ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี ได้แก่

����ͧ����յ�ҧ� ������к���㹡������ú�Ź�� �͡�ҡ����������ǧ���ҷ����С�ШѺ����ǧ��������� ����ǹ������觷�������ǧ����ͧ��·����� ��� �ի� ����� ���� ���ⷹ�Ѻ ��ǹ�͹�鹨��繫����������ҧǧ����� ���ͨ��繫ʹ�ǧ��������ҧ�����Һ���ŧ��������ǧ����ͧ��¡�����Һ�� ����ҷ��Ԩ�óҵ����Ҿ��ó�����蹡ѹ�ҡ���������¶֧��ͧ�ѭ�ѵ�����繡����������ѹ���ҧ��� ����ͧ�繢ͧ����͹��ҧ����蹧�������ҧ��� �֧������ҫͷ���к��

ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี ได้แก่

�������ú�Ź����繫ʹ�ǧ����� ���ѭ�ѵ������� ��͔ �� � ������������件֧����������Ы���������ռ��Դ���ҧ����§������������ѧ���¶�������ҧ���ǧ����ͧ������������ظ�ҡ��վ������Ժ�ó��������� ��� �իʹ�ǧ ����� ���� �����������ͧ����ŧ�ӹͧ ⷹ �Ѻ ��Щ��������ͧ����ŧ��Сͺ�ѧ��� ��ǹ����¡礧������������Ң�Ҵ��ҧ ���������¡�ѹ����¹����� ������ ��§�͔ ������� ��������Ժ� ��͢���¢�Ҵ��������§�٧����ѧ����� �� �ⷹ�Ѻ� ����繡�����¡�Ѻ�Ѿ�� ���зѺ���ⷹ ⷹ���ͷѺ �֧�����������ҹ������ͧ�ӡѺ�ѧ�������ⷹ��ͷѺ���ҧ���� �ѧ��������й��Ҽ�� ��ǹ����ǧ���������ͧ��¼����餧��������¡��� ǧ����ͧ��� ���Ҩ�����¡��� �����Ք ���� ����㹡������ú�Ź���ͧ�¡���¡����աѺ������繤������ҧ �������ú�ŷ����ҹ�鹤�� �͹�����Ҵ��¡�þԸյ�ͧ���§����˹����͵�ҧ� ������͹˹�����
����ͻ���١�ع��� �������ອ�� ���ͨ���������ͧ��ҧ ���´���� ��������ϔ

����� �����Ք 㹷������������з������¡����ǧ����ͧ�����觡���ǧ���� ���Ф���� �����Ք ���ŵç������� ��������” ��ҷ�����Ǻ�������������� �����繷����͹��� �������ظ�ҹ��������ͧ����դú��� � ������ ��� ���ҷ�� ����� �������ͧ���

ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี ได้แก่

ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี ได้แก่

����������¡�ا������ ���ͧ�ҡ����¹���繪�ǧ���������ѹ�����§�� 15 �� ��л�Сͺ�Ѻ ��������觡�á����ҧ���ҧ���ͧ ��С�û�ͧ�ѹ������������ҡ ǧ������� ����¹��֧����ҡ���ѡ�ҹ������ ���ա�þѲ������¹�ŧ��� �ѹ��ɰҹ��� �ѧ�����ѡɳ�����ٻẺ�ͧ ������� ����¡�ا�����ظ�ҹ���ͧ

ในยุคปัจจุบันแนวคิดทางพุทธศาสนาถูกนำมาประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายในการรักษาโรคทางจิตตามแบบตะวันตกมีการนำการฝึกสติและการฝึกสมาธิเข้ามาเป็นแนวคิดพื้นฐานในการบำบัดรักษาอาการผิดปกติทางจิตใจในด้านต่าง ๆ เพื่อทางจิตใต้สำนึกของตัวเอง ซึ่งบ่อยครั้งที่สิ่งเหล่านี้เป็นต้นเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดอาการเจ็บป่วย หรือเกิดเป็นอาการผิดปกติทางจิตใจขึ้นมา ซึ่งจะค่อย ๆ สะสมและเปลี่ยนแปลงไปทีละเล็กละน้อยโดยที่เราไม่รู้สึกถึงความเปลี่ยนแปลงนั้น แนวทางการรักษาโดยเน้นที่การฝึกสตินั้นได้แก่ mindfulness-based stress reduction ของ  Kabatt-Zinn; mindfulness-based cognitve therapy ของ Segal, Wiliams และ Teasdale; dialectical behavioral therapy ของ Linehan

ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี ได้แก่

“ดนตรี มีทั้งเสริม และกดทับกิเลส อย่าตกหลุม พรางของมัน แม้แต่การสวดร้อง ท่องมนต์” (ศาสนา ดนตรี กวี ศิลปะ, ท่านพุทธทาสภิกขุ 2547) บทความนี้เป็นบทคัดย่อมาจากวิทยานิพนธ์ Master of Art (Musiktherapie) เรื่อง Achtsamkeit in der Musiktherapie ถ้าจะพูดกันตามความรู้สึกของคนไทยอย่างเรา ๆ แล้วดนตรีกับศาสนาพุทธ ฟังดูอาจจะขัดกันอยู่เสียหน่อย การฟังดนตรีนั้นยังถือเป็นสิ่งที่ต้องงดเว้น และยังถือเป็นข้อห้ามปฏิบัติในศีล 8 และศีล 10 อีกด้วยที่ว่า “นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ – ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากพูด ฟัง ฟ้อนรำ ขับรอ้งและประโคมเครื่องดนตรีต่าง ๆ และดูการเล่นที่เป็นข้าศึกแก่กุศล“ หากเป็นมุมมองจากทางตะวันตกนั้น ดนตรีเองก็เป็นเสมือนเครื่องมือหนึ่งในทางศาสนาที่มีไว้ เพื่อการเข้าถึงพระเจ้า แต่ในทางศาสนาพุทธนั้น ดนตรีกลับไม่มีบทบาทสำคัญ และไม่ถูกกล่าวถึงมากนักในพุทธประวัติ จะมีก็เพียงการอุปมาเปรียบเปรยเป็นปริศนาธรรมเปรียบเทียบให้เห็นระหว่างสายพิณกับการปฏิบัติในทางสายกลาง คือไม่ตึงและไม่หย่อนจนเกินไป

ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี ได้แก่

ดนตรีนั้นจะนำมาช่วยในการฝึกสติฝึกสมาธิได้อย่างไร จุดร่วมระหว่างดนตรีกับสตินั้น คือการอยู่กับปัจจุบันขณะ เสียงทุกเสียงที่เราได้ยินนั้น เรียกได้ว่าแทบจะทันทีที่คลื่นเสียงออกจากแหล่งกำเนิดเสียง เกิดขึ้นแล้วก็แทบจะหายไปในทันทีพร้อมกันกับเสียงใหม่ที่เข้ามาแทน เราจึงได้ยินเฉพาะเสียงที่เกิดขึ้นอยู่ ณ ปัจจุบันเท่านั้น ไม่ใช่เสียงที่เกิดขึ้นเมื่อสองนาทีก่อน หรือเสียงที่จะเกิดในอีกหนึ่งนาทีข้างหน้านี้ ในดนตรีนั้นไม่มีทั้งอดีตและอนาคตมีเพียงเสียงเพลงที่เราได้ยินอยู่ ณ ปัจจุบันขณะเท่านั้น ดนตรีจึงเปรียบเสมือนตัวแทนของการอยู่กับปัจจุบันได้เป็นอย่างดี แต่การเกิดความรู้สึก หรือความทรงจำในอดีตที่มีความผูกพันกับเพลงนั้น แล้วทำให้เรารู้สึกว่า บทเพลงหรือท่วงทำนองนั้นๆ มันยังคงดังก้องอยู่ในหัวตลอดเวลา สิ่งเหล่านี้ต่างล้วนเกิดจากการปรุงแต่งของจิต และการตีความของสมองของเราเอง จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่เมื่อเราฟังเพลง ๆ หนึ่งแล้ว เรารู้สึกติดอยู่ในความทรงจำที่ผ่านมา ทั้ง ๆ ที่จริง ๆ แล้วเสียงเพลงนั้นเกิดขึ้นแล้วก็หายไปแทบจะในทันที แต่เป็นจิตของเราเองที่ยังยึดติดอยู่กับอดีตของตัวเองซึ่งอาจจะเป็นเรื่องเศร้าหรือมีความสุขก็ได้ ด้วยเหตุนี้ การเลือกใช้ดนตรีเพื่อการฝึกสตินั้น จึงต้องใช้ความระมัดระวัง เพราะดนตรีเองก็เปรียบเสมือนดั่งดาบสองคมที่สามารถทำให้สงบ หรือแม้แต่ทำให้อารมณ์พลุ่งพล่านได้ในเวลาเดียวกัน

ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี ได้แก่

จุดประสงค์ของการใช้ดนตรีเพื่อการช่วยฝึกสมาธินั้น เพื่อช่วยผู้ที่มีปัญหาในการนั่งสมาธิในระยะแรก ๆ โดยเฉพาะกับผู้ที่คิดว่าการนั่งสมาธิเป็นเรื่องที่ทำได้ยาก เสียงดนตรีนั้นเป็นดั่งตัวช่วยผูกจิตและความคิดของผู้ฝึกให้อยู่กับปัจจุบันขณะโดยในขณะฟังจำเป็นต้องฟังแบบมีสติ คือไม่คล้อยตามไปตามอารมณ์ของเพลง ในขณะเดียวกันก็ต้องคอยพิจารณาอารมณ์และความคิดที่เกิดขึ้นในขณะที่ฟังเพลงหรือเสียงนั้นๆ โดยที่เพลงหรือเสียงที่ใช้ในการฝึกนั้นควรจะเป็นเพลงที่มีจังหวะไม่ช้ามาก ไม่ควรมีเนื้อร้องในตอนต้น ถ้าเป็นเพลงที่มีเนื้อร้องก็ควรเป็นเนื้อร้องที่มีคติแง่คิดในทางที่เป็นประโยชน์ไม่ควรเป็นเนื้อร้องที่เกี่ยวกับอารมณ์ทางโลก

ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี ได้แก่

นอกจากเพลงแล้วยังสามารถใช้ฝึกโดยใช้เสียงจากธรรมชาติได้ แต่ก็ขึ้นอยู่กับสถานที่ฝึกเป็นสำคัญว่าเอื้ออำนวยที่จะใช้เสียงจากธรรมชาติได้หรือไม่ นอกจากนี้การฝึกสติโดยการใช้ดนตรีช่วยฝึกนั้น เมื่อผู้ฝึกมีความชำนาญในการนั่งสมาธิแล้ว ก็ควรที่จะค่อย ๆ ลดการใช้เสียงในการฝึก เปลี่ยนไปพิจารณาลมหายใจ ร่างกายหรืออารมณ์ต่าง ๆ ตามหลักการฝึกสติในศาสานพุทธต่อไปในฉบับหน้าจะพูดถึงวิธีการฝึกสติและสมาธิโดยใช้ดนตรีว่าในทางปฏิบัตินั้นควรทำอย่างไร รวมไปถึงข้อแนะนำในการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมไปถึงข้อจำกัดในการใช้งานทางคลีนิกกับความแตกต่างในการฝึกตามหลักของชาวพุทธ

ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีเกี่ยวข้องกันอย่างไร

2) ศาสนา เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดผลทางดนตรี จะเห็นได้ว่าทั้งดนตรีไทยและดนตรีสากลล้วนมีความเกี่ยวข้องกับศาสนาทั้งสิ้น เช่น ศาสนาคริสต์ ในพระพุทธศาสนาก็มีการนำดนตรีมาใช้ประกอบพิธิกรรมต่างๆ เช่น อุปสมบท เทศน์มหาชาติ เป็นต้น

ศาสนาเป็นปัจจัยในการสร้างสรรค์ดนตรีอย่างไร

๒) ศาสนา เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ท าให้เกิดผลงานทางดนตรีจะเห็นได้ว่าทั้งดนตรีไทย และดนตรีสากลล้วนมีความเกี่ยวข้องกับศาสนาทั้งสิ้น เช่น ศาสนาคริสต์ เริ่มจากการสวดมนต์ ในโบสถ์แล้ววิวัฒนาการเป็นการขับร้องร่วมกับดนตรี ส่วนในพระพุทธศาสนาก็มีการน าดนตรี มาใช้ประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น อุปสมบท เทศน์มหาชาติเป็นต้น

ดนตรีมีความเกี่ยวข้องกับศาสนาอย่างไร

ดังนั้น ศิลปะทางดนตรี นับได้ว่ามีบทบาทส าคัญต่อศาสนา เพราะเสียงดนตรีสามารถสร้างความรู้สึก กล่อมเกลาจิตใจเพื่อให้เกิดกุศลได้และเสียงดนตรียังเร้าใจผู้ที่ได้ยินเสียงเกิดความรู้สึกศรัทธาส าหรับบุคคลที่มี ความเลื่อมใสอยู่แล้วให้เกิดความเลื่อมใสเพิ่มขึ้นไป และท าให้บุคคลที่ยังไม่เลื่อมใสท าให้เกิดความเลื่อมใส ขึ้นมาได้ต่อ ...

เทคนิคที่ใช้ในการสร้างสรรค์งานดนตรีประกอบด้วยอะไรบ้าง

การสร้างสรรค์งานดนตรี.
ขีดเขียนระบายสีตามจังหวะของดนตรี ซึ่งจะทำให้ได้ภาพเขียนที่แปลกตา ตามลีลาของจังหวะดนตรี.
ประดิษฐ์เครื่องดนตรีจากวัสดุท้องถิ่น ซึ่งจะได้เครื่องดนตรีที่ให้เสียงแปลก ๆ เช่น การนำเอาฝาน้ำอัดลมมาทำเป็นเครื่องเคาะจังหวะ เป็นต้น.