ความสัมพันธ์ระหว่างสุโขทัยกับประเทศ ต่างๆ

       ��������ѹ�������ҧ�չ�Ѻ�µ����ѡ�ҹ�ҧ����ѵ���ʵ�쾺��� ���������������⢷�µç�Ѻ�Ҫǧ����ǹ�ͧ�չ
�¨չ���觷ٵ���ѧ������¾�����������ǡغ�Ţ�ҹ ��١�ǡ����Ѻ���л����ê��Ե���¡�͹�֧������� �����
���¾�͢ع������˧ ��͢ع�ѧ��� ��о�͢ع�����ͧ ����ѭ���繾ѹ��Եõ�ͨչ���ǻ� �.�. 1830 ��л� �.�. 1835
��͢ع������˧���觤�зٵ�ش�á仨չ �¡Ѻ�չ�֧�դ�������ѹ��ѹ��������� ���������ѹ�������ҧ�չ�Ѻ��⢷��
�繤�������ѹ����к���óҡ�� ���Шչ���ٹ���ҧ�ͧ�ӹҨ������¸����š������ҧ�Թᴹ��� � ����դ�����ԭ
���¡��� ��ͧ�����������ѡ������������ͧ�Ҫ��óҡ���Ҷ��¨ѡ��ô��չ     �¨չ����������������ͤ�����ͧ��駴�ҹ
���ɰ�Ԩ��С�����ͧ    �ѧ��鹤�������ѹ�������ҧ�չ�Ѻ����ȵ�ҧ � �֧���Թ���������������ѹ���к���óҡ��
����¡��繻����˹�� ����դ�������ѹ����к���óҡ�áѺ�չ����§㹹����ҹ��

       ��õԴ��������ҧ�չ�Ѻ��⢷�¤Ҵ��Ҥ����ա�õԴ��ͷ�駷ҧ�����зҧ�� ��ҧ������ͷҧ���Ũ��繷������ҡ����
��Ф�������ѹ�������ҧ��⢷�¡Ѻ�Ҫǧ����ǹ�ͧ�չ��觼Ż���ª���ҹ������ͧ����ѡ �¨չ�����õ�����㹰ҹ�
�������� �ӹҨ �����⢷���������蹤��ҧ������ͧ ��ʹ������ǹ������ä�������ҧ��⢷����Шչ��ԭ���

ความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศในสมัยสุโขทัย

เสนอ
ผศ.ดร.อำพร ขุนเนียม

จัดทำโดย
นางสาว สรัลรัตน์ หนาแน่น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 5 เลขที่ 28

สารบัญ หน้า

เรื่อง 1

- อาณาจักรล้านนา
- แคว้นพะเยา 2
- อาณาจักรน่าน

- อาณาจักรลาว/ล้านช้าง
- อาจักรมอญ 3
- อาณาจักรขอม

- อาณาจักรนครศรีธรรมราช
- อาณาจักรอยุธยา 4
- ประเทศลังกา

- ประเทศจีน
4

5

5

6

7

7

1.ความสัมพันธ์ระหว่างประเทสในสมัยสุโขทัย
กับรัฐใกล้เคียง

1.อาณาจักรล้านนา

ในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระมหากษัตริย์ของอาณาจักร
ล้านนาได้แก่ พญามังราย เป็นพระสหายสนิทกันรวมทั้งพญางำ
เมือง แห่งเมืองพะเยา ได้ผูกมิตรไมตรีกันอย่างแน่นแฟ้น เพื่อ
ป้องกันการรุกรานจากพวกมองโกล นอกจากนั้น พ่อขุนรามคำแหง
มหาราชและพญางำเมือง ยังเสด็จขึ้นไปช่วย พญามังรายเลือก
ชัยภูมิที่เหมาะสมและวางผังเมืองแห่งใหม่ของอาณาจักรล้านนา
คือ เมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่
ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท) อาณาจักรสุโขทัยกับ
อาณาจักรล้านนา ได้มีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมทาง พระพุทธ
ศาสนานิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ โดยพระเจ้ากือนาแห่ง
อาณาจักร ล้านนา ได้แต่งทูตมาขอพระสุมนเถระ ซึ่งเป็นพระภิกษุ
ของอาณาจักรสุโขทัย ขึ้นไปสืบทอด และเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่
อาณาจักรล้านนา
ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๒ ตรงกับสมัยสมเด็จพระบรม
ราชาธิราชที่ ๑ (ขุนหลวงพระงั่ว) กษัตริย์แห่ง อาณาจักรอยุธยา ได้
ยกทัพไปตีหัวเมืองหลายแห่ง และพระมหาธรรมราชาที่ ๒ ทรงขอ
กำลังทัพสนับสนุนจากเจ้าเมืองล้านนาในขณะนั้น ก็ได้รับการช่วย
เหลือ เป็นอย่างดีและในขณะนั้นอาณาจักรสุโขทัยมีกำลังอ่อนแอ
มาก เกรงว่า อาณาจักรล้านนา จะเข้ามาครอบครองอาณาจักร
สุโขทัย พระมหาธรรมราชาที่ ๒ จึงยกทัพเข้าโจมตีอาณาจักรล้านนา
จนได้รับความเสียหายมาก ส่งผลให้ ความสัมพันธ์ระหว่าง สุโขทัย
กับล้านนายุติลง

1

1.ความสัมพันธ์ระหว่างประเทสในสมัยสุโขทัย
กับรัฐใกล้เคียง

2.แคว้นพะเยา

แคว้นพะเยาหรือ นครรัฐพะเยาเป็นนครรัฐอิสระในจังหวัด
พะเยา ตั้งอยู่ใกล้น้ำแม่อิงซึ่งไหลลงมาจากเทือกเขาผีปันน้ำ
เป็นอาณาจักรร่วมสมัยเดียวกับยุคปลายของหิรัญนครเงินยาง
เชียงแสน
แคว้นพะเยาเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในรัชกาลพญางำเมือง เคยขยาย
อำนาจปกครองนครรัฐน่านระยะหนึ่ง ทั้งยังมีความสัมพันธ์อันดีกับ
อาณาจักรล้านนา และอาณาจักรสุโขทัย แต่ภายหลังในช่วงปี พ.ศ.
1877-1879 พะเยาถูกผนวกเข้ากับล้านนาในสมัยพญาคำฟูที่เข้า
ปล้นพะเยาจากความร่วมมือของนครรัฐน่าน
เนื่องจากพระยางำเมืองแห่งแคว้นพะเยาเป็นพระสหายกับ
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช อาณาจักรสุโขทัยกับแคว้นพะเยาจึง
เป็นมิตรที่ดีต่อกัน มีการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมและ
มีการติดต่อค้าขายกัน เส้นทางการค้าจากกรุงสุโขทัยไปเมืองพะเยา
เชียงราย เชียงแสน เป็นเส้นทางการค้าสำคัญ
เส้นทางหนึ่ง ทั้งยังเป็นทางผ่านของสินค้าจากจีนเข้ามาสู่สุโขทัย
ทางบกอีกด้วย

2

1.ความสัมพันธ์ระหว่างประเทสในสมัยสุโขทัย
กับรัฐใกล้เคียง

3.อาณาจักรน่าน

ในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราชระบุว่า น่านอยู่ในฐานะ
ประเทศราชของสุโขทัย ความสัมพันธ์ส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์ที่ดี
ต่อกัน ทั้งมีการช่วยเหลือกันยามศึกสงคราม อุปถัมภ์ค้ำชูพุทธ
ศาสนาระหว่างกัน จนปรากฏพุทธศิลป์แบบ สุโขทัยในเมืองน่าน
จำนวนมาก และมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติผ่านทางการเสก
สมรส

ความสัมพันธ์ทางเครือญาติ
ผ่านทางการเสกสมรส

พระราชโอรสของพระมหาธรรม ความสัมพันธ์
ราชาที่ 1 (ลิไทย) ได้เสกสมรมกับ ทางวัฒนธรรม
ธิดาของพระยาคำตัน เจ้าผู้ครอง ในงานศิลปกรรม
นคร น่าน ความสัมพันธ์จึง
แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ให้ความช่วยเหลือ
กันและกันมาโดยตลอด

ความสัมพันธ์กับสุโขทัยยังปรากฏในงานศิลปกรรมของเมืองน่าน 3
ที่เด่นชัดคือ ศิลปะของพระพุทธรูปที่ปรากฏในเมืองน่านได้รับอิทธิพล
มาจากสุโขทัย เช่น การสร้างพระพุทธรูป ๕ องค์ของพญาสารผาสุม
กษัตริย์น่าน เมื่อ พ.ศ.๑๙๗๐ เป็นพระพุทธรูปปางลีลา ๔ องค์ และ ปาง
ประทานอภัย ๑ องค์

1.ความสัมพันธ์ระหว่างประเทสในสมัยสุโขทัย
กับรัฐใกล้เคียง

4.อาณาจักรลาว/ล้านช้าง

อาณาจักรสุโขทัยได้มีความสัมพันธ์กับอาณาจักรลาวตั้งแต่สมัย
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ในสมัยนี้มีบางเมืองของลาวอยู่ภายใต้
การปกครองของสุโขทัย เมื่อสิ้นสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
อาณาจักรลาวก็ได้รวบรวมหัวเมืองเหล่านั้นขึ้นเป็นอิสระ ตั้ง
อาณาจักรขึ้น เรียกว่า อาณาจักรล้านช้าง มีอำนาจเข้มแข็งและได้
ขยายอาณาเขตมาถึงสุโขทัย ทำให้ขอมไม่กล้ามารุกรานไทย ทำให้
อาณาจักรสุโขทัยและอาณาจักรลาวมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน

5.อาณาจักรมอญ

อาณาจักรสุโขทัยมีความสัมพันธ์กับอาณาจักรมอญในสมัย
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช เพราะในขณะนั้นพระเจ้าฟ้ารั่ว (มะกะ
โท) กษัตริย์มอญอยู่ในฐานะเป็นพระราชบุตรเขยของพ่อขุน
รามคำแหงมหาราช พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพยายามส่งเสริม
และสนับสนุนให้มะกะโท จนได้เป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรมอญ
และพระราชทานนามว่า พระเจ้าฟ้ารั่ว

4

1.ความสัมพันธ์ระหว่างประเทสในสมัยสุโขทัย
กับรัฐใกล้เคียง

6.อาณาจักรขอม

อาณาจักรขอมซึ่งเคยมีอำนาจอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำโขงและลุ่มน้ำ
เจ้าพระยา ครั้นในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชขยายอำนาจลงไป
ทางลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง เข้าโจมตีอาณาจักรขอมและทำลาย
อาณาจักรขอมแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาสิ้นสุดลงได้

7.อาณาจักรนครศรีธรรมราช

อาณาจักรสุโขทัยมีความสัมพันธ์กับอาณาจักรนครศรีธรรมราช
ตั้งแต่สมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ที่ได้ติดต่อกับกษัตริย์ของ
นครศรีธรรมราชเพื่อขอพระพุทธสิหิงค์จากลังกามาประดิษฐานที่
สุโขทัย และในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงได้นำพระพุทธ
ศาสนานิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์จากเมืองนครศรีธรรมราชมา
ประดิษฐานในกรุงสุโขทัย ทำให้อาณาจักรทั้งสองมีความผูกพันกัน
อย่างใกล้ชิด

5

1.ความสัมพันธ์ระหว่างประเทสในสมัยสุโขทัย
กับรัฐใกล้เคียง

8.อาณาจักรอยุธยา

เมื่อสมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงก่อตั้งอาณาจักรอยุธยาใน
พ.ศ. 1893 โดยได้รับการสนับสนุนจากแคว้นละโว้และ
สุพรรณภูมิ ทำให้อยุธยาเข้มแข็งขึ้นและไม่ขึ้นกับสุโขทัย
ในช่วงแรกของการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา อาณาจักร
อยุธยากับสุโขทัยมีการสู้รบกันเป็นบางครั้ง จนกระทั่งถึง
สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 2 อาณาจักรสุโขทัยก็ตกเป็น
ประเทศราชของอาณาจักรอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 1921 ต่อมาใน
สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสยลือไทย) สุโขทัยได้
ประกาศอิสรภาพจากอยุธยาได้สำเร็จ แต่เมื่อพระองค์
สวรรคตก็เกิดความวุ่นวายขึ้น เนื่องจากพระราชโอรสของ
พระมหาธรรมราชาที่ 3 แย่งชิงราชสมบัติกันเอง สมเด็จ
พระอินทราธิราชของอยุธยาก็ยกทัพไปปราบ และรวม
อาณาจักรสุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา
นับว่าเป็นการสิ้นสุดของอาณาจักรสุโขทัยนับตั้งแต่นั้น
เป็นต้นมา

6

2.ความสัมพันธ์ระหว่างประเทสในสมัยสุโขทัย
กับรัฐห่างไกล

9.ประเทศลังกา

ในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ได้มีความสัมพันธ์กับลังกา
ในทางพระพุทธศาสนา โดยเจ้าเมืองได้ถวายพระพุทธสิหิงค์
แก่สุโขทัย และในสมัยต่อมาได้มีพระเถระจากสุโขทัยเดิน
ทางไปศึกษาพระไตรปิฎกที่ลังกา นอกจากนี้ได้นิมนต์พระ
อุปัชฌาย์ชาวลังกามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์
ในสุโขทัย

10. ประเทศจีน

อาณาจักรสุโขทัยมีความสัมพันธ์กับอาณาจักรจีนในสมัย
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช โดยกษัตริย์จีนได้ส่งพระ-
ราชสาสน์มายังสุโขทัย พ่อขุนรามคำแหงมหาราชจึงแต่ง
ราชทูตนำเครื่องราชบรรณาการไปเมืองจีน ทำให้สุโขทัย
มีไมตรีอันดีกับจีนและได้ติดต่อค้าขายกับจีน ต่อมาได้นำ
ศิลปะการทำเครื่องสังคโลกมายังสุโขทัย

7


อาณาจักรสุโขทัยมีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศใดบ้าง

พ่อขุนรามคำแหงได้ส่งคณะทูตชุดแรกไปจีน ไทยกับจีนจึงมีความสัมพันธ์กันตั้งแต่นั้นมา แต่ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับสุโขทัย เป็นความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการ เพราะจีนเป็นศูนย์กลางของอำนาจและอารยธรรมโลกท่ามกลางดินแดนอื่น ๆ ที่มีความเจริญ

อาณาจักรสุโขทัยมีความสัมพันธ์กับต่างประเทศอย่างไรบ้าง

ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรสุโขทัยกับจีน มีความสัมพันธ์ในลักษณะการค้า ระบบรัฐบรรณาการ โดยเริ่มในสมัย พ่อขุนรามคำแหงมหาราช สุโขทัยได้ส่ง คณะทูตพร้อมกับเครื่องราชบรรณาการไปจีน จากการที่สุโขทัยมีความสัมพันธ์ กับจีน ทำให้สุโขทัยได้รับประโยชน์จากจีนหลายอย่าง เช่น ทางการค้า ความรู้เรื่องการเดินทะเล เรียนรู้เรื่องเทคนิคการทำ ...

อาณาจักรใดมีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในด้านศาสนากับอาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรล้านนา ได้มีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมทาง พระพุทธ ศาสนานิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ โดยพระเจ้ากือนาแห่ง อาณาจักร ล้านนา ได้แต่งทูตมาขอพระสุมนเถระ ซึ่งเป็นพระภิกษุ ของอาณาจักรสุโขทัย ขึ้นไปสืบทอด และเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่

อาณาจักรสุโขทัยมีความสัมพันธ์กับลังกาในด้านใด

ความสัมพันธ์กับลังกา ลังกาเป็นเกาะอยู่ทางใต้ของ อินเดียในมหาสมุทรอินเดีย สุโขทัยมีความสัมพันธ์กับลังกา ด้านวัฒนธรรม เพราะในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรง นิมนต์พระมหาเถระสังฆราชจากเมืองนครศรีธรรมราชพร้อม คณะภิกษุสงฆ์น าเอาพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทลัทธิลังกา วงศ์มาประดิษฐานในสุโขทัย