จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส

หลายคนคงคุ้นหูกับคำพูดนี้... ทั้งที่จริงแล้ว เครดิตบูโรไม่ได้เป็นผู้จัดแบล็กลิสต์ของลูกหนี้ แต่จะทำหน้าที่รวบรวมประวัติการขอและการชำระหนี้ของลูกหนี้ตามข้อเท็จจริงว่าเป็นเช่นใด หากลูกหนี้มีประวัติการชำระเงินดี จ่ายเงินตรงเวลา ก็จะสร้างความเชื่อมั่นให้สถาบันการเงินพิจารณาอนุมัติสินเชื่อได้เร็วยิ่งขึ้น แต่จะอนุมัติหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับนโยบายและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาสินเชื่อของสถาบันการเงินต่าง ๆ ซึ่งจะพิจารณาข้อมูลอื่น ๆ ประกอบ เช่น อาชีพ รายได้ หลักประกัน ผู้ค้ำประกัน ความสามารถในการชำระหนี้ เป็นต้น

ในปัจจุบันคุณสามารถตรวจสอบข้อมูลการเป็นหนี้ของตนเองว่า ประวัติการชำระหนี้ถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ เพื่อให้พร้อมสำหรับการขอสินเชื่อกับสถาบันการเงินต่าง ๆ ในอนาคต โดยติดต่อได้ที่ศูนย์ตรวจเครดิตบูโรหรือตรวจสอบผ่านช่องทางออนไลน์ได้ด้วยตนเอง >> คลิกที่นี่

หากคุณมีประวัติเคยค้างชำระหนี้อยู่ในข้อมูลของเครดิตบูโร ถึงแม้ว่าต่อมาจะชำระหนี้หมด แต่ประวัติที่เคยผิดนัดชำระหนี้จะคงอยู่ในข้อมูลเครดิตบูโรไปอีก 3 ปี ดังนั้น ทางที่ดี... คุณควรชำระหนี้ให้ครบถ้วนและตรงเวลาทุกครั้ง เพราะ “เครดิต” เปรียบเหมือน “ความดี” คือ “สร้างไม่ง่าย แต่ถูกทำลายไม่ยาก” หมั่นดูแลรักษาเครดิตของคุณให้เหมือนกับการรักษาความดี แล้วชีวิตทางการเงินของคุณจะมีความสุขขึ้นอีกเยอะเลย

สำหรับใครที่สนใจเรียนรู้เทคนิคบริหารจัดการหนี้ ให้มีเงินเหลือใช้ และสามารถเก็บออมเพื่อสร้างความมั่นคงในชีวิตได้


สามารถเรียนรู้เพิ่มเติมผ่าน e-Learning หลักสูตร “WMD1101 : หมดหนี้มีออม” ฟรี!!! >> คลิกที่นี่

ให้คะแนนเนื้อหานี้กี่คะแนน

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
 การเปลี่ยนสถานภาพผู้อยู่ชั่วคราวเมื่อมีการสมรส

ในกรณีที่คนต่างชาติสมรสกับคนเกาหลี และอาศัยอยู่ในประเทศเกาหลีในฐานะคู่สมรสของคนเกาหลี

ดังนั้น ท่านสามารถขอเปลี่ยนสถานภาพผู้อยู่ชั่วคราวเป็นผู้อยู่อาศัย (F-2) ได้ ซึ่งอนุญาตให้เฉพาะคู่สมรสของคนเกาหลี

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
สถานภาพผู้อยู่อาศัยของผู้เข้าเมืองเพื่อการสมรส

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
คู่สมรสของคนสัญชาติเกาหลี

- เมื่อคนต่างชาติสมรสกับคนสัญชาติเกาหลี จะมีฐานะเป็นคู่สมรสของคนสัญชาติเกาหลี

- ถ้าคนต่างชาติที่สมรสกับคนสัญชาติเกาหลีในสาธารณรัฐเกาหลี ได้ขอเปลี่ยนสถานภาพจากผู้อยู่ชั่วคราวเป็นผู้อยู่อาศัย (F-2) แล้วไม่จำเป็นต้องขอการเปลี่ยนสถานภาพใดๆ ในประเทศเกาหลีอีก

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
คุณสมบัติสำหรับการขอย้ายถิ่นฐานอันเนื่องมาจากการสมรส(F-6)

- วีซ่าการขอย้ายถิ่นฐานอันเนื่องมาจากการสมรส(F-6)จะออกให้แก่บุคคลผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมตรงตามข้อกำหนดต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ (ภาคผนวก 1 ของประกาศบังคับใช้รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง):

1. คู่สมรสของชาวเกาหลี

2. บุคคลใดก็ตามที่ได้รับอนุญาตหรือได้รับสิทธิจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมให้มีฐานะเป็นบิดาหรือมารดาผู้เลี้ยงดูบุตรชายหรือบุตรหญิงที่เกิดมา หลังจากการสมรสกับคู่สมรสชาวเกาหลี (รวมถึงการสมรสตามระบบกฎหมายจารีตประเพณี)

3. บุคคลใดก็ตามที่ได้รับการรับรองจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมว่า บุคคลนั้นเป็นคู่สมรสของบุคคลที่มีสัญชาติเกาหลี ซึ่งไม่สามารถรักษาสถานภาพการสมรสตามปกติไว้ได้ อันเนื่องมาจากการเสียชีวิตของคู่สมรสชาวเกาหลี การสูญหาย หรือสาเหตุอื่นๆ ที่ทำให้คู่สมรสที่เป็นผู้ยื่นคำร้องไม่สามารถดำเนินการได้ขณะที่ยังพำนักอาศัยอยู่ในประเทศเกาหลี

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
สถานภาพผู้อยู่ชั่วคราวของคู่สมรสของคนสัญชาติเกาหลี

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
ใบอนุญาตผู้อยู่อาศัย (F-6)

- ใบอนุญาตผู้อยู่อาศัย (F-6) คือใบอนุญาตให้อยู่อาศัยชั่วคราว ที่อนุญาตให้แก่คนต่างชาติที่สมรสกับคนสัญชาติเกาหลี และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลนั้น

-ถ้าท่านมีใบอนุญาตผู้อยู่อาศัย (F-6) ท่านจะไม่พบกับข้อจำกัดในเรื่องการจ้างงาน และถ้าท่านอยู่ในประเทศเกาหลี ด้วยใบอนุญาตผู้อยู่อาศัย (F-6) เป็นเวลา 2 ปี หรือนานกว่านั้น ท่านมีสิทธิที่จะขอเปลี่ยนสถานภาพเป็นผู้อยู่อาศัยถาวร (F-5)ได้

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
ขั้นตอนการทำจดหมายเชิญเพื่อสมรสอยู่อาศัยร่วมกันสำหรับคู่สมรสต่างชาติ

- ชาวต่างชาติที่อพยพเพื่อสมรส (F-6) เพื่อที่จะออกเอกสารรับรองการสมรสอยู่อาศัยร่วมกันนั้น จะต้องมีเอกสารเชิญจากคู่ครอง อย่างเป็นทางการ(「กฏหมายกองตรวจคนเข้าเมือง ระเบียบการดำเนินการ」มาตรา 9ลำดับที่ 4วรรค 1).

- เพื่อการขอออกวีซ่า คู่สมรสหรือผู้ที่เชิญชาวต่างชาติที่ต้องการขอออกวีซ่าแต่งงาน(F-6)และมีคุณสมบัติตามเงื่อนไขดังกล่าวที่เกี่ยวข้อง จะต้องจบหลักสูตรการอบรมตามโปรแกรมที่ทาง รมต.ว่าการกระทรวงยุติธรรมจัดขึ้น หรือยื่นหนังสือรับรองและกรอกหมายเลขใบประกาศนีบัตรการจบหลักสูตรการอบรมโปรแกรมแนะนำการสมรสข้ามชาติ [「ระเบียบการบังคับใช้ กฎหมายการควบคุมคนเข้าเมืองมาตรา9(4)ววรรค2และ 「ประกาศการดำเนินการ และผู้จบหลักสูตรโปรแกรมแนะนำการสมรสข้ามชาติ」(ประกาศกระทรวงยุติธรรม ฉบับที่2014-242, ออก.บังคับใช้2014. 7. 1.)]

1. คู่สมรสชาวเกาหลีที่ต้องการเชื้อเชิญชาวต่างชาติในประเทศ ที่มีเปอร์เซ็นต์ในการหย่าร้างสูง หรือ เป็นประเทศที่มีการขอใช้สัญชาติเกาหลีมาก(จีน,เวียดนาม, ฟิลิปปินส์,กัมพูชา,มองโกเลีย,อุซเบกิสถาน,ไทย ถือเป็น “ประเทศพิเศษจำเพาะ”) เพื่อวัตถุประสงค์ในการแต่งงาน

2. รวมถึงสตรีชาวเกาหลีที่ต้องการแต่งงานกับชาวต่างชาติ ที่อยู่ในประเทศพิเศษจำเพาะข้างต้นด้วย

-ผู้ที่ได้สิทธิในการยกเว้นการอบรมโปรแกรมแนะนำ การสมรสข้ามชาติ

1. กรณีที่มีการคบหาเป็นเวลาติดต่อกัน ตั้งแต่ 45วันขึ้นไป เนื่องจากได้เข้าไปศึกษาหรือถูกส่งตัวไปทำงานในประเทศ ที่ 3หรือประเทศของคู่สมรสที่เป็นชาวต่างชาตินั้น

2. กรณีที่ผู้เชื้อเชิญได้มีการคบหากับคู่สมรสชาวต่างชาติ ที่ได้พำนักใน ประเทศเกาหลีใต้อย่างถูกกฎหมายมากกว่า 91วันขึ้นไปและมีการขึ้นทะเบียนชาวต่างชาติ

3. กรณีที่จำเป็นต้องให้การยินยอม เนื่องจากการตั้งครรภ์, การคลอดบุตรของคู่สมรสหรือเนื่องจากหลักมนุษยธรรมอื่นๆ

- เนื่องจากการขอวีซ่าเพื่อวัตถุประสงค์ในการสมรส จะต้อง ได้รับการตรวจสอบและพิจารณาตามเงื่อนไขดังกล่าวต่อไปนี้(「ระเบียบการบังคับใช้กฎหมายควบคุมคนเข้าเมืองอ้างอิงจากเนื้อหาหลักของมาตรา9(2) และมาตรา9(5) วรรค1)

1. ตรวจสอบว่ามีหนังสือเดินทางที่ยังมีอายุหรือไม่

2. ตรวจสอบว่าเป็นผู้ได้รับการปฏิเสธหรือห้ามเข้าเมืองตาม 「กฎหมายควบคุมคนเข้าเมือง」ตามเงื่อนไขของ มาตรา11หรือไม่

3. ตรวจสอบว่าเป็นผู้มีสิทธิพำนักตามที่ตารางประกอบที่ 1ของ「พ.ร.บ.ควบคุมคนเข้าเมือง」กำหนดไว้หรือไม่

4. ตรวจสอบว่าวัตถุประสงค์ในการเข้าเมืองสอดคล้องกับสถานะการพำนักตามที่ตารางประกอบที่ 1ของ「พ.ร.บ.ควบคุมคนเข้าเมือง」กำหนดไว้หรือไม่

5. ตรวจสอบว่าอยู่ในเกณฑ์ที่รมต.กระทรวงยุติธรรมได้กำหนดไว้หรือไม่ ตามแต่ละสถานะพำนักนอกเหนือจากที่ตารางประกอบที่ 1ของ「พ.ร.บ.ควบคุมคนเข้าเมือง」กำหนดไว้

6. เงื่อนไขต่อไปนี้เกี่ยวกับผู้เชื้อเชิญและชาวต่างชาติที่ต้องการ ขอออกวีซ่าเพื่อวัตถุประสงค์ในการสมรส

√ ตรวจสอบความประสงค์ที่จะสมรสและความเป็นมาในการ คบหากัน

√ ตรวจสอบว่าได้มีการสมรสกันอย่างลุล่วงตามกฎหมาย ของประเทศฝ่ายตรงข้ามแล้วหรือไม่

√ ตรวจสอบว่าผู้เชื้อเชิญได้เคยเชิญคู่สมรสอื่น ภายในระยะ เวลา5ปีที่ผ่านมาหรือไม่

√ ตรวจสอบว่าผู้เชื้อเชิญมีรายได้ตามที่ระบุและประกาศโดยกระทรวงยุติธรรม ที่พิจารณาถึงรายได้เฉลี่ยมาตรฐานตามมาตรา 2.11 ของกฎหมายคุ้มครองการดำรงชีวิตขั้นพื้นฐานของประชากร

√ ตรวจสอบข้อมูลประวัติอาชญากรรมและสุขภาพของ ทั้งสองประเทศ

√ ตรวจสอบว่าผู้ได้รับการเชื้อเชิญสามารถใช้ภาษาเกาหลี ได้มากกว่าเกณฑ์พื้นฐานหรือไม่(กรณีนี้ต้องได้รับการ ตรวจสอบและพิจารณาจากเกณฑ์ที่ รมต.กระทรวงยุติธรรม ได้กำหนดและประกาศไว้อย่างเป็นรูปธรรม)

√ ตรวจสอบว่าได้มีการขยับขยายที่อยู่อาศัยนั้น เพื่อให้คู่สมรสสามารถอยู่อาศัยร่วม กันได้อย่างต่อเนื่องและเป็นไปตามปกติหรือไม่(กรณีเป็นห้องเช่า,โรงแรม,ไวนิลเฮ้าส์ หรือที่อยู่อาศัยอื่นๆ ที่ดูแล้วเห็นว่าคู่สมรสนั้นไม่สามารถอาศัยอยู่ร่วมกันอย่าง ต่อเนื่องได้ ก็จะไม่ถือว่าเป็นการขยับขยายที่อยู่อาศัย)

√ ตรวจสอบว่าผู้เชื้อเชิญได้มีการได้สัญชาติตาม「กฎหมายสัญชาติ」มาตรา6วรรค2ข้อ1หรือข้อ2 หรือมีการได้วีซ่าถาวร(F-5) เกิน3ปีแล้วหรือไม่ ตามตารางประกอบที่ 1ของ「พ.ร.บ.ควบคุมคนเข้าเมือง」28(3)วีซ่าถาวร(F-5)

※ แต่ทว่า กรณีที่ผู้เชิญและผู้รับเชิญมีบุตรด้วยกัน ตามที่รมต.กระทรวงยุติธรรมกำหนดไว้สามารถได้รับการยกเว้นการพิจารณา ตามเงื่อนไขข้างต้นเป็นบางส่วน (「ระเบียบการบังคับใช้กฎหมายควบคุมคนเข้าเมือง」เงื่อนไขมาตรา9ข้อ5วรรค1)

-กรณีความสามารถทางภาษาเกาหลีของคู่สมรสต่างชาติ

· การขอออกเอกสารอพยพเพื่อสมรสโดยเงื่อนไขความสามารถทางภาษาเกาหลีสูงกว่าระดับต้นจะต้องดำเนินการดังนี้[「ประกาศเงื่อนไขความสามารถทางภาษาเกาหลีสูงกว่าระดับต้น」(กระทรวงยุติธรรมโกชีหมายเลข 2014-30, 2014. 2. 6. กงโพ, เริ่มใช้ 2014. 4. 1.)].

√ ผู้ที่ต้องการออกเอกสารอพยพเพื่อการสมรสนั้น จะต้องมีเงื่อนไขเกี่ยวกับภาษาเกาหลีข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้.

1. มีใบรับรองการสอบความสามารถทางภาษาเกาหลีจากหน่วยงานของกระทรวงศึกษาธิการ สถาบันอบรมภาษาแห่งชาติ ความสามารถทางภาษาเกาหลี (TOPIK) สูงกว่าระดับต้น ระดับ 1 ขึ้นไป

2. มีใบรับรองสำเร็จหลักสูตรภาษาเกาหลีเบื่องต้น จากหน่วยงานเอกชน ที่ได้รับการรับรองจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุติธรรม

※ ตัวอย่างเช่น) สำเร็จการศึกษาจาก แผนกอักษร ศูนย์ภาษาเซจง ระดับ 1 (120-150ชั่วโมง)

· กรณีที่ไม่ต้องมีเอกสารรับรองด้านภาษาเกาหลี

√ กรณีที่ไม่ต้องประเมินภาษาเกาหลี ตัดสิน ยืนยันความสามารถโดยการสื่อสาร

- จบการศึกษาทางด้านภาษาเกาหลี

- เป็นคนต่างชาติที่มีเชื้อสายเกาหลี

- เคยอยู่อาศัยในประเทศเกาหลีนานมากกว่า 1 ปี ขึ้นไป

- ผู้ต้องการออกเอกสารเชิญเคยอยู่อาศัยในประเทศของคู่สมรสนานเกิน 1 ปีขึ้นไป

- คู่สมรสทั้ง 2 ฝ่าย เคยอาศัยอยู่ในประเทศเดียวกัน เกิน 1 ปีขึ้นไป

- กรณีที่คู่สมรสทั้ง 2 ฝ่าย ใช้ภาษาแม่เป็นภาษาเดียวกัน (กรณีที่ผู้ต้องการออกเอกสารเป็นผู้ขอโอนสัญชาติ โดยก่อนโอน สัญชาตินั้น ใช้ภาษาแม่เป็นภาษาเดียวกันกับคู่สมรสอีกฝ่าย)

- คู่สมรสทั้ง 2 ฝ่าย สามารถสื่อสารภาษาอื่นเป็นภาษาเดียวกันได้อย่างเชี่ยวชาญ (แต่, กรณีนี้อาจมีการประเมินความ สามารถทางภาษา เพิ่มเติมได้)

√ กรณีที่ผู้ยื่นขอเอกสารและคู่สมรสต่างชาติ มีบุตรร่วมกัน

√ กรณีอื่นๆ ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เห็นว่า เหมาะสมและยอมรับเป็นกรณีพิเศษ

· วิธีการยื่นเรื่องให้ยอมรับตามเงื่อนไขภาษาเกาหลี

√ แนบเอกสารรับรองความสามารถทางภาษาเกาหลี หรือใบรับรองการจบการศึกษา

√ ยื่นเอกสารที่ได้รับการยอมรับตามเงื่อนไข ที่ได้รับการยกเว้น

- กรณีรายได้ของผู้ต้องการออกเอกสาร

· กรณียื่นเอกสารเชิญคู่สมรสชาวต่างชาติเพื่ออพยพนั้น ผู้ขอจะต้องมีรายได้ภายใน 1 ปีที่ผ่านมา(นับย้อนจากวันที่ยื่นเอกสาร) ไม่ต่ำกว่าที่กำหนดไว้ดังต่อไปนี้ (「ประกาศเงื่อนไขระดับรายได้สำหรับออกเอกสารอพยพเพื่อการสมรส」).

ประเภท

ครอบครัว 2คน

ครอบครัว 3คน

ครอบครัว 4คน

ครอบครัว 5คน

ครอบครัว 6คน

ระดับรายได้

16,599,618

วอน

21,714,114

วอน

26,348,604

วอน

31,223,094

วอน

36,097,590

วอน

※ สำหรับครอบครัวที่มีสมาชิก 7คนนั้น เพิ่ม 1 คน รายได้ 4,874,490วอน

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
การขอเปลี่ยนสถานภาพผู้อยู่ชั่วคราว

• เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง

- ถ้าท่านต้องการเปลี่ยนสถานภาพผู้อยู่ชั่วคราวของท่านเป็นผู้อยู่อาศัย (F-6) ท่านหรือตัวแทนของท่านควรยื่นคำร้องดังกล่าว ต่อสำนักงานควบคุมคนเข้าเมือง (หรือสำนักงานสาขา) ที่มีอำนาจครอบคลุมการอยู่ชั่วคราวของท่าน (มาตรา 24 (1) 「รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)

• เอกสารที่ต้องใช

- สำหรับการขอเปลี่ยนสถานภาพผู้อยู่ชั่วคราวของท่าน ท่านต้องยื่นเอกสารดังต่อไปนี้ พร้อมแบคำขอเปลี่ยนสถานภาพผู้อยู่ชั่วคราว (แบบฟอร์ม 41 「ระเบียบบังคับใช้ตามรัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)

1. หนังสือเดินทาง และบัตรลงทะเบียนคนต่างด้าวของท่าน

2. ใบสำคัญเกี่ยวกับการสมรสของคู่สมรสของท่าน

3. สำเนาที่มีการรับรองของการจดทะเบียนผู้อยู่อาศัย (ทะเบียนบ้าน) ของคู่สมรสของท่าน

4. หนังสือค้ำประกันเอกลักษณ์ส่วนบุคคลของคู่สมรสของท่าน

5. เอกสารแสดงฐานทางการเงินของคู่สมรสของท่าน (ใบสำคัญการจ้างงาน สัญญาเช่าบ้าน สำเนาที่มี การรับรองทะเบียนอสังหาริมทรัพย์ ใบรับรองเงินคงเหลือในบัญชีธนาคาร) และ

6. ใบสำคัญการสมรสออกให้อย่างถูกต้องโดยเจ้าหน้าที่ของสัญชาติของท่าน (เช่นใบสำคัญการสมรส สำเนาที่มีการรับรองของทะเบียนครอบครัว ทะเบียนผู้อยู่อาศัย)

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
อยู่อาศัยถาวร (F-5)

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
ผลประโยชน์ของสถานภาพการเป็นผู้อยู่อาศัยถาวร (F-5)

-คนต่างชาติผู้ถือใบอนุญาตผู้อยู่อาศัย (F-6) เป็นเวลา 2 ปี หรือนานกว่าภายหลังการสมรสกับคนสัญชาติเกาหลีอาจยื่นเรื่องขอแปลงสัญชาติตามกระบวนกการขอแปลงสัญชาติเพื่อให้ได้สัญชาติของสาธารณรัฐเกาหลีในกรณีที่ท่านต้องการที่จะคงสัญชาติเดิมของท่าน หรือการสมรสของท่านไม่สามารถดำเนินต่อไปได้ เนื่องจากเหตุเช่นการเสียชีวิต หรือการสูญหายของคู่สมรสของท่าน และ/หรือการหย่า หรือการแยกทางกัน ท่านสามารถขอเปลี่ยนสถานภาพผู้อยู่ชั่วคราวเป็นผู้อยู่อาศัยถาวร (F-5) ได้ ซึ่งเป็นสถานภาพที่ใกล้เคียงกับสัญชาติเกาหลีที่สุดแทนการขอแปลงสัญชาติ

- เมื่อท่านได้รับใบอนุญาตผู้อยู่อาศัยถาวร (F-5) ท่านจะได้รับผลประโยชน์ดังต่อไปนี้

1. ท่านไม่จำเป็นต้องขอขยายระยะเวลาของการอยู่ชั่วคราวตราบเท่าที่ท่านถือใบอนุญาตผู้อยู่อาศัยถาวร (F-5)

2. ท่านได้รับการยกเว้นจากความผูกพันที่จะต้องขออนุญาตเดินทางเข้ามาใหม่ (แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 30 (1) 「รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)

3. ถ้าท่านมีอายุ 19 ปี หรือมากกกว่า และท่านได้ใบอนุญาตผู้อยู่อาศัยถาวร (F-5) มาแล้ว 3 ปี หรือมากกว่า และชื่อของท่านอยู่ในทะเบียนคนต่างด้าวของรัฐบาลท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่จัดทำทะเบียนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ท่านจะมีสิทธิในการลงคะแนนเลือกตั้งหัวหน้าของรัฐบาลท้องถิ่นของท่าน และสมาชิกของคณะกรรมการท้องถิ่น (มาตรา 15 (2) 2 「รัฐบัญญัติว่าด้วยการเลือกตั้งเจ้าหน้าที่สาธารณะ」)

4. ยกเว้นในกรณีดังต่อไปนี้ ท่านไม่อาจถูกเนรเทศออกจากสาธารณรัฐเกาหลี (มาตรา 46 (2「รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)

ก. ถ้าท่านเข้าไปเกี่ยวข้องกับการก่อจลาจล หรือ รุกรานจากต่างประเทศ ตามที่บัญญัติไว้ใน「 รัฐบัญญัติว่าด้วยการทำอาชญากรรม」

ข. ถ้าท่านได้รับการปล่อยตัวหลังจากถูกพิพากษาให้จำคุกโดย หรือ ปราศจากอาชีพเป็นเวลาอย่าง 5 ปี หรือ

ค. ถ้าท่านเข้าไปเกี่ยวข้องกับการละเมิดกฎหมายอันเกี่ยวกับชาวต่าวชาติส่วนใหญ่ ไม่ว่าภายใน หรือ นอกสาธารณรัฐเกาหลีอันมีจุดมุ่งหมายเพื่อผลประโยชน์ หรือ เพื่อปลุกปั่น หรือ ช่วยเหลือผู้อื่นในการทำการละเมิดนั้น

5. ท่านจะไม่พบกับการจำกัดใดๆ ในการได้งาน และได้รับการประกันจะประกอบกิจการ ทางเศรษฐกิจอย่างเสรีใน ประเทศเกาหลี

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
การขอสถานภาพเป็นผู้อยู่อาศัยถาวร (F-5)

• ผู้มีสิทธิขอ

- คนต่างชาติที่อยู่ในประเทศเกาหลีในลักษณะที่ถูกกฎหมาย โดยเป็นคู่สมรสของคนสัญชาติเกาหลีเป็นเวลา 2 ปี หรือนานกว่า อาจขอใบอนุญาตผู้อยู่อาศัยถาวร (F-5) ได้

- บุคคลใดก็ตาม ผู้ซึ่ง ①เป็นผู้บรรลุนิติภาวะตามประมวลกฎหมายแพ่งเกาหลี ②และมีอิสรภาพทางการเงิน หรือ สมาชิกผู้ติดตามของบุคคลนั้น สามารถดำเนินชีวิตของตนเองได้ โดยมิต้องพึ่งพาบุคคลดังกล่าว ③และเป็นผู้ที่มีความประพฤติดี ④และมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีเกาหลี และเรื่องอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและพำนักอาศัยอยู่ในประเทศเกาหลี ⑤และได้พำนักอาศัยอยู่ในประเทศเกาหลีเป็นเวลาห้าปีหรือมากกว่า โดยถือวีซ่าผู้อยู่อาศัย(F-2)ซึ่ง หลังจากได้รับการตรวจสอบคุณสมบัติอย่างครบถ้วนแล้ว สามารถยื่นคำร้องขอเปลี่ยนเป็นวีซ่าผู้อยู่อาศัยถาวร (F-5)ได้

• เอกสารที่ต้องใช้

- การขอเปลี่ยนสถานภาพการอยู่อาศัยชั่วคราวของท่านท่านต้องยื่นเอกสารดังต่อไปนี้พร้อมกับแบบคำขอ เปลี่ยนสถานภาพผู้อยู่ชั่วคราว (แบบฟอร์ม 41 「ระเบียบบังคับใช้ตามรัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」) ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

1. หนังสือเดินทาง และบัตรทะเบียนคนต่างด้าว

2. ทะเบียนความสัมพันธ์ทางครอบครัวของคู่สมรสของท่าน และสำเนาทะเบียนผู้อาศัยของคู่สมรสที่มีการรับรอง

3. หนังสือประกันเอกลักษณ์ส่วนบุคคล

4. เอกสารทางการเงินอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้

ก. ใบรับรองของบัญชีธนาคารว่ามีเงิน 30,000,000 วอน หรือมากกว่าอยู่ในบัญชีนั้นในชื่อของท่าน หรือในชื่อของสมาชิกครอบครัวของท่านที่อยู่กับท่าน

ข. สำเนาที่มีการรับรองของทะเบียนอสังหาริมทรัพย์ หรือสำเนาของสัญญาเช่าบ้าน

ค. เอกสารแสดงว่าท่าน หรือคู่สมรสของท่านมีรายได้ที่แน่นอน เช่นใบรับรองการจ้างงาน

• ผู้ไม่มีสิทธิได้รับสถานภาพเป็นผู้อยู่อาศัยถาวร (F-5)

- ถ้าท่านเป็นบุคคลที่อยู่ในประเภทต่อไปนี้ ท่านไม่มีสิทธิขอใบอนุญาตผู้อยู่อาศัยถาวร (F-5)

1. บุคคลที่ละเมิดกฎหมายควบคุมคนเข้าเมืองภายใน 3 ปีจากวันที่ยื่นคำขอ

2. บุคคลที่ถูกศาลตัดสินจำคุกโดยไม่มีแรงงาน หรือถูกลงโทษหนักกว่า

3. บุคคลที่ถูกสงสัยว่าคุกคามความมั่นคงของชาติ ระเบียบสังคม สวัสดิการทั่วไป หรือผลประโยชน์อย่างอื่น ของชาติแห่งสาธารณรัฐเกาหลี

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
เบ็ดเตล็ด

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
ใบสำคัญการจัดทะเบียนคนต่างด้าว

• ความรับผิดชอบของทะเบียนคนต่างด้าว

- ถ้าคนต่างชาติต้องการอยู่ชั่วคราวในประเทศเกาหลีเป็นเวลามากกว่า 90 วัน หลังจากที่เข้ามาในประเทศเกาหลี จะต้องลงทะเบียนกับสำนักงานควบคุมคนเข้าเมือง (หรือสำนักงานสาขา) ที่มีอำนาจควบคุมการอยู่ชั่วคราว (มาตรา 31 (1) 「รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)

• ความรับผิดชอบในการถือ และแสดงบัตรลงทะเบียนคนต่างชาติ

- ถ้าท่านเป็นคนต่างชาติที่อาศัยอยู่ชั่วคราวในประเทศเกาหลี ท่านต้องถือไว้ตลอดเวลาซึ่งหนังสือเดินทาง หรือบัตรลงทะเบียนคนต่างชาติ (มาตรา 27 (1) 「รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)

- เมื่อเจ้าหน้าที่ควบคุมคนเข้าเมือง หรือเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจต้องการให้ท่านแสดงหนังสือเดินทาง หรือบัตรลงทะเบียนคนต่างชาติ ท่านต้องปฏิบัติตามความต้องการเช่นนั้น (มาตรา 27 (2) 「รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)

• การคืนบัตรลงทะเบียนคนต่างชาติ

- เมื่อคนต่างชาติที่ลงทะเบียนไว้ออกจากเกาหลี จะต้องคืนบัตรลงทะเบียนคนต่างชาติให้แก่เจ้าหน้าที่ควบคุมคนเข้าเมือง ยกเว้นในกรณีดังต่อไปนี้ (มาตรา 37 (1) 「รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)

1. ถ้าคนต่างชาติได้รับอนุญาตให้เดินทางกลับเข้ามา มีความประสงค์จะเข้าประเทศเกาหลีอีกครั้งภายในระยะเวลาที่อนุญาตภายหลังการเดินทางออกไปชั่วคราว

2. ถ้าคนต่างชาติผู้ถือวีซ่าที่อนุญาตให้เข้าออกประเทศได้หลายรอบ หรือผู้ที่ถือสัญชาติของประเทศที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขออนุญาตกลับเข้ามา ประสงค์จะเข้าประเทศเกาหลีอีกครั้งภายในระยะเวลาการอยู่ชั่วคราวที่ได้รับอนุญาตหลังการออกไปชั่วคราว และ

3. ถ้าคนต่างชาติที่มีบัตรเดินทางผู้ลี้ภัย ประสงค์จะเข้าประเทศเกาหลีอีกครั้ง ภายในกำหนดระยะเวลาที่ยังไม่หมดอายุ หลังการออกไปชั่วคราว

- ในกรณีที่คนต่างชาติครบกำหนดการลงทะเบียนคนต่างชาติกลายเป็นคนสัญชาติเกาหลีเสียชีวิต หรือได้รับยกเว้นจากความรับผิดชอบที่จะต้องลงทะเบียนคนต่างชาติตามมาตรา 31 (1) ของ「รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」) บัตรลงทะเบียนคนต่างชาติของบุคคลดังกล่าว จะต้องคืนให้กับเจ้าหน้าที่ควบคุมคนเข้าเมือง (หรือสำนักงานสาขา) ที่มีอำนาจครอบคลุมสถานที่อยู่ชั่วคราวของบุคคลดังกล่าว (มาตรา 37 (2) 「รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」) มาตรา 4 (2) 「กฤษฎีกาบังคับใช้รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
การขอขยายระยะเวลาการอยู่ชั่วคราว

- เมื่อคนต่างชาติประสงค์จะอยู่ในประเทศเกาหลีเป็นระยะเวลานานเกินกว่าระยะเวลาที่อนุญาตสำหรับสถานภาพผู้อยู่ชั่วคราว จะต้องได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมก่อนที่ระยะเวลาที่อนุญาตจะสิ้นสุด โดยต้องยื่น เอกสารดังต่อไปนี้พร้อมกับแบบการขอขยายเวลาการอยู่ชั่วคราว (แบบฟอร์ม 42 「ระเบียบบังคับใช้ตามรัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」) ต่อเจ้าหน้าที่ควบคุมคนเข้าเมือง (หรือสำนักงานสาขา) ที่มีอำนาจครอบคลุมสถานที่ ของการอยู่ชั่วคราว (มาตรา 25 「รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」) มาตรา 31 (1) กฤษฎีกาบังคับใช้รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)

เอกสารที่ต้องเตรียมร่วมกัน

   - หนังสือเดินทาง และบัตรประจำตัวต่างด้าว

   - สำเนาการจองตั๋วเครื่องบินเพื่อเตรียมออกนอกประเทศ กรณีร้องขอต่อระยะเวลาพำนัก

  ※ ยื่นบัตรประจำตัวต่างด้าว เฉพาะผู้ที่มีการขึ้น ทะเบียน ต่างด้าว เท่านั้น

คู่สมรสของชาวเกาหลี

- หนังสือยืนยันการสมรสของคู่สมรสของชาวเกาหลี

- ทะเบียนบ้านของคู่สมรสของชาวเกาหลี

- เอกสารยืนยันที่อยู่อาศัย

บิดาหรือมารดาที่ได้มีการเลี้ยงดูบุตรที่เกิดจากการสมรสกับชาวเกาหลี(รวมถึงผู้ที่เป็นสามีภรรยากันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส)ตามที่ รมต.กระทรวงยุติธรรมเห็นชอบ

- หนังสือเกี่ยวกับการบันทึกความสัมพันธ์ของบุคคลใน ครอบครัว

- เอกสารยืนยันการเลี้ยงดูบุตร

- เอกสารยืนยันที่อยู่อาศัย

ชาวเกาหลีที่ไม่สามารถคงการสมรสไว้ได้อย่างปกติ

ด้วยเหตุผลการหายตัวหรือการหนีออกจากบ้าน ของคู่สมรส ระหว่างที่พำนักอยู่ในประเทศ ซึ่งไม่ใช่สาเหตุหรือความรับผิดชอบที่เกิดจากตนเอง ตามที่

รมต.กระทรวงยุติธรรมเห็นชอบ

- เอกสารยืนยันการเสียชีวิต หรือการหายตัวหรือเอกสารอื่นๆ ที่ยืนยันการขาดความสัมพันธ์ในการสมรส ที่ไม่ได้มีสาเหตุเกิดขึ้นมาจากตนเอง

- เอกสารยืนยันที่อยู่อาศัย

- เมื่อคนต่างชาติที่มีคู่สมรสสัญชาติเกาหลี เป็นผู้ซึ่งอยู่ในกระบวนการเยียวยาสิทธิตามการไต่สวนของศาล การสืบสวนของหน่วยสืบสวน หรือตามกฎหมายอื่น โทษฐานความผิดเรื่องการใช้ความรุนแรงในประเทศ ตามมาตรา 2.1 แห่งกฎหมายสังคมว่าด้วยการลงโทษทางอาญาฐานก่อความรุนแรงในประเทศ ขออนุญาตขยายระยะเวลาการอยู่ชั่วคราวจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ณ เวลาที่เลยกำหนดระยะเวลาของกระบวนการเยียวยาสิทธิ (มาตรา 25.2.1 「รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)

※ แม้ระยะเวลาการอยู่ชั่วคราวที่อนุญาตข้างต้นสิ้นสุดลง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมอาจจะอนุญาตให้อยู่ต่อชั่วคราวได้ ในกรณีที่เห็นว่าจำเป็นสำหรับการเยียวยาความเสียหาย (มาตรา 25-2 (2) ของ「 รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)

จดทะเบียน กับ คน ติด แบ ล็ ค ลิ ส
การรายงานการเปลี่ยนแปลงสถานที่อยู่ชั่วคราว

- เมื่อคนต่างชาติผู้ซึ่งได้ลงทะเบียนคนต่างชาติเรียบร้อยแล้ว ทำการเปลี่ยนแปลงที่อยู่ชั่วคราว จะต้องรายงานการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวภายใน 14 วัน นับจากวันที่ทำการเปลี่ยนแปลงนั้น ต่อเจ้าหน้าที่ควบคุมคนเข้าเมือง (หรือสำนักงานสาขา) หรือรัฐบาลท้องถิ่นที่มีอำนาจในสถานที่ที่อาศัยอยู่ชั่วคราวนั้น ๆ (มาตรา 36 (1) 「 รัฐบัญญัติว่าด้วยการควบคุมคนเข้าเมือง」)