มาตรฐานโรงอาหารในโรงเรียน ppt

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

งานนำเสนอเรื่อง: "โรงอาหาร/ที่รับประทานอาหาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงอาหาร/ที่รับประทานอาหาร

2 4.5 โรงอาหาร/ที่รับประทานอาหาร
4.5 โรงอาหาร/ที่รับประทานอาหาร ทำที่ตั้งของโรงอาหาร ต้องเป็นทำเลปอดจากที่ที่มีเชื้อโรค สารเคมี อากาศถ่ายเทได้ดี สถานที่รับประทานอาหารโรงเรียนจะต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขลักษณะอาหารในโรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานความสะอาด อยู่ใกล้กับอาคารเรียนเพื่อความสะดวกสบายของนักเรียน ขนาดเนื้อที่ของโรงอาหาร มีพื้นที่กว้างสะดวกสบาย ปลอดภัยจากเชื้อโรคและรองรับนักเรียนที่เข้ามารับประทานอาหารได้ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของโรงเรียน โต๊ะรับประทานอาหาร โต๊ะ เก้าอี้ จะต้องสะอาดและแข็งแรง จัดเป็นระเบียบเพื่อให้นักเรียนมีบริเวณที่รับประทานอาหารเป็นสัดส่วนสะดวกสบายและปลอดภัย

3 โรงอาหาร/ที่รับประทานอาหาร
การดูแลและรักษาความสะอาดโรงอาหาร พื้นที่รับประทานอาหารจะต้องฆ่าเชื้อโรคและเช็ดถูทุกวัน ภาชนะแลอุปกรณ์ควรล้างทุกครั้งเมื่อนำมาใช้ และเก็บไว้อย่างเหมาะสมเมื่อไม่ได้ใช้ ควรมีการรักษาทำความสะอาดอุปกรณ์ต่างๆในครัวเรือนทุกครั้งเพื่อปอดจากเชื้อโรคต่างๆ และสุขภาพของนักเรียน นาย

4 รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
นาย ยุทธนา แสงรัตน์ นาย บดินทร์ สุขต้อ นาย จิตกาน ประสาท นางสาว ธิษณา สินไพบรูณ์

งานนำเสนอเรื่อง: "มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
ชณัญณิศา เลิศสุโภชวณิชย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย 1

2 หลักการสุขาภิบาลอาหาร
หมายถึง การจัดการ และควบคุมเพื่อให้อาหารปลอดภัยจากเชื้อโรค พยาธิ และ สารเคมีที่เป็นพิษต่างๆ ซึ่งเป็นอันตราย หรืออาจเป็นอันตรายต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย สุขภาพอนามัย และ การดำรงชีวิตของมนุษย์

3 สถานที่รับประทานอาหาร และบริเวณทั่วไป
1. สะอาด เป็นระเบียบ 2. โต๊ะ เก้าอี้ สะอาด แข็งแรง จัดเป็นระเบียบ 3. มีการระบายอากาศดี

4 สถานที่เตรียม-ปรุงอาหาร
4. สะอาด เป็นระเบียบ พื้นทำด้วยวัสดุถาวร แข็ง เรียบ สภาพดี 5. มีการระบายอากาศรวมทั้งกลิ่น และควันจากการทำอาหารได้ดี เช่น มีปล่องระบายควัน หรือพัดลมดูดอากาศที่ใช้การได้ดี 6. ไม่เตรียมและปรุงอาหารบนพื้น 7. โต๊ะเตรียม-ปรุงอาหาร และผนังบริเวณเตาไฟ ต้องทำด้วยวัสดุที่ทำความสะอาดง่าย (เช่น สแตนเลส กระเบื้อง) มีสภาพดี และพื้นโต๊ะต้องสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม.

5

6 ตัวอาหาร น้ำ น้ำแข็ง เครื่องดื่ม
8. อาหารและเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ต้องมีเลขสารบบอาหาร 9. อาหารสด เช่น เนื้อสัตว์ ผักสด ผลไม้ และอาหารแห้ง มีคุณภาพดี แยกเก็บเป็นสัดส่วน ไม่ปะปนกัน วางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. หรือเก็บในตู้เย็น ถ้าเป็นห้องเย็น ต้องวางสูงจากพื้นอย่างน้อย 30 ซม. สำหรับอาหารสดต้องให้สะอาดก่อนนำมาปรุง 10. อาหารและเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท มีคุณภาพดี เก็บเป็นระเบียบ สูงจากพื้นอย่างน้อย 30 ซม.

7 เกลือ 2 ช้อนโต๊ะพูนต่อน้ำ 4 ลิตร
เกลือ 2 ช้อนโต๊ะพูนต่อน้ำ 4 ลิตร น้ำส้มสายชู 1/2 ถ้วยต่อน้ำ 4 ลิตร โซเดียมไบคาร์บอเนต 1 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ 4 ลิตร

8

9 11. อาหารที่ปรุงสำเร็จแล้ว เก็บในภาชนะที่สะอาด
11. อาหารที่ปรุงสำเร็จแล้ว เก็บในภาชนะที่สะอาด มีการปกปิด วางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. 12. มีตู้สำหรับปกปิดอาหารที่ปรุงสำเร็จแล้ว และด้านหน้าของตู้ต้องเป็นกระจก 13. น้ำดื่ม เครื่องดื่ม น้ำผลไม้ต้องสะอาด ใส่ในภาชนะที่สะอาด มีฝาปิด มีก๊อกหรือทางเทรินน้ำ หรือมีอุปกรณ์ที่มีด้ามสำหรับตักโดยเฉพาะ และวางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. 14. น้ำแข็งที่ใช้บริโภคต้องสะอาด ใส่ในภาชนะที่สะอาด มีการปกปิด มีอุปกรณ์ที่มีด้ามสำหรับคีบ หรือตักโดยเฉพาะ วางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. และต้องไม่มีสิ่งของอื่นแช่รวมไว้

10

11 ภาชนะอุปกรณ์ 15. ภาชนะอุปกรณ์ เช่น จาน ชาม ช้อน ส้อม ฯลฯ ต้องทำด้วยวัสดุที่ไม่เป็นอันตราย เช่น สแตนเลส กระเบื้องเคลือบขาว แก้ว อลูมิเนียม เมลามีนสีขาว หรือสีอ่อน สำหรับตะเกียบต้องเป็นไม้ไม่ตกแต่งสี หรือพลาสติกสีขาว 16. ภาชนะใส่น้ำส้มสายชู น้ำปลา และน้ำจิ้ม ต้องทำด้วยแก้ว กระเบื้องเคลือบขาว หรือสแตนเลส สำหรับเครื่องปรุงรสอื่นๆ ต้องใส่ในภาชนะที่ทำความสะอาดง่าย มีฝาปิด และสะอาด

12

13 17. ล้างภาชนะอุปกรณ์ด้วยวิธีการอย่างน้อย 2 ขั้นตอน
โดย ขั้นตอน ที่ 1 ล้างด้วยน้ำยาล้างภาชนะ ขั้นตอนที่ 2 ล้างด้วยน้ำไหล และอุปกรณ์การล้าง ต้องสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. 18. ใช้อ่างล้างภาชนะที่มีท่อระบายน้ำที่ใช้การได้ดี อย่างน้อย 2 อ่าง 19. จาน ชาม ถ้วย แก้วน้ำ ถาดหลุม ฯลฯ เก็บคว่ำในภาชนะโปร่งสะอาด หรือตะแกรงวางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. หรือเก็บในภาชนะหรือสถานที่ที่สะอาด มีการปกปิด

14

15 20. ช้อน ส้อม ตะเกียบ วางตั้งเอาด้ามขึ้นในภาชนะโปร่งสะอาด หรือวางเป็นระเบียบในภาชนะที่สะอาด และมีการปกปิด ตั้งสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. 21. เขียงต้องมีสภาพดี ไม่แตกร้าวหรือเป็นร่อง มีเขียงใช้เฉพาะอาหารสุกและอาหารดิบแยกจากกัน มีฝาชีครอบ (ยกเว้นครัวที่มีการป้องกันแมลงวันแล้ว)

16 การรวบรวมขยะ และน้ำโสโครก
22. ใช้ถังขยะที่ไม่รั่วซึม และมีฝาปิด 23. มีท่อหรือรางระบายน้ำที่มีสภาพดี ไม่แตกร้าว ระบายน้ำจากห้องครัวและที่ล้างภาชนะอุปกรณ์ลงสู่ท่อระบายหรือแหล่งบำบัดได้ดี และต้องไม่ระบายน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะโดยตรง 24. มีบ่อดักเศษอาหารและดักไขมันที่ใช้การได้ดี ก่อนระบายน้ำเสียทิ้ง

17

18 ห้องน้ำ ห้องส้วม 25. ห้องน้ำ ห้องส้วมต้องสะอาดไม่มีกลิ่นเหม็น มีน้ำใช้เพียงพอ 26. ห้องส้วมแยกเป็นสัดส่วน ประตูไม่เปิดสู่บริเวณที่เตรียม ปรุงอาหาร ที่ล้างและเก็บภาชนะอุปกรณ์ ที่เก็บอาหาร และต้องมีอ่างล้างมือที่ใช้การได้ดีอยู่ในบริเวณห้องส้วม

19 ผู้ปรุง ผู้เสิร์ฟ 27. แต่งกายสะอาด สวมเสื้อมีแขน
27. แต่งกายสะอาด สวมเสื้อมีแขน 28. ผูกผ้ากันเปื้อนสีขาว หรือมีเครื่องแบบ ผู้ปรุงจะต้องใส่หมวก หรือเนทคลุมผมด้วย 29. ต้องเป็นผู้มีสุขภาพดี ไม่เป็นโรคติดต่อ ไม่เป็นโรคผิวหนัง สำหรับผู้ปรุงจะต้องมีหลักฐานการตรวจสุขภาพในปีนั้นให้ตรวจสอบได้ 30. มีสุขนิสัยที่ดี เช่น ตัดเล็บสั้น ไม่สูบบุหรี่ในขณะปฏิบัติงาน ไม่ใช้มือหยิบจับอาหารที่ปรุงเสร็จแล้วโดยตรง

20

21 สวัสดี