนอื จนถงึ ตอนใต้ของจนี แล้วจงึ อพยพกลับลงมาอกี ครงั้ หนึง่

 นายแพทยส์ มศกั ด์ิ พนั ธ์ุสมบุญ เสนอการวิจัยเรอื่ งหมเู่ ลือดว่าหมเู่ ลอื ดของไทยคลา้ ยคลึงกับคน
อนิ โดนเี ซียมากกวา่ จนี

แนวคิดน้ไี ม่เปน็ ท่ยี อมรบั เพราะลกั ษณะการเคลอ่ื นยา้ ยของวัฒนธรรมจะมีการ
เคล่อื นยา้ ยจากเหนือลงใต้ รวมทั้งหลักฐานทใี่ ชใ้ นการสนับสนนุ แนวคดิ เป็นหลกั เฉพาะทาง
การแพทยเ์ ปน็ ส่วนใหญ่ ไม่มคี วามหลากหลายของหลกั ฐานจึงไมค่ ่อยไดร้ บั ความเชอ่ื มากนกั ใน
ปจั จบุ นั

แนวคิดเกี่ยวกับความเปน็ มาของชนชาตไิ ทย

5. แนวคิดถน่ิ เดมิ ของชนชาตไิ ทยอยใู่ นประเทศไทยปจั จุบัน

ศาสตราจารย์นายแพทย์สุด แสงวเิ ชียร ร่วมสารวจโครงกระดูกมนษุ ย์ยุคหินในเขต
อาเภอบ้านเกา่ จงั หวัดกาญจนบรุ ี ซ่ึงมอี ายุ 4,000 ปีมาแล้ว โครงกระดูกมคี วาม
คลา้ ยคลงึ กบั โครงกระดูกของคนไทยในปัจจบุ ันเป็นอยา่ งมาก ทาให้เชอื่ วา่ ถน่ิ เดมิ
ของคนไทยไมไ่ ดอ้ พยพมาจากท่ีใด แตม่ ถี ่นิ กาเนิดในประเทศไทยในปัจจุบนั น่ันเอง

สจุ ิตต์ วงษ์เทศ ในหนังสอื “คนไทยอยูท่ ่นี ่ี” ศาสตราจารยน์ ายแพทย์ประเวศ วะสี
ท่วี จิ ยั รว่ มเรอ่ื งฮโี มโกลบนิ อี

ปจั จบุ นั ไมไ่ ด้รับการยอมรบั ทงั้ นี้เพราะอาศัยเฉพาะหลักฐานทางโบราณคดเี ปน็ สว่ น
ใหญ่ ไม่ไดน้ าหลกั ฐานดา้ นอ่นื มาใชป้ ระกอบ ทาใหม้ ีความนา่ เชอ่ื ถือลดลง

การตัง้ ถ่นิ ฐานในดนิ แดนไทย

ปัจจยั ทมี่ ีผลต่อการต้งั ถน่ิ ฐานของมนุษย์ในดนิ แดนไทย

การตงั้ ถ่ินฐานหรือการตัง้ หลกั แหลง่

 หมายถึง การทกี่ ล่มุ ชนต่าง ๆ
เข้ามาอาศยั อยู่รว่ มกัน

 บรเิ วณใดบรเิ วณหนึ่ง
 มีกจิ กรรมร่วมกนั

กายภาพ ภมู อิ ากาศ
ลกั ษณะภูมิประเทศ
ปจั จัยการ
ตัง้ ถนิ่ ฐาน ดินและน้า
ป่าไมแ้ ละแร่
สังคม
ขนบธรรมเนียม
อาหารการกิน

เครื่องแตง่ กาย

การต้ังถ่ินฐานในดินแดนไทย

การตัง้ ถน่ิ ฐานในดนิ แดนไทย การต้งั ถิน่ ฐานในภาคเหนอื

 ลักษณะภูมปิ ระเทศของภาคเหนือเป็น
ภเู ขาทอดตวั จากเหนอื ลงมาใต้

 ทวิ เขาทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ ทิวเขาแดนลาว ทวิ
เขาถนนธงชัย ทิวเขาผปี ้นั น้า และทิวเขา
หลวงพระบาง

 มลี านา้ ไหลผา่ น และมีท่รี าบสาคัญ 5 แหง่
ได้แก่ แอ่งเชยี งใหม-่ ลาพนู แอ่งเชยี งราย
แอ่งลาปาง แอ่งน่าน และแอ่งแพร่

 มแี ม่น้า สาคัญคอื แมน่ า้ ปงิ แม่นา้ วัง
แม่นา้ ยม และแม่น้าน่าน

การตั้งถ่นิ ฐานในดินแดนไทย

การต้ังถนิ่ ฐานในดนิ แดนไทย การต้ังถ่นิ ฐานในภาคเหนอื
 ร่องรอยการอยูอ่ าศยั ของมนษุ ยก์ อ่ นประวัติศาสตร์ตั้งแตส่ มัยหินเก่าเปน็ ตน้

มา หลกั ฐานทพ่ี บ เช่น ทบี่ ้านแม่ทะและบา้ นดอนมูล จังหวดั ลาปาง พบ
เครือ่ งมือหนิ กะเทาะอายุกว่า 500,000 ปี

การตัง้ ถิ่นฐานในดนิ แดนไทย

การต้ังถน่ิ ฐานในดินแดนไทย การตัง้ ถน่ิ ฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ มีลกั ษณะลาดเอยี ง จากจะวนั
ตกไปทางตะวันออกลงสูแ่ ม่น้าโขง

 ทางตะวนั ตกมขี อบสงู ชันตามแนวทวิ เขาเพชรบูรณ์
ตอ่ ไปทางทวิ เขาดงพญาเยน็ ทางใต้มีขอบสงู ชนั
ตามทวิ เขาสันกาแพงและทวิ เขาพนมดงรัก

 ตอนกลางมีแอ่งคล้ายกระทะ แบง่ ออกเป็น 2 เขต
ย่อย มีทวิ เขาภูพานกั้นกลาง ไดแ้ ก่ แอง่ โคราช และ
แอง่ สกลนคร

การตัง้ ถ่นิ ฐานในดนิ แดนไทย

การต้งั ถิ่นฐานในดนิ แดนไทย การตั้งถนิ่ ฐานในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

แหลง่ วัฒนธรรมบา้ นเชยี ง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี

การตั้งถน่ิ ฐานในดินแดนไทย

การตัง้ ถิ่นฐานในดนิ แดนไทย การต้ังถ่ินฐานในภาคกลาง

ภาค • เป็นทีร่ าบสลับกบั ที่ราบลูกฟูกและมีเนินเขาสลบั
กลาง แม่นา้ ที่สาคัญ ได้แก่ แม่นา้ ปิง แมน่ ้า
ตอนบน วัง แม่นา้ ยม และแม่นา้ นา่ น

ภาค • เปน็ ท่ีราบนา้ ทว่ มถึง แม่นา้ ทีไ่ หลผ่าน
กลาง บรเิ วณน้ี ได้แก่ แมน่ า้ เจา้ พระยา แมน่ ้าทา่ จีน
ตอนล่าง แม่นา้ สะแกกรัง แมน่ ้านอ้ ย แม่น้าลพบรุ ี แม่
น้าป่าสกั

การตั้งถ่ินฐานในดินแดนไทย

การต้งั ถนิ่ ฐานในดินแดนไทย การต้งั ถ่นิ ฐานในภาคกลาง

ภาคตะวนั ออก

 มที ่ีราบใหญอ่ ย่บู รเิ วณลุ่มนา้ ปราจนี บรุ ีทางเหนือ ตอนกลางเป็นท่สี ูง
มที ิวเขาจันทบรุ แี ละทวิ เขาบรรทดั ตอ่ เนือ่ งกัน และมีทร่ี าบชายฝั่ง
ทะเลอยรู่ ะหวา่ งตอนใตข้ องทวิ เขาจันทบุรีกบั อ่าวไทย เปน็ ท่รี าบแคบ
ที่มคี วามอุดมสมบูรณ์

 แม่นา้ ในภาคนี้ ไดแ้ ก่ แมน่ า้ ปราจีนบุรี แมน่ า้ ระยอง แม่นา้ ประแสร์
แมน่ ้าเวฬุ แม่น้าจนั ทบรุ ี และแมน่ ้าตราด

การตั้งถ่ินฐานในดินแดนไทย

การตั้งถ่ินฐานในดินแดนไทย การต้งั ถ่ินฐานในภาคกลาง

ภาคตะวนั ตก
มที ิวเขา 2 แนวตอ่ เนือ่ งกัน คือ ทวิ เขาถนนธงชยั และทิวเขาตะนาวศรี

ทีร่ าบหุบเขาทส่ี าคญั คอื ทีร่ าบลุ่มแม่นา้ แควนอ้ ย ทร่ี าบลุ่มแมน่ า้ แคว
ใหญ่
มีที่ราบชายฝ่ังทะเลในเขตจงั หวัดเพชรบุรแี ละประจวบครี ขี นั ธ์

การต้ังถน่ิ ฐานในดินแดนไทย

การต้งั ถิ่นฐานในดนิ แดนไทย การตงั้ ถนิ่ ฐานในภาคใต้

ภาค ใ ต้ มี ลั ก ษ ณ ะภู มิ ป ร ะเ ท ศ เป็ น
คาบสมทุ ร ขนาบด้วยทะเลอันดามนั และอ่าวไทย
มีทิวเขาภูเก็ตและทิวเขานครศรีธรรมราชทอดตัว
ในแนวจากเหนือไปใต้กับทิวเขาสันกาลาคีรีก้ัน
เขตแดนไทยกับมาเลเซีย มีที่ราบชายฝั่งทะเลท้ัง
สองด้านของคาบสมุทร

การตง้ั ถ่นิ ฐานในดนิ แดนไทย

การต้ังถ่ินฐานในดนิ แดนไทย การต้งั ถ่ินฐานในภาคใต้

พบเครื่องมือหินกะเทาะของมนุษย์
สมัยหินเก่าทจ่ี งั หวดั กระบี่

รอ่ งรอยการตังถ่นิ ฐาน พบเครื่องมือหินกะเทาะยุคหินกลาง
ของมนุษยต์ ังแต่สมยั หิน ท่ีจังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์
เก่า พังงา และนครศรธี รรมราช

พบหลกั ฐานการอยู่อาศัยของคนยคุ หิน
ใหม่ท่อี าศยั อยตู่ ามถ้าต่าง ๆ เชน่
จงั หวัดชุมพร กระบ่นี ครศรธี รรมราช
สุราษฎรธ์ านี

รฐั โบราณในดินแดนไทย

ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2

จากภาพเกีย่ วข้องกบั แคว้นใดบา้ ง ภาพท่ี 1 แคว้นตามพรลงิ ค์
ภาพที่ 2 อาณาจกั รทวารวดี

รฐั โบราณในดนิ แดนไทย

นักเรียนคิดว่าทาไมเราตอ้ งศกึ ษา
เร่อื งรฐั โบราณ ?

แคว้นหริภุญ แคว้นตามพร อาณาจักรศรี
ชยั ลงิ ค์ วิชัย

รฐั โบราณใน
ดนิ แดนไทย

แควน้ ทวารวดี แควน้ ละโว้

กิจกรรมที่ 1
1. สรุปสาระสาคญั รฐั โบราณ 5 รัฐ
2. สบื ค้นข้อมูลจากการ Scan QR Code

รฐั โบราณในดินแดนไทย

1. แควน้ ตามพรลิงค์หรอื แคว้นนครศรีธรรมราช

 จีน เรียกวา่ ตันมาลิง
 มีเรือ่ งราวปรากฏในหลักฐานต่าง

ๆ เชน่ บนั ทึกของจ้าวหยคู ่ัว
เขียนใน พ.ศ. 1768 สมยั
ราชวงศซ์ ง่
 จารึกหลกั ที่ 24 พบท่ีวัดเวยี ง
อาเภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์
ธานี

บริเวณทสี่ ันนษิ ฐานวา่ เปน็ ที่ต้ังของแควน้ นี้

รัฐโบราณในดินแดนไทย

1. แคว้นตามพรลงิ ค์หรอื แคว้นนครศรธี รรมราช

 แคว้นตามพรลงิ คต์ งั้ ข้ึนเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 7
 เมอื่ ถึงพุทธศตวรรษที่ 18 ไดเ้ ปลี่ยนช่อื เปน็ แคว้นนครศรธี รรมราช
 มอี ิทธพิ ลครอบคลมุ แหลมมลายู ซ่ึงเปน็ แหล่งรวมวัฒนธรรมจากอนิ เดียและลงั กา

รฐั โบราณในดนิ แดนไทย

1. แควน้ ตามพรลิงค์หรือแควน้ นครศรธี รรมราช

 ศาสนาท่นี บั ถือมีทั้งศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
 พระพทุ ธศาสนานิกายมหายานและนกิ ายเถรวาท
 นครศรีธรรมราชมคี วามสัมพนั ธ์กบั ลังกา
 จึงรับพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์

เข้าสูด่ ินแดนไทย
 หลังจากน้ันนครศรีธรรมราชก็กลายเป็นศูนย์กลาง

เผยแผ่พระพุทธศาสนาบนคาบสมทุ รมลายู
 ต่อมาพระสงฆ์นครศรีธรรมราชได้นาไปเผยแผ่ยัง

สุโขทัย

รฐั โบราณในดนิ แดนไทย

1. แควน้ ตามพรลงิ คห์ รือแควน้ นครศรธี รรมราช

 แควน้ นครศรธี รรมราชตกอยูใ่ ตอ้ ิทธพิ ลของอาณาจักรสุโขทยั ในสมัยพ่อขนุ
รามคาแหงมหาราช

 ต่อมาเมอื่ ต้งั อาณาจักรอยธุ ยาข้นึ ใน พ.ศ. 1893 แคว้นจงึ ถกู รวมอยูใ่ น
อาณาจักรอยุธยา

รฐั โบราณในดินแดนไทย

2. แควน้ อาณาจักรทวารวดี

บริเวณทีส่ ันนิษฐานวา่ เปน็ ทีต่ ั้ง  บนั ทกึ การเดินทางของหลวงจนี เห้ียนจาง (พระ
ของอาณาจักรนี้ ถงั ซาจ๋ัง) เรยี กอาณาจกั รนว้ี า่ โตโลโปต้ี หรอื
ตว้อหลอปอต่ี

 ศาสตราจารย์ยอรช์ เซเดส์ เชอื่ ว่าเป็นคา
เดียวกบั ทวารวดี ซ่ึงเปน็ อาณาจกั ร ในภาคกลาง
ของดนิ แดนประเทศไทย ศูนยก์ ลางอานาจอยทู่ ี่
เมอื งนครปฐมโบราณ (นครชยั ศรี) หรอื เมอื งอู่
ทอง หรือเมอื งลพบุรี

รฐั โบราณในดนิ แดนไทย

2. แคว้นอาณาจกั รทวารวดี
 นักประวตั ิศาสตร์อกี กลมุ่ หน่งึ เช่อื ว่า เมืองแตล่ ะเมืองในสมยั
ทวารวดตี า่ งเปน็ อิสระไมข่ ึ้นต่อกนั แตม่ คี วามคล้ายคลึงกนั
ทางวฒั นธรรม
 เมอื งโบราณทรี่ ับวฒั นธรรมทวารวดีมจี านวนมากและมี
ลักษณะคล้ายกนั คอื เปน็ เมอื งขนาดใหญ่ มคี ันดินคนู า้
ล้อมรอบ มศี าสนสถานขนาดใหญ่กระจายอยู่ในตัวเมอื ง

ทวารวดีรบั อารยธรรมอนิ เดยี นับถอื พระพทุ ธศาสนานิกายเถร
วาทเป็นศาสนาหลัก เหน็ ไดจ้ ากศิลปกรรมตา่ ง ๆ เช่น
พระพทุ ธรปู พระพิมพ์ สถปู เจดีย์ขนาดใหญ่ จารึก และ
ธรรมจักรกับกวางหมอบ

รฐั โบราณในดินแดนไทย

2. แคว้นอาณาจักรทวารวดี

อาณาจักรทวารวดมี กี ษัตรยิ ์ปกครอง
หลกั ฐานยนื ยัน ไดแ้ ก่ เหรยี ญเงนิ พบท่ี
เมอื งนครปฐมโบราณ เมืองอทู่ อง และ
เมอื งลพบรุ ี มคี าจารกึ วา่ ศรีทวารวติ
ศวรปุณยะ ซ่ึงศาสตราจารย์ยอรช์ เซเดส์
แปลวา่ บญุ ของผเู้ ปน็ เจ้าแห่งทวารวดี

รัฐโบราณในดนิ แดนไทย
2. แควน้ อาณาจกั รทวางรกวลดมี ล้อมรอบขอ้ ความท่ีมคี วามสัมพันธก์ นั

ขอ้ ความ ชื่อแควน้ /อาณาจกั ร
1. เปน็ แหลง่ รวมวัฒนธรรมจากภายนอก แคว้นตามพรลงิ ค์ อาณาจกั รทวารวดี
แควน้ ตามพรลงิ ค์ อาณาจักรทวารวดี
คอื อินเดียและลังกา แควน้ ตามพรลิงค์ อาณาจกั รทวารวดี
2. เปล่ยี นช่ือเป็นแคว้นนครศรีธรรมราช แคว้นตามพรลิงค์ อาณาจักรทวารวดี

ในราวพุทธศตวรรษท่ี 18
3. เป็นอาณาจกั รในภาคกลางของ
ดินแดนไทย
4. ส้ินสดุ ลงเม่อื เขมรแผ่อิทธพิ ลเข้ามา

รฐั โบราณในดินแดนไทย บรเิ วณที่สันนิษฐานวา่ เปน็ ที่ต้งั
ของอาณาจักรน้ี
3. อาณาจกั รศรีวชิ ยั

 ตามจดหมายเหตุของอี้จงิ พระภิกษชุ าวจีน
ทเ่ี ดนิ ทางทางเรือจากจีนไปอินเดยี เมื่อ
พ.ศ. 1214 ได้แวะพักท่ดี นิ แดนน้ีและ
เรียกวา่ ชิลโิ ฟชิ

 ใน พ.ศ. 2416 ศาสตราจารย์ยอรช์
เซเดส์ อา่ นจารกึ หลักที่ 23 ศลิ าจารึกวดั
เสมาเมือง อาเภอเมืองนครศรธี รรมราช

 พบคาวา่ ศรวี ชิ เยนทรราชา แปลวา่ พระ
เจา้ กรุงศรีวชิ ยั จงึ เกดิ คาว่า ศรวี ิชยั ตงั้ แต่
น้นั มา

รฐั โบราณในดนิ แดนไทย

3. อาณาจักรศรีวชิ ยั

 อาณาจกั รศรีวิชัยเป็นชุมชนโบราณ ต้งั อยรู่ มิ
ฝัง่ ทะเล เหมาะทจ่ี ะเปน็ เมอื งทา่

 ตอ่ มากลายเป็นศนู ย์กลางการค้าทส่ี าคัญ อยู่
ในเสน้ ทางการคา้ ระหวา่ งอินเดียกับจีน มี
การตดิ ตอ่ ค้าขายกบั พ่อคา้ อินเดีย อาหรับ
และจนี

มอี าณาเขตครอบคลุมภาคใต้ของไทย ศูนยก์ ลางอานาจอาจอยทู่ ีเ่ มืองปาเล็มบัง
บนเกาะสุมาตรา หรอื เมืองไชยา จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ของประเทศไทย

รฐั โบราณในดนิ แดนไทย

3. อาณาจกั รศรีวิชัย

 ศรีวิชัยรับอารยธรรมอินเดีย ในระยะแรก
นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทและ
ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู

 ต่อมานับถือพระพุทธศาสนานิกาย
มหายาน

 ศิลปกรรมทางศาสนาที่มีชื่อเสียงมาก คือ
รปู พระโพธิสัตว์อวโลกเิ ตศวร ปจั จุบนั อยู่ที่
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร และพระ
บรมธาตุไชยา จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี

รฐั โบราณในดินแดนไทย

3. อาณาจกั รศรีวชิ ัย

อาณาจักรศรีวิชัยส้ินสุดอานาจ
ทางการเมืองลงในตอนปลาย
พทุ ธ-ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากถูก
พวกโจฬะจากอินเดียใต้รุกราน
และไม่สามารถควบคุมการค้า
ทางทะเลตามเดิมได้

เงินตราทใ่ี ช้ในอาณาจกั รศรีวิชัย

รฐั โบราณในดนิ แดนไทย

4. แควน้ ละโว้หรอื ลพบรุ ี

แ ค ว้ น น้ี พั ฒ น า ม า จ า ก ชุ ม ช น
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ รับ
วัฒนธรรมทวารวดีจนถึงพุทธ
ศตวรรษที่ 16 จึงรับวัฒนธรรม
เขมร ศูนย์กลางอยู่ท่ีเมืองละโว้
หรือลพบรุ ี

บริเวณที่สนั นิษฐานว่าเป็นที่ต้งั ของแคว้นน้ี

รฐั โบราณในดินแดนไทย

4. แควน้ ละโว้หรอื ลพบุรี

 เมืองต่าง ๆ ของดนิ แดนประเทศไทยท่รี บั อทิ ธิพลมาจากเขมร
 มลี กั ษณะสาคญั คอื การสร้างศาสนสถานไวท้ ี่ศูนย์กลางเมอื ง
 มกี ารขุดสระน้าหรอื สระภายในตวั เมืองใกลศ้ าสนสถาน
 ส่งิ กอ่ สรา้ งทเ่ี ปน็ ประธานของศาสนสถาน ได้แก่ ปราสาทหรือปรางค์

รฐั โบราณในดนิ แดนไทย

4. แคว้นละโว้หรอื ลพบรุ ี

 เดมิ ชาวละโวน้ บั ถือพระพทุ ธศาสนานกิ าย
เถรวาทแต่เมอื่ รับวัฒนธรรมเขมรเข้ามากน็ ับ
ถือศาสนา ตามเขมร ได้แก่ ศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู และพระพทุ ธศาสนานกิ าย
มหายาน

 ประตมิ ากรรมทางศาสนาศลิ ปะลพบุรีจึงมี
ทั้งเทวรูป พระโพธสิ ตั ว์ และพระพุทธรูปซง่ึ
นยิ มสรา้ งปางนาคปรก

รฐั โบราณในดนิ แดนไทย

5. แคว้นหริภญุ ชัย

 ตังอย่ใู นทีร่ าบล่มุ แม่น้าปิงตอนบนและทีร่ าบล่มุ แม่นา้ วัง
 ราชธานี คือ เมืองหริภุญชัยหรือเมืองลา้ พนู
 เรื่องราวของแคว้นนีปรากฏในตา้ นานทางเหนือ เช่น

จามเทวีวงศ์ ตา้ นานมลู ศาสนา ชินกาลมาลีปกรณ์

รฐั โบราณในดนิ แดนไทย

5. แควน้ หริภญุ ชยั

 ชินกาลมาลีปกรณ์ กล่าวว่า ฤๅษีวาสเุ ทพ
เป็นผ้สู ร้างเมืองหรภิ ุญชัยแล้วส่งคนไป
เชิญพระนางจามเทวีจากเมืองละโว้มา
เปน็ กษัตริย์

 ด้วยเหตุนี หมานซู เอกสารจีนโบราณ
สมยั ราชวงศ์ถงั ซึง่ เขียนใน พ.ศ. 1406 จึง
เรียกหริภุญชยั ว่า หนี่หวังก๊ก แปลว่า
แคว้นทีม่ ีผูห้ ญิงเป็นกษตั ริย์

รฐั โบราณในดนิ แดนไทย

5. แควน้ หริภญุ ชัย

 • พระนางจามเทวีนา้ วัฒนธรรมทวารวดีจากละโว้ไปเผยแพรท่ ่หี ริภุญชยั
ชาวหรภิ ญุ ชยั จงึ นับถือพระพุทธศาสนานกิ ายเถรวาท

 สถาปตั ยกรรมทางพระพุทธศาสนาสมัยหริภญุ ชยั ได้แก่ พระเจดยี ์กู่กุด
และพระบรมธาตหุ รภิ ญุ ชัย

 แคว้นหรภิ ญุ ชยั ถูกพระยามังรายตีได้เมื่อ พ.ศ. 1835