ขั้นตอนการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์

กรณีร้องเรียนร้องทุกข์ตามช่องทางต่าง ๆ รวมทั้งที่มาร้องเรียนด้วยตนเอง มายังศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด  รับเรื่อง  ลงทะเบียน

2. การเสนอผู้บังคับบัญชาสั่งการ

  • ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด วิเคราะห์ ประเมินเรื่องราวเหตุการณ์และแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงและให้ความช่วยเหลือแก้ไข  แล้วรายงานศูนย์ดำรงธรรมทราบเพื่อพิจารณา
  • กรณีเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ที่สำคัญเกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน หรือ การกล่าวโทษเจ้าหน้าที่ของรัฐ จึงเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการ ประกอบด้วย ผู้แทนส่วนราชการ หรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไปสอบสวนข้อเท็จจริง  ตลอดจนเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา  แล้วรายงานผลให้ทราบ

3. การติดตามผลการดำเนินการ

เมื่อมีการแจ้งให้ส่วนราชการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว  หากพ้นระยะเวลาที่กำหนดแล้วยังไม่ได้รายงาน  ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดจะแต้งเตือนตามระยะเวลาที่กำหนด ดังนี้

  • เตือนครั้งที่ 1 เมื่อครบกำหนด 15 วัน
  • เตือนครั้งที่ 2 เมื่อครบกำหนด 15 วัน นับตั้งแต่ได้รับเตือนครั้งที่ 1
  • เตือนครั้งที่ 3 เมื่อครบกำหนด 7 วัน นับตั้งแต่ได้รับเตือนครั้งที่ 2

4. การรายงานผล

เมื่อส่วนราชการ ตรวจสอบข้อเท็จจริงและสรุปรายงานผลมายังศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดแล้ว  ศูนย์ดำรงธรรมฯ จะดำเนินการสรุป วิเคราะห์ และรายงานผลการตรวจสอบข้อเท็จจริง เพื่อนำเรียนผู้ว่าราชการจังหวัดทราบหรือพิจารณาสั่งการ หรือ ยุติเรื่อง

5. ระบบบันทึกข้อมูล

ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด บันทึกรายละเอียดข้อมูลและผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ในโปรแกรมฐานข้อมูล เพื่อเป็นข้องมูสถิติในการตรวจสอบและติดตาม

1.1 ลงทะเบียนซิมโดยยืนยันอัตลักษณ์เพื่อรักษาสิทธิ รักษาเบอร์ รักษาเงิน และยืนยันความเป็นเจ้าของเลขหมายโทรศัพท์

1.2 การเติมเงินแต่ละครั้งจะได้รับวันใช้งานไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยสะสมวันใช้งานสูงสุดได้อย่างน้อย365 วัน โดยผู้ให้บริการจะกำหนดมากกว่าก็ได้

1.3 เมื่อเลิกสัญญา จะได้รับคืนเงินคงเหลือในระบบ ภายใน 30 วัน หรืออาจโอนเงินนั้นไปยังเลขหมายอื่นในค่ายเดียวกันตามความประสงค์ของผู้ใช้บริการ

2.การใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบรายเดือน

2.1 เลิกสัญญาเวลาใดก็ได้ ด้วยการมีหนังสือแจ้งผู้ให้บริการทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 5 วันทำการโดยจะต้องชำระค่าบริการจนถึงวันที่เลิกสัญญา

2.2 ค้างชำระค่าบริการ 2 เดือนติดต่อกัน อาจถูกระงับหรือยกเลิกการให้บริการได้

3. การเลือกใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่

3.1 ศึกษาเงื่อนไขการให้บริการ รวมถึงอัตราค่าบริการก่อนตัดสินใจเลือกใช้รายการส่งเสริมการขาย

3.2 สามารถเลือกรายการส่งเสริมการขายและ/หรือเปลี่ยนไปใช้รายการส่งเสริมการขายที่เหมาะสมกับพฤติกรรมการใช้งานของตนได้ตลอดเวลา

4. การย้ายค่ายโดยใช้เบอร์เดิม

4.1 * 151 * เลขที่บัตรประชาชน 13 หลัก#กดโทรออกขอรหัสโอนย้ายค่ายจากค่ายเดิมเพื่อยื่นต่อค่ายใหม่

4.2 กรณีมีค่าบริการค้างชำระหากชำระค่าบริการที่ใช้งานจริงถึงวันปัจจุบันกับค่ายเดิมแล้วค่ายเดิมต้องส่งรหัสโอนย้ายให้

5. การตรวจสอบข้อมูลการใช้งานและ
การยกเลิกบริการ SMS กวนใจ/ไม่ได้ตั้งใจสมัคร

5.1 *165*1# กดโทรออก เพื่อการตรวจสอบบริการที่ผู้ใช้บริการสมัครใช้งาน (Promotion Package)

5.2 *165*2# กดโทรออก เพื่อการตรวจสอบการใช้งานบริการที่ใช้ไปและคงเหลือ

5.3 ยกเลิกรับบริการข้อความสั้น (SMS) กวนใจ/ไม่ได้ตั้งใจสมัคร ฟรี โดยกด *137 กดโทรออก

6. การป้องกันการแอบอ้างสวมสิทธิ

6.1 ป้องกันการถูกแอบอ้างลงทะเบียนซิมการ์ด และตรวจสอบเลขหมายที่ถือครองผ่านแอปพลิเคชัน “3 ชั้น” ตรวจ แจ้ง ล็อก ฟรี

         เรียกได้ว่าบทความนี้ก็พาคุณผู้อ่านทุกคนไปเจาะรายละเอียดที่จำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับการโอนที่ดินทุกมิติ ไม่ว่าจะเป็นการเตรียมเอกสารการโอนที่ดินทั้งสำหรับผู้ซื้อ ผู้ขาย รวมไปถึงเอกสารที่ต้องเตรียมสำหรับการซื้อห้องชุด นอกจากนั้นยังมีในเรื่องของการอัปเดตภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และการโอนภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างให้กับลูกหลานหรือญาติในรูปแบบต่างๆ จนถึงขั้นตอนการโอนที่ดินแบบละเอียด ที่เรียกได้ว่าถ้าหากอ่านมาจนถึงบรรทัดนี้ ก็จะสามารถทำการโอนที่ดินได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน แม่นยำ แบบไม่มีผิดพลาดกันอย่างแน่นอน แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีข้อกฎหมายอื่นๆ ที่น่ารู้เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์และการลงทุนคอนโด อีกมากซึ่งล้วนแล้วแต่สำคัญและน่าศึกษาเพิ่มเติมทั้งสิ้น ใครที่สนใจความรู้เกี่ยวกับที่อยู่อาศัย ก็อย่าลืมติดตามเราไว้ เพราะเรามีบทความดี ๆ คอยอัพเดทให้ได้อ่านกันอยู่เสมอ แล้วพบกันใหม่บทความหน้าจ้า 

ขั้นตอนการร้องทุกข์มีกี่ขั้นตอน

1. แจ้งร้องทุกข์ ด้วยตนเอง ที่สำนักงำนสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำน พร้อมเขียนแบบคำร้องทุกข์ (แบบ คร.7) 2. แจ้งร้องทุกข์/ร้องเรียน ทำงโทรศัพท์ 3. แจ้งร้องทุกข์/ร้องเรียน ทำงอินเตอร์เน็ต ( เว็บไซด์/E-Mail) 1. แจ้งร้องทุกข์ด้วยตนเอง ที่สานักงานฯ พร้อมเขียนแบบคาร้องทุกข (แบบ คร.7)

สิ่งแรกที่ควรปฏิบัติเมื่อได้รับข้อร้องเรียนคือข้อใด

เมื่อถูกลูกค้าร้องเรียน สิ่งที่ดีที่สุด คือ การรับฟังอย่างใจเย็น อย่าเพิ่งไปขัดจังหวะ เพื่อให้ลูกค้าได้ระบายความรู้สึกและ ควรใช้สายตาที่แสดงถึงการตั้งใจฟัง สบตาขณะฟัง เพื่อทำให้ลูกค้ารู้ว่า คุณพร้อมที่จะให้การช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างจริงใจ เมื่อฟังอย่างตั้งใจ พนักงานจะเข้าใจสาเหตุของการร้องเรียน และสามารถ ...

การร้องทุกข์ต้องทำอย่างไร

(1) ให้ร้องทุกข์ได้สำหรับตนเองเท่านั้น จะร้องแทนผู้อื่นไม่ได้ (2) จะต้องยื่นคำร้องทุกข์ต่อผู้มีอำนาจวินิจฉัยร้องทุกข์ (ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไป หรือ ก.พ.ค.) ภายใน 30 วันนับแต่ทราบหรือถือว่าทราบเหตุแห่งการร้องทุกข์นั้น (3) คำร้องทุกข์ต้องใช้ถ้อยคำสุภาพและอย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญ ดังนี้

เอกสารที่ต้องใช้ประกอบหลักฐานของผู้ร้องเรียนมีอะไรบ้าง

1. บัตรประจำตัวประชาชน/บัตรประจำตัวข้าราชการ 2. ทะเบียนบ้านผู้ร้องเรียน 3. ที่อยู่ที่สามารถติดต่อกับผู้ประกอบธุรกิจ 4. หนังสือจอง,สัญญาจอง,สัญญาจะซื้อขาย