ตัวหน่วงปฏิกิริยา ในชีวิต ประ จํา วัน

ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7 from ธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง

20000-1301 วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ หน่วยท่ี 6 ปฏกิ ิริยาเคมี ในชีวติ ประจาวัน ครูธญั พร พุม่ พวง วทิ ยาลัยเทคนคิ ลพบุรี

หน่วยท่ี 6 ปฏิกริ ิยาเคมีในชีวติ ประจาวนั • การเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี • พลงั งานกบั การเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี • ปัจจัยท่มี ผี ลต่อการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี • ปฏิกริ ิยาเคมใี นชีวติ ประจาวนั

1. การเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี 1.1 ความหมายของการเกิดปฏิกิริยาเคมี การเปล่ียนแปลงของสาร จากสารเดิมไปเป็นสารใหม่ โดยสารที่เขา้ ทาปฏิกิริยา เรียกวา่ สารต้งั ตน้ และสารใหม่ท่ีเกิดข้ึน เรียกวา่ ผลิตภณั ฑ์ สังเกตได้จากการเปลยี่ นแปลง ดงั นี้ 1. สีท่ีเปล่ียนไป 2. การเกดิ ตะกอน 3. กลิ่นท่ีเกิดขึน้ 4. แก๊สท่ีเกดิ ขนึ้ 5. สังเกตโดยวธิ ีอ่ืนๆ เช่น ลกั ษณะเนื้อสาร ความเป็ นกรดเบส เขม่าควัน เป็ นต้น

1. การเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 1.2 การเขยี นสมการเคมี 1. เขียนสูตรเคมีของสารต้งั ตน้ ท่ีเขา้ ทาปฎิกิริยาไวท้ างดา้ นซา้ ยมือ 2. เขียนสูตรเคมีของสารผลิตภณั ฑท์ ่ีเกิดจากปฏิกิริยาไวท้ างดา้ นขวามือ โดยใช้ → คน่ั ระหวา่ งสารต้งั ตน้ และผลิตภณั ฑ์ 3. ระบุสถานะของสารต้งั ตน้ และผลิตภณั ฑ์ ดงั น้ี s = solid (ของแขง็ ) l = liquid (ของเหลว) g = gas (กา๊ ซ) aq = aqeuos (สารละลาย) CH4 (aq) + 2O2 (g) CO2 (g) + 2H2O (l) สารต้งั ตน้ ไดแ้ ก่ CH4 ,O2 ผลิตภณั ฑ์ ไดแ้ ก่ CO2 , H2O

1. การเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 1.3 การดุลสมการเคมี การเขียนสมการเคมีที่ถูกตอ้ งน้นั นกั ศึกษาจะตอ้ งทาใหส้ มการเคมีเหลา่ น้นั สมดุล โดยการทาใหจ้ านวนอะตอมของธาตแุ ต่ละชนิดทางดา้ นซา้ ยของสมการ เท่ากบั ดา้ นขวามือของสมการโดยการเติมตวั เลขที่เหมาะสมลงไปขา้ งหนา้ สูตร ของเคมี แต่ละชนิด ตัวอย่าง จงดุลสมการเคมีท่ีเกิดจากปฏิกิริยาระหวา่ งอะลูมิเนียมกบั กรดไฮโดรคลอริก ซ่ึงทาใหเ้ กิดสารละลายของอะลมู ิเนียมคลอไรด์ และกา๊ ซไฮโดรเจน ดงั สมการ Al(s) + HCl(aq) AlCl3(aq) + H2(g)

ตัวอย่าง จงดุลสมการเคมีที่เกิดจากปฏิกิริยาระหวา่ งอะลูมิเนียมกบั กรดไฮโดรคลอริก ซ่ึงทาใหเ้ กิดสารละลายของอะลูมิเนียมคลอไรด์ และก๊าซไฮโดรเจน ดงั สมการ Al(s) + HCl(aq) AlCl3(aq) + H2(g) วธิ ีทา 1. พิจารณาวา่ จานวนอะตอมของธาตใุ ดบา้ งที่ดา้ นซา้ ยและดา้ นขวาไมเ่ ท่ากนั จากสมการจะเห็น วา่ ดา้ นซา้ ยและดา้ นขวาของสมการมีจานวนอะตอม Al เท่ากนั แตม่ ีจานวนอะตอมของ H และ Cl ไมเ่ ท่ากนั 2. หาตวั ส่วน (ค.ร.น.) ระหวา่ งจานวนอะตอมของ Cl และ H ดา้ นขวา จะได้ = 6 เติมเลข 6 ขา้ งหนา้ HCl ทางดา้ นซา้ ย จะได้ Al(s) + 6HCl(aq) AlCl3(aq) + H2(g) เติม 2 ขา้ งหนา้ AlCl3 เพ่ือใหจ้ านวนอะตอมของ Cl ได้ 6 และเติม 3 ขา้ งหนา้ H2 เพ่ือใหจ้ านวน อะตอมของ H ได้ 6 เท่ากบั ดา้ นซา้ ย Al(s) + 6HCl(aq) 2AlCl3(aq) + 3H2(g) เติม 2 ขา้ งหนา้ Al เพื่อใหม้ ีจานวนอะตอมเท่ากบั ทางขวา ซ่ึงจะไดส้ มการที่สมดุลดงั น้ี 2Al(s) + 6HCl(aq) 2AlCl3(aq) + 3H2(g)

2. พลงั งานกบั การเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 2.1 ปฏิกิริยาที่มีการถา่ ยเทความร้อนจากระบบไม่สู่สิ่งแวดลอ้ ม จะเรียกวา่ “ปฏิกิริยาคายความร้อน” เช่น การเผาไหมข้ องสารประกอบไฮโดรคาร์บอน กบั ออกซิเจน เกิดปฏิกิริยาดงั น้ี C3H8 + 5O2 3CO2 + 4H2O + พลงั งาน 2.2 ปฏิกิริยาท่ีมีการถา่ ยเทพลงั งานจากสิ่งแวดลอ้ มภายนอกเขา้ สู่ระบบ จะ เรียกวา่ “ปฏิกิริยาดูดความร้อน” เช่น 2NH3 + พลงั งาน 3H2 + N2

3. ปัจจยั ที่มีผลต่อการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี อัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยา หมายถึงการเกิดปฏิกิริยาเกิดการเปลี่ยนแปลงชา้ หรือเร็ว แตกต่างกนั อยา่ งชดั เจนโดยมีนิยามดงั น้ี อตั ราการเกิดปฏิกิริยา = ปริมาณสารต้งั ตน้ ที่ลดลง ระยะเวลาท่ีเกิดปฏิกิริยา = ปริมาณของผลิตภณั ฑท์ ่ีเกิดข้ึน ระยะเวลาที่เกิดปฏิกิริยา

3. ปัจจัยทมี่ ีผลต่อการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 3.1 พืน้ ท่ผี วิ

3. ปัจจยั ท่มี ีผลต่อการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี 3.2 ความเข้มข้นของสารต้ังต้น

3. ปัจจัยทมี่ ผี ลต่อการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 3.3 ตวั เร่งปฏิกริ ิยา สารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาเพ่ือช่วยใหป้ ฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วข้ึน โดยสารที่เติม ลงไปไม่มีผลต่อผลิตภณั ฑข์ องปฏิกิริยา หลงั จากปฏิกิริยาสิ้นสุดลงตวั เร่งปฏิกิริยา ท่ีใส่ลงไปยงั คงมีสมบตั ิและปริมาณเหมือนเดิม 3.4 ตัวหน่วงปฏิกริ ิยา สารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาเพ่ือช่วยใหป้ ฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วชา้ ลง โดยสารท่ีเติม ลงไปไม่มีผลต่อผลิตภณั ฑข์ องปฏิกิริยา หลงั จากปฏิกิริยาสิ้นสุดลงตวั เร่งปฏิกิริยา ที่ใส่ลงไปยงั คงมีสมบตั ิและปริมาณเหมือนเดิม แต่อาจมีสมบตั ิทางกายภาพ บางอยา่ งเปลี่ยนไป เช่น สารกนั บูด 3.5 อุณหภูมิ

3. ปัจจยั ที่มผี ลต่อการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 3.6 ความดนั 3.7 ชนิดของสารต้งั ต้น

4. ปฏิกริ ิยาเคมีในชีวิตประจาวัน 4.1การเผาไหม้ แบ่งได้ 2 ชนิด การเผาไหม้ที่สมบูรณ์

4. ปฏิกริ ิยาเคมีในชีวติ ประจาวัน 4.1การเผาไหม้ แบ่งได้ 2 ชนิด การเผาไหม้ท่ไี ม่สมบูรณ์

4. ปฏกิ ริ ิยาเคมใี นชีวิตประจาวนั 4.2 ปฏกิ ริ ิยาระหว่างนา้ ยาล้างห้องน้ากบั ปนู ยาแนวกระเบื้อง

4. ปฏกิ ริ ิยาเคมีในชีวติ ประจาวัน 4.3 ปฏิกริ ิยาการสลายตวั ของผงฟู โซเดียมไบคาร์บอเนต

4. ปฏิกริ ิยาเคมใี นชีวติ ประจาวัน 4.4 ปฏกิ ริ ิยาในนา้ โซดาและนา้ อดั ลม 4.5 ปฏกิ ริ ิยาการเกดิ สนิมเหลก็

5. ตัวหน่วงปฏิกิริยา เป็นสารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาโดยที่สารเหล่านี้จะไม่มีผลต่อการเกิด ผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยา แต่จะมีผลไปเพิ่มค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา จึงทำให้สารเกิดปฏิกิริยาได้ยากขึ้นหรือมีผลยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาแล้ว ตัวหน่วงปฏิกิริยาทางเคมีและมีมวลเท่าเดิม แต่อาจมีสมบัติทางภาพบางอย่างเปลี่ยนแปลงไป เช่น มีขนาด หรือรูปร่างเปลี่ยนไป โดยตัวหน่วงปฏิกิริยาที่พบได้ชีวิตประจำวัน ได้แก่ สารกันบูดในอาหาร ที่ช่วยยับยั้งปฏิกิริยาที่ทำให้เกิดการเน่าเสียของอาหาร เป็นต้น

ตัวอย่าง

ตัวหน่วงปฏิกิริยา ในชีวิต ประ จํา วัน

6. พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น ในกรณีที่สารตั้งต้นเป็นของแข็ง การเพิ่มพื้นที่ผิวของสารจะช่วยให้เกิดปฏิกิริยาเคมีเร็วขึ้นได้ เนื่องจากพื้นที่ผิวที่เพิ่มขึ้นจะทำให้สารมีพื้นที่สำหรับการเข้าทำ ปฏิกิริยากันได้มากขึ้น ตัวอย่างเช่น การเคี้ยวอาหารให้ละเอียดก่อนกลืน จะช่วยทำให้อาหารมีขนาดเล็กลง และมีพื้นที่ผิวเพิ่มมากขึ้น จึงทำให้น้ำย่อยในระบบทางเดินอาหารสามารถเข้าย่อยอาหารได้ง่ายขึ้น เป็นต้น

ตัวอย่าง

ตัวหน่วงปฏิกิริยา ในชีวิต ประ จํา วัน

 

7. ความดัน จะมีผลทำให้สารที่เป็นแก๊สสามารถทำปฏิกิริยากันได้ดีขึ้น เนื่องจากการเพิ่มความดันจะช่วยทำให้โมเลกุลของแก๊สเข้าอยู่มาอยู่ใกล้ชิด กันมากขึ้น มีจำนวนโมเลกุลของแก๊สต่อหน่วยพื้นที่เพิ่มขึ้น จึงมีโอกาสชนกันและเกิดปฏิกิริยาเคมีมากขึ้น ซึ่งลักษณะเช่นนี้ก็คล้ายกับกรณีที่สารที่มีความเข้มข้นมากจะสามารถเกิด ปฏิกิริยาได้เร็วขึ้นนั่นเอ

ตัวหน่วงปฏิกิริยาในชีวิตประจําวัน มีอะไรบ้าง

5.2 ตัวหน่วงปฏิกิริยา ( Inhibiter ) คือ สารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดช้าลง หรือทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาช้าลง และเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา ตัวหน่วงปฏิกิริยาจะกลับคืนมาเหมือนเดิมและมีมวลคงที่ แต่สมบัติทางกายภาพเปลี่ยนแปลงไป เช่น ขนาด รูปร่าง ตัวอย่างที่พบในชีวิตประจำวัน เช่น การเติมวิตามินอี หรือสาร ...

ตัวหน่วงปฏิกิริยา หมายถึงข้อใด

ตัวหน่วงปฏิกิริยา ( Inhibitor) คือ สารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นช้าลง หรือทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลง และเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา ตัวหน่วงปฏิกิริยาจะกลับคืนมาเหมือนเดิมและมีมวลคงที่ แต่สมบัติทางกายภาพอาจเปลี่ยนแปลงไป เช่น ขนาดรูปร่าง

การเร่งการเร่งปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันมีอะไรบ้าง

ตัวเร่งปฏิกิริยามีประโยชน์มากทั้งในชีวิตประจำวันและในกระบวนการอุตสาหกรรม เช่น การย่อยอาหารในร่างกายใช้เอนไซม์หลายชนิดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา การผลิตแอมโมเนียเหล็กเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ในกระบวนการเติมไฮโดรเจนแก่สารอินทรีย์ใช้นิกเกิลเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และในกระบวนการแตกสลายไฮโดรคาร์บอนในการกลั่นน้ำมันใช้ซิลิคอนไดออกไซด์และ ...

ปัจจัยในข้อใดที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาช้าลงขึ้น

ปฏิกิริยาเคมีหลายปฏิกิริยาไม่สามารถเกิดขึ้นได้ที่อุณหภูมิห้อง แสดงว่าอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ เมื่อเพิ่มอุณหภูมิสูงขึ้น ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดเร็วขึ้น และเมื่อลดอุณหภูมิ ปฏิกิริยาจะเกิดช้าลง