ใบประกอบวิชาชีพ ส ถ้า ปั ต ย์

กฎหมายที่มีฉบับแก้ไขเพิ่มเติม หากฉบับแรกระบุว่า “แก้ไขโดย” ฉบับใด หมายความว่า เป็นไฟล์ที่ได้แก้ไขเพิ่มเติมโดยฉบับดังกล่าวแล้ว แต่ถ้าไม่ได้ระบุว่าแก้ไขโดยฉบับใด จะต้องดูฉบับแก้ไขเพิ่มเติมที่ยังไม่ได้ระบุให้ครบถ้วนด้วย

เริ่มกันที่อาชีพ วิศวกร จะต้องมีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม หรือที่เรียกกันว่าใบกว. ถ้าถามว่าคนที่เรียนวิศวกรทุกคนจำเป็นต้องมีใบอนุญาตทุกคนหรือไม่ คำตอบคือไม่จำเป็นต้องมีทุกคน ส่วนใหญ่ที่มีการสอบเพื่อให้ได้ใบวิชาชีพจะเป็นสาขา วิศวกรรมควบคุม เช่น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมเหมืองแร่ วิศวกรรมเคมี และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม รวมถึงสาขาที่กฏกระทรวงกำหนดตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 ออกโดยสภาวิศวกร

ปัจจุบันใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมี4 ระดับ ตามขอบเขตของงานและความรับผิดชอบ

  1. วุฒิวิศวกร สำหรับวิศวกรผู้มีประสบการณ์ 5 ปีขึ้นไปยื่นผลงาน และผ่านการทดสอบและสัมภาษณ์ สามารถเป็น ที่ปรึกษาโครงการได้
  2. สามัญวิศวกร สำหรับวิศวกรผู้มีประสบการณ์ 3 ปีขึ้นไปยื่นผลงาน ผ่านการทดสอบและสัมภาษณ์
  3. ภาคีวิศวกร คือผู้ที่ผ่านการศึกษาในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น วศ.บ. คอ.บ. และ อศ.บ. (อุตสาหกรรมศาสตร์บัณฑิต) สามารถยื่นขอใบอนุญาตได้ หากสถาบันการศึกษาได้รับการรับรองของสภาวิศวกร
  4. ภาคีวิศวกรพิเศษ ผู้ที่ขอใบอนุญาตระดับนี้ เป็นผู้ที่อาจเรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูงมีความถนัดงานก่อสร้างด้านใดด้านหนึ่ง ซึ่งใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกรพิเศษนี้จะอนุญาตให้ผู้ถือใบอนุญาตทำการก่อสร้างได้แค่ด้านใดด้านหนึ่งที่ขอไปเท่านั้น เช่น สร้างสะพาน ถนน หรืออาคารขนาดเล็ก

ด้านสถาปนิก จะเป็นการออก ใบประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม หรือ ใบ ก.ส. เป็นเอกสารรับรองของสถาปนิกในการออกแบบและเซ็นรับรองแบบ ที่รับรองโดยสภาสถาปนิก ได้แก่สาขา สถาปัตยกรรมหลัก สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ สถาปัตยกรรมผังเมือง และ ภูมิสถาปัตยกรรม ตามกฎกระทรวง (พ.ศ. 2549) ว่าด้วยการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม หากไม่มีใบประกอบวิชาชีพแล้วประกอบวิชาชีพ จะมีบทลงโทษ ตามที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ. สถาปนิก (2543) [4] จำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

ทั้งนี้ 2 อาชีพดังกล่าวเป็นสายงานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในเรื่องชีวิตและทรัพย์สินของสาธารณชน จึงจำเป็นต้องรับการอบรมด้านจรรยาบรรณ ความปลอดภัย กฎหมายท้องถิ่นเกี่ยวกับงานวิศวกรรม และสถาปนิก ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และทักษะวิศวกรรมและสถาปนิก ก่อนถึงจะได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตามกฎหมาย

สภาสถาปนิก เลขที่ 12 ถนนพระราม 9 (ปากซอย 36) แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
โทรศัพท์: 02-318-2112 โทรสาร: 02-318-2131-2, E-mail: [email protected]

Architect Council of Thailand
12 RAMA 9 Rd. (Soi 36) Huamark Bangkapi, Bangkok Thailand 10240
Tel:+66 2 318 2112 Fax: +66 2 318 2121-2 E-mail: [email protected]

ขั้นตอนในการสอบขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม
ระดับภาคีสถาปนิก สำหรับสถาปนิกใหม่


(ตามข้อบังคับฯ ว่าด้วยคุณสมบัติผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. 2552)
ขั้นตอนการยื่นสมัครสมาชิกสภาสถาปนิกยื่นใบสมัครสมาชิกสภาสถาปนิก แบบ สภส.1 โดยจัดเรียงเอกสารและหลักฐาน ตามข้อ 6 (หน้าที่ 2) ในแบบ สภส.1 ผู้สมัครต้องลงนามรับรองเอกสารและหลักฐานที่เป็นสำเนาทุกหน้า
**ใบแสดงผลการศึกษา (Transcript) ฉบับจริงที่ระบุวันสำเร็จการศึกษา**ผู้สมัครบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลเข้าสู่ระบบตรวจสอบข้อมูลส่วนบุคคลจากการบันทึก และลงชื่อผู้สมัครชำระค่าจดทะเบียนสมาชิก 500.- บาท และค่าบำรุงราย 2 ปี 500 (รวม 1,000.-บาท) หรือค่าบำรุงราย 5 ปี 1,000.-บาท (รวม 1,500.- บาท) และรับใบเสร็จรับเงิน ตรวจสอบชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ จำนวนเงินในใบเสร็จรับเงินผู้สมัครจะได้รับบัตรสมาชิกฯเมื่อลงทะเบียนสมัครทดสอบความรู้ สำหรับผู้สมัครที่อยู่ต่างจังหวัดที่ลงทะเบียนสมัครทดสอบความรู้ทางไปรษณีย์ จะได้รับบัตรสมาชิกพร้อมบัตรสอบที่สภาสถาปนิกจะจัดส่งให้ทางไปรษณีย์ (กรณีไม่ได้บัตรสมาชิกให้ผู้สมัครเก็บใบเสร็จรับเงินไว้เป็นหลักฐานเพื่อลงทะเบียนสอบความรู้และใช้เป็นหลักฐานในการเข้าสอบความรู้)เริ่มต้นบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษา ที่สภาสถาปนิกให้การรับรองปริญญาแล้วสมัครเป็นสมาชิกสภาสถาปนิก
สภาสถาปนิก ประกาศเพื่อให้โอกาสบุคคลอื่น ยื่นคำคัดค้าน
อนุมัติให้เป็นสมาชิกสภาสถาปนิกประกาศรายชื่อผู้มีคุณสมบัติ เข้าทดสอบความรู้ฯลงทะเบียนสมัครทดสอบความรู้
ประกาศรายชื่อผู้มีคุณสมบัติ เข้าทดสอบความรู้ฯจัดทดสอบความรู้ (ข้อเขียน)ลงทะเบียนสอบสัมภาษณ์และอบรมสอบสัมภาษณ์อบรมผู้ขอรับใบอนุญาตฯได้รับใบอนุญาตฯ