งาน วิจัย เกี่ยว กับ หมอน หลอด กาแฟ

ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-

• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม

ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ปี 2563

จากการที่ผู้วิจัยมีญาติเป็นผู้ป่วยติดเตียง ทำให้เห็นความลำบากของผู้ป่วยรวมถึงผู้ดูแลผู้ป่วยด้วย ผู้ป่วยติดเตียงเป็นผู้ที่ต้องการการดูแล โดยเฉพาะในเรื่องอาการปวดหลัง และอาการเกิดแผลกดทับซึ่งเกิดขึ้นบ่อยครั้ง ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ สิ่งของที่ผู้ป่วยจำเป็นต้องใช้อย่างหนึ่งคือ หมอนรอง เพื่อช่วยพยุงหลัง และดันหลังพลิกตัวผู้ป่วย รวมถึงใช้รองแผลกดทับด้วย หมอนที่ใช้อยู่ส่วนใหญ่ทำจากฝ้าย ใยสังเคราะห์ รวมถึงหลอดด้วย แต่ก็มักเปรอะเปื้อนได้ง่าย ไม่สะดวกในการดูแลทำความสะอาด รวมถึงเกิดฝุ่นได้ง่าย ผู้วิจัยจึงคิดจัดทำหมอนหลอดเพือสุขภาพของผู้ป่วยติดเตียง เพื่อลดความเสี่ยงจากการเกิดแผนกดทับ อาการภูมิแพ้ ดูแลรักษาความสะอาดได้ง่าย

อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาง รพีพรรณ พณิชยกุล
2. นาง ปทิตตา คำภูมี
3. นาง ดรุณวรรณ ชนะผล
4. นางสาว นงนุช หนูหงส์

ผู้ประดิษฐ์
1. นางสาว เกวลิน จุ้ย
2. นางสาว จันทร์จิรา เกษร

• ความร่วมมือที่แสวงหา :

ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ

• วันที่เผยแพร่ผลงาน :

15 กันยายน 2564

• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :

TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว

• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :

Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น

• ราคาของผลงานนวัตกรรม :

ยังไม่ได้กำหนดราคา

สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+

ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+

รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+

หมอนหลอดเพื่อสุขภาพสำหรับผู้ป่วยติดเตียง

งาน วิจัย เกี่ยว กับ หมอน หลอด กาแฟ

• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา


• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :

1. เป็นหมอนรูปทรงสามเหลี่ยมภายในบรรจุหลอดกาแฟแทนนุ่นและใยสังเคราะห์ ทำให้ไม่มีฝุ่น ไม่ก่อให้เกิดอาการภูมิแพ้
2. เป็นหมอนที่มีคุณสมบัติช่วยลดความเส่ียงจากการเกิดแผนกดทับของผู้ป่่วยติดเตียง
3. ใช้เป็นหมอนรองสำหรับผู้ป่วยติดเตียงที่มีความเสี่ยงเรื่องแผลกดทับ
4. ใช้เป็นหมอนรองสำหรับบุคคลทั่วไปที่มีความเสี่ยงเรื่องอาการภูมิแพ้ เพราะไม่ใข้นุ่นและใยสังเคราะห์ที่อาจเกิดฝุ่น


งาน วิจัย เกี่ยว กับ หมอน หลอด กาแฟ

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา


• ประเภทผลงานนวัตกรรม :

ผลงานนวัตกรรม

• หมวดหมู่นวัตกรรม :

ชุมชน/สังคม


• ระดับนวัตกรรม :

TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว

• ความร่วมมือที่แสวงหา :

ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ

• ความต้องการจำหน่าย :

Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น


วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564

|

ผู้เยี่ยมชม: 490

สภาการสาธารสุขชุมชน อาคาร 5 ชั้น 5  ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี  จังหวัดนนทบุรี  11000  โทรศัพท์ +66 2591 9186 

Council of Community Public Health, Building 5, Floor 5, Office of the Permanent Secretary Ministry of Public Health,

Taladkwan, Muang,Nontaburi, 11000. Thailand

Email:

ผู้แต่ง

  • ชฎารัตน์ เหลืองอร่าม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
  • สุทธิศักดิ์ สุริรักษ์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดสุพรรณบุรี

คำสำคัญ:

หมอนหลอดกาแฟ, ระดับการปวด

บทคัดย่อ

การวิจัยกึ่งทดลองวัดครั้งเดียวก่อนและหลังการทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับอาการปวดหลังสตรีตั้งครรภ์ระยะรอคลอดหลังจากใช้นวัตกรรมหมอนหลอดกาแฟ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีตั้งครรภ์ระยะรอคลอดที่มารอคลอดจำนวน 50 คน โดยทำการศึกษาระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2561 ถึง วันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2562 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามระดับอาการปวดหลังแบ่งเป็น 4 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่า ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่มที่ไม่อิสระจากกัน (Pair t-test) ผลการวิจัยพบว่า

ค่าเฉลี่ยระดับอาการปวดก่อนใช้และหลังใช้ พบว่าค่าเฉลี่ยระดับอาการปวดก่อนใช้และหลังใช้  มีค่าเฉลี่ยระดับอาการปวดก่อนใช้ (M=5.92, SD = 1.31) ค่าเฉลี่ยระดับอาการปวดหลังใช้ (M= 3.13, SD = 1.34) เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าอาการปวดลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ควรมีปลอกหมอนมาไว้เปลี่ยน เนื่องจากควรใช้กับผู้ป่วยครั้งละ 1 คน และมีการพัฒนารูปแบบให้มีหลายขนาดตามรูปร่างของผู้ป่วย  ตลอดจนเพิ่มระยะเวลาในการใช้

Downloads

Download data is not yet available.

References

กาญจนา โกทิยะ และคณะ. (2559). การบริหารร่างกายของหญิงตั้งครรภ์เพื่อบรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 8(3).
กิตติมา ด้วงมณี และคณะ. (2560). ศึกษาผลของการจัดท่าผีเสื้อประยุกต์ต่อความปวด และเวลาในระยะปากมดลูกเปิดเร็วในหญิงระยะคลอด. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 9(1).
เจ้าหน้าที่หอผู้ป่วยหญิง โรงพยาบาลบ้านตาก (2560). ผลการใช้โปรแกรมจัดการความปวดต่อระดับความเจ็บปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัด. งานวิชาการโรงพยาบาลขอนแก่น.
ปิยะวรรณ ดีชู. (2554). หมอนหลอดกาแฟลดอาการปวดหลัง. สืบค้นเมื่อ 20 ก.ย. 61, จาก kmmed.kku.ac.th /vcd/piyawan/piyawan2_2012.pptx.
พิชา กรรณลา. (2559). นวัตกรรมทางการพยาบาล ผลงานพัฒนาต่อเนื่อง แปรงนวดสบายคลายปวด. งานบริการคลอด โรงพยาบาลกันทรลักษ์.
มณีรัตน์ ประจันนวล และคณะ. (2555). ฝากั้นลงคาถา เพิ่มพลังอำนาจมารดาคลอดนวัตกรรมฝากั้น ลงคาถาเพิ่มพลังอำนาจ. งานห้องคลอด โรงพยาบาลส่องดาว จังหวัดสกลนคร.
รังสินี พูลเพิ่ม และคณะ. (2557). ผลของการใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำอุ่นประคบหน้าท้องต่อการลดความเจ็บปวดและการลดระยะเวลาของระยะปากมดลูกเปิดเร็วในมารดาครรภ์แรก. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3).
วรรณรัตน์ จงเจริญยานนท์. (2553). การพยาบาลระยะตั้งครรภ์. ใน วรรณรัตน์ จงเจริญยานนท์ (บรรณาธิการ). การพยาบาลสูติศาสตร์ เล่ม 1. กรุงเทพฯ: บริษัท ยุทธรินทร์ การพิมพ์ จำกัด. พิมพ์ ครั้งที่ 12.
วิไลพรรณ สวัสดิ์พาณิชย์. (2554). การดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย. นนทบุรี: กลุ่มงานพัฒนาวิชาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

งาน วิจัย เกี่ยว กับ หมอน หลอด กาแฟ

License

  • บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน ที่เป็นวรรณกรรมของผู้เขียน บรรณาธิการ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
  • บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน