บทบาทหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าฯ กทม. มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระดำรงตำแหน่ง 4 ปี (แต่คนล่าสุดมาจากการแต่งตั้งโดยคำสั่ง คสช. นะเออ!)

อำนาจหน้าที่

ขอบเขตอำนาจผู้ว่าฯ กทม. ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2562

  • กำหนดนโยบาย ทิศทางการแก้ไข พัฒนา และบริหารราชการให้เป็นไปตามแผน
  • มีอำนาจสั่งการที่เกี่ยวกับราชการของ กทม. และรักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติ กทม. 
  • บริหารภายในหน่วยงาน กทม. ให้ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
  • แต่งตั้งหรือถอดถอนรองผู้ว่าฯ กทม. และข้าราชการการเมืองอื่นๆ และบริหารจัดการข้าราชการประจำของ กทม.
  • นำนโยบายจากรัฐบาลกลางมาปฏิบัติ

นโยบายและทิศทางการบริหาร กทม. 

นโยบายและทิศทางการบริหาร กทม. เกี่ยวพันกับชีวิตของประชาชนทุกด้าน ได้แก่

  • บทบาทหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
    บทบาทหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
  • บทบาทหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
    บทบาทหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
  • บทบาทหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
    บทบาทหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
  • ระบบขนส่งสาธารณะ
    • มีบทบาทร่วมในการพิจารณาสัญญาสัมปทานรถไฟฟ้า
    • กทม. สามารถขออนุญาตกรมการขนส่งทางบก วิ่งรถเมล์เอง 
    • ระบบตั๋วร่วม 
    • ขีดสี ตีเส้น ทำป้ายสัญญาณ
    • นำยานพาหนะพลังงานไฟฟ้ามาใช้ เช่น เรือโดยสาร EV
  • การรักษาความสงบเรียบร้อย
    • การส่งเสริมและสนับสนุนสถานีตำรวจ เช่น ข้อมูลจากกล้องวงจรปิด 
    • จัดทำระบบแจ้งเหตุฉุกเฉิน
  • การทะเบียน 
    • ทะเบียนบ้าน บัตรประชาชน
    • ดูแลการดำเนินกิจการของมัสยิด ศาลเจ้า
  • การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
    • สนับสนุนงานและอุปกรณ์แก่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
  • การรักษาความสะอาด
    • จัดเก็บขยะโดยคิดค่าบริการ 
    • บำรุงรักษาทางสัญจรและทางระบายน้ำ
    • ปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัด
  • การผังเมือง
    • ควบคุมอาคาร
    • ปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัย เช่น ปรับปรุง พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และ พ.ร.บ.การผังเมือง พ.ศ. 2562
    • จัดมีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
  • การพัฒนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
    • เพิ่มพื้นที่สีเขียว 
    • จัดการปัญหาฝุ่นควัน
  • บำรุงรักษาศิลปะ จารีต ประเพณี ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมท้องถิ่น
  • การสาธารณูปโภค
    • พิจารณาเงื่อนไขการอนุญาตหน่วยงานสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การไฟฟ้านครหลวง การประปานครหลวง บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) เป็นต้น
  • การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
    • ส่งเสริมการกีฬา
    • สนับสนุนศูนย์สาธารณสุขชุมชน
    • จัดบริการฉีดวัคซีน
    • จัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน
    • จัดให้มีและควบคุมโรงฆ่าสัตว์
    • จ่ายเบี้ยผู้สูงอายุ
  • การควบคุมสัตว์เลี้ยงและสัตว์เร่ร่อน
  • การจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับแผนการศึกษาของชาติ 
    • สนับสนุนอาหารโรงเรียน 
    • ปรับปรุงศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  • การส่งเสริมการประกอบอาชีพ
    • สนับสนุนการค้าแผงลอยให้ถูกกฎหมาย กทม. สามารถเช่าพื้นที่ว่างในอาคารของเอกชน เพื่อสร้างศูนย์อาหารราคาถูก โดยคิดค่าบริการไม่แพงเหมือนในสิงคโปร์ เรียกว่า Food Hawker หรือสร้างเป็นสวนผักคนเมือง
    • จัดระเบียบเศรษฐกิจภาคกลางคืน

คุณสมบัติผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าฯ กทม.

  • สัญชาติไทย
  • อายุ 35 ปีขึ้นไป 
  • มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน 1 ปีขึ้นไป
  • สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
  • ไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม พ.ร.บ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2562 มาตรา 50

ค่าธรรมเนียมการสมัคร

50,000 บาท

สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) 

มีหน้าที่ควบคุม ตรวจสอบ และดูแลการบริหารราชการของฝ่ายบริหาร กทม.

ที่มา

มาจากการเลือกตั้งเขตละ 1 คน มีวาระดำรงตำแหน่ง 4 ปี โดยมีประธานสภา 1 คน และรองประธานสภาไม่เกิน 2 คน

อำนาจหน้าที่

ส.ก. ไม่เท่ากับ ผู้ว่าฯ กทม. เพราะโดยหลักแล้วไม่ได้มีหน้าที่ในการบริหารจัดการโครงการต่างๆ แต่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ คล้ายกรณีของสภาผู้แทนราษฎรที่จะทำหน้าที่ตรวจสอบถ่วงดุลฝ่ายบริหาร ซึ่งในที่นี้ก็คือตรวจสอบถ่วงดุลผู้ว่าฯ กทม. โดยมีหน้าที่หลัก ได้แก่

(๑) เป็นเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินงานในหน้าที่ของ ก.ก. และ ก.พ.ค.
      กรุงเทพมหานครและดำเนินการตามที่ ก.ก. หรือ ก.พ.ค. กรุงเทพมหานคร
      มอบหมาย
(๒) วิเคราะห์และวิจัยเกี่ยวกับการจัดระบบราชการกรุงเทพมหานครเพื่อเสนอ ก.ก.
(๓) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หน่วยงานและ
      ส่วนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทางการ
      บริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร
      กรุงเทพมหานคร
(๔) พัฒนา ส่งเสริม วิเคราะห์ และวิจัยเกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์
      วิธีการ และมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการ
      กรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
(๕) จัดทำยุทธศาสตร์ ประสาน และดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
      ของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
(๖) ดำเนินการเกี่ยวกับแผนกำลังคนของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร
      กรุงเทพมหานคร
(๗) ดำเนินการสอบแข่งขันหรือสอบคัดเลือกหรือคัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลเข้า
      รับราชการในกรุงเทพมหานครตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
      ที่ ก.ก. กำหนด
(๘) เป็นศูนย์กลางข้อมูลทรัพยากรบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร
      กรุงเทพมหานคร
(๙) ติดตามและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
      และบุคลากรกรุงเทพมหานคร
(๑๐) ส่งเสริม ประสานงาน เผยแพร่ ให้คำปรึกษาแนะนำ และดำเนินการเกี่ยวกับการจัด
      สวัสดิการและการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตสำหรับทรัพยากรบุคคลของข้าราชการ
      กรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
(๑๑) ดำเนินการเกี่ยวกับการรับรองคุณวุฒิของผู้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
       หรือคุณวุฒิอย่างอื่น เพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเป็นข้าราชการ
       กรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร และการกำหนดอัตราเงินเดือน
       หรือค่าตอบแทนรวมทั้งระดับตำแหน่งและประเภทตำแหน่งสำหรับคุณวุฒิดังกล่าว
(๑๒) ดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาทะเบียนประวัติและการควบคุมเกษียณอายุของ
        ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
(๑๓) จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลในราชการ
        กรุงเทพมหานครเสนอต่อ ก.ก. และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
(๑๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือตามที่ ก.ก.
        หรือ ก.พ.ค. กรุงเทพมหานคร หรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมอบหมาย

บทบาทหน้าที่ของกรุงเทพมหานครมีอะไร

อำนาจหน้าที่.
การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน.
การทะเบียนตามที่กฎหมายกำหนด.
ป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัย.
การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง.
การผังเมือง.
การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบกหรือทางน้ำ และทางระบายน้ำ.
การจัดการจราจรและการวิศวกรรมจราจร.

กรุงเทพมหานครสังกัดหน่วยงานใด

7. การควบคุมกรุงเทพมหานคร ประกาศของคณะปฏิบัติฉบับที่ 335 ข้อ 24 ได้กำหนดให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจหน้าที่ควบคุมดูแลกรุงเทพมหานคร และมีอำนาจสั่งยุบสภากรุงเทพมหานครได้ ซึ่งแตกต่างกับการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นรูปอื่นๆ ซึ่งควบคุมโดยผู้ว่าราชการจังหวัดนั้นๆ และจังหวัดก็ถูกควบคุมโดยปลัดกระทรวงมหาดไทย และ ...

ผู้ว่าราชการจังหวัดมีหน้าที่อะไร

อานาจหน้าที่ผู้ว่าราชการจังหวัด พระราชบัญญัติระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน 2534 มาตรา 57 ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอานาจและ หน้าที่ดังนี้ (1) บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ (2) บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่ง การในฐานะหัวหน้ารัฐบาล

เมืองพัทยามีหน้าที่อะไร

ตามมาตรา 62 ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติของกฎหมาย เมืองพัทยามีอำนาจหน้าที่ดำเนินการในเขตเมืองพัทยาในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. การรักษาความสงบเรียบร้อย 2. การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 3. การคุ้มครองและดูแลรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน