การ ปฏิบัติ ตน เป็น ผู้ มีจิตสาธารณะ 10 ข้อ

 

การ ปฏิบัติ ตน เป็น ผู้ มีจิตสาธารณะ 10 ข้อ

สังคมไทยในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตเพิ่มมากขึ้น ผู้คนก็ยึดติดวัตถุนิยมอย่างมากเสียจนบางครั้งเราลืมให้ความสำคัญในด้านจิตใจ ด้วยสาเหตุนี้เองจึงทำให้เกิดปัญหาต่างๆ ขึ้นมามากมาย ซึ่งเราก็ได้พบเห็น อยู่บ่อยๆ เช่น การทิ้งขยะลงในแม่น้ำลำคลอง ปัญหาเรื่องยาเสพติด ฯ ส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดจิตสำนึกที่ดีทั้งต่อตนเองและส่วนรวม ดังนั้นการปลูกฝังให้คนมีจิตสำนึกที่ดีจึงเป็นเรื่องที่สำคัญ การปลูกฝังจิตสำนึกในที่นี้คือ การปลูกฝังจิตใจให้มีความรับผิดชอบ รู้จักเสียสละ ทั้งต่อตนเองและส่วนรวม หรือเรียกง่ายๆ ว่า การสร้างจิตสาธารณะ

ความหมายของ จิตสาธารณะนั้น ได้มีหลายท่านให้ความหมายไว้มากมาย สรุปใจความสำคัญได้ว่า จิตสาธารณะ หมายถึง จิตสำนึกที่ดีในการรู้จักหน้าที่ ความรับผิดชอบ เสียสละเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม ยึดมั่นทั้งในด้านคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนร่วมมือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย

ลักษณะของผู้ที่มีจิตสาธารณะ จะต้องเป็น ผู้ที่ให้และคอยช่วยเหลือผู้อื่นที่เดือดร้อนด้วยความเต็มใจ ไม่หวังผลตอบแทน ไม่เห็นแก่ตัว เข้าใจผู้อื่น ไม่เป็นคนใจแคบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

การ ปฏิบัติ ตน เป็น ผู้ มีจิตสาธารณะ 10 ข้อ

แนวทางการสร้างจิตสาธารณะ เป็นการสร้างความรับผิดชอบในตัวเอง หากเราขาดหรือบกพร่อง ก็จะส่งผลกระทบเกิดปัญหาต่างๆตามมามากมาย การสร้างจิตสาธารณะสามารถทำได้ง่ายๆ โดยเริ่มจากตัวเราก่อน  ดังนี้

  1. สร้างวินัยในตัวเอง เราต้องรู้จักหน้าที่ ความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีความกระตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมในสังคมด้วยความเต็มใจ มองผู้อื่นในแง่ดี
  2. ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม เราต้องคิดเสมอว่า เราคือส่วนหนึ่งของสังคม ดังนั้นต้องรู้จักรักษาสิ่งแวดล้อมของเราให้ดีที่สุดเท่าที่สามารถทำได้
  3. คำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสังคม ทั้งในด้านที่ดีและไม่ดี ให้ความร่วมมือในด้านต่างๆ ช่วยแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยความเต็มใจ
  4. ดำเนินชีวิตตามหลักธรรมะ ทุกศาสนาต่างสอนให้เป็นคนดี ถ้าเราสามารถปฏิบัติตามหลักธรรม คำสั่งสอนได้ นอกจากตัวเราจะมีความสุขแล้ว ยังทำให้สังคมน่าอยู่ขึ้นอีกด้วย

นอกจากการสร้างจิตสาธารณะแล้วเรายังจำเป็นต้องมีการพัฒนาจิตสาธารณะด้วย ซึ่งต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเราควรปลูกฝังให้เขาได้มีความรู้ ความเข้าใจ และนึกถึงความสำคัญของการมีจิตสาธารณะ  คอยชี้แนะในสิ่งที่ถูกที่ควร นอกจากการปลูกฝังให้เด็กมีจิตสาธารณะแล้ว ควรปลูกฝังให้เด็กมีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในหน้าที่ รู้จักการเสียสละ การอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งนี้ครูหรือผู้ใหญ่ต้องเป็นอย่างที่ดีให้กับเด็กด้วย เพื่อที่เด็กจะได้ยึดเป็นแนวทางปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเหมาะสม betflik123

จิตสาธารณะ (Public mind)

การปลูกฝังจิตใจให้บุคคลมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เป็นการสร้างคุณธรรมจริยธรรมซึ่งเป็นเรื่อง
ที่เกิดจากภายใน "จิตสาธารณะ" เป็นสิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญในการปลูกจิตสำนึกให้คนรู้จักเสียสละ ร่วมแรงร่วมใจ มีความร่วมมือในการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม ช่วยลดปัญหารที่เกิดขึ้นในสังคม ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อเป็นหลักการในการดำเนินชีวิต ช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคม

 

การ ปฏิบัติ ตน เป็น ผู้ มีจิตสาธารณะ 10 ข้อ

การ ปฏิบัติ ตน เป็น ผู้ มีจิตสาธารณะ 10 ข้อ



ความหมายของจิตสาธารณะ

จิตสาธารณะ (Public mind) หมายถึง จิตสำนึกเพื่อส่วนรวม เพราะคำว่า สาธารณะคือ สิ่งที่มิได้เป็นของผู้หนึ่งผู้ใด จิตสาธารณะจึงเป็นความรู้สึกถึงการเป็นเจ้าของในสิ่งที่เป็นสาธารณะ ในสิทธิและหน้าที่ที่จะดูแลและบำรุงรักษาร่วมกัน เช่น การช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยการไม่ทิ้งขยะลงในแหล่งน้ำ การดูแลรักษาสาธารณะสมบัติ เช่นโทรศัพท์สาธารณะ หลอดไฟที่ให้แสงสว่างตามถนนหนทาง แม้แต่การประหยัดน้ำประปา หรือไฟฟ้าที่เป็นของส่วนรวม โดยให้เกิดประโยชน์คุ้มค่าตลอดจนช่วยดูแลรักษาให้ความช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก หรือผู้ที่ร้องขอความช่วยเหลือเท่าที่จะทำได้ ตลอดจนร่วมมือกระทำเพื่อช่วยกันแก้ปัญหา แต่ต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย เพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม

จิตสำนึกเพื่อสวนรวมนั้นสามารถกระทำได้ โดยมีแนวทางเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
1. โดยการกระทำตนเอง ต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเอง เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบและเกิดความเสียหายต่อส่วนรวม

2. มีบทบาทต่อสังคมในการรักษาประโยชน์ของส่วนรวม เพื่อแก้ปัญหา สร้างสรรค์สังคม ซึ่งถือว่าเป็นความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

 

การ ปฏิบัติ ตน เป็น ผู้ มีจิตสาธารณะ 10 ข้อ

การ ปฏิบัติ ตน เป็น ผู้ มีจิตสาธารณะ 10 ข้อ

ความสำคัญของจิตสาธารณะ

การที่มนุษย์ในสังคมจะแสดงออกซึ่งการมีจิตสาธารณะนั้นเป็นเรื่องที่ยาก หากไม่ได้รับการเลี้ยงดูมาแบบส่งเสริมหรือเอื้อต่อการเกิดพฤติกรรมการมีจิตสาธารณะ สังคมก็จะเป็นไปแบบเห็นแก่ตัว คือ ตัวใครตัวมัน ไม่สนใจสังคมรอบข้างคิดแต่ประโยชน์แห่งตนเท่านั้น ชุมชนอ่อนแอ ขาดการพัฒนา เพราะต่างคนต่างอยู่ สภาพชุมชนมีสภาพเช่นไรก็ยังคงเช่นนั้น ไม่เกิดการพัฒนา และยิ่งนานไปก็มีแต่เสื่อมทรุดลง อาชญากรรมในชุมชนอยู่ในระดับสูง ขาดศูนย์รวมจิตใจ ขาดผู้นำที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เพราะคนในชุมชนมองปัญหาของตัวเองเป็นเรื่องใหญ่ ขาดคนอาสานำการพัฒนา เพราะกลัวเสียทรัพย์ กลัวเสียเวลา หรือกลัวเป็นที่ครหาจากบุคคลอื่น ดังนั้น การศึกษาแนวทางและความสำคัญของการมีจิตสาธารณะเพื่อให้เกิดในจิตสำนึกของเด็กและเยาวชนนั้นเป็นเรื่องสำคัญที่เราควรกระทำ เพื่อสังคมที่น่าอยู่ต่อไป และก่อให้เกิดความเข้มแข็งของสังคม ส่งผลให้ การเมือง เศรษฐกิจ ศีลธรรมในสังคมนั้นดีขึ้น

จิตสาธารณะเป็นความรับผิดชอบที่เกิดจากภายใน คือ ความรู้สึกนึกคิด จิตใต้สำนึกตลอดจนคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งอยู่ในจิตใจ และส่งผลมาสู่การกระทำภายนอก ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จะเห็นว่าเกิดจากการขาดจิตสำนึกของคนส่วนรวมในสังคมเป็นสำคัญ เช่น
1. ปัญหายาเสพติด ซึ่งเกิดจากความเห็นแก่ตัวของผู้ชาย ไม่นึกถึงปัญหาที่เกิดขึ้นต่อไปกับสังคม

2. ปัญหามลพิษต่าง ๆ ที่เกิดจากความไม่รับผิดชอบ ขาดจิตสำนึกเช่น

- การปล่อยน้ำเสียออกจากโรงงาน โดยไม่ผ่านการบำบัด

- การจอดรถยนต์โดยไม่ดับเครื่องยนต์ ทำให้เกิดควันพิษ โดยเฉพาะในเมืองใหญ่
- ทรัพยากรป่าไม้ถูกทำลาย
- ปัญหาเด็กถูกทอดทิ้ง
- การใช้ทางเท้าสาธารณะเพื่อประโยชน์ส่วนตัว โดยไม่คำนึงถึงส่วนรวม
- การทิ้งขยะลงแม่น้ำลำคลอง
- การฉีดสารเร่งเนื้อแดงในสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะสุกร ซึ่งมีผลต่อโรคภัยไข้เจ็บในมนุษย์
เช่นโรคมะเร็งเป็นต้น

จิตสาธารณะจึงเป็นสิ่งสำคัญในสังคม เยาวชนต้องให้ความสำคัญและตระหนักในสิ่งนี้
ความรับผิดชอบต่อตนเอง

จิตสำนึกในความรับผิดชอบต่อตนเอง นับว่าเป็นพื้นฐานต่อความรับผิดชอบ ต่อสังคม ตัวอย่างความรับผิดชอบ ต่อตนเองดังนี้
1. ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนหาความรู้
2. รู้จักการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพให้แข็งแรงสมบรูณ์
3. มีความประหยัดรู้จักความพอดี
4. ประพฤติตัวให้เหมาะสม ละเว้นการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสีย
5. ทำงานที่รับมอบหมายให้สำเร็จ
6. มีความรับผิดชอบ ตรงเวลา สามารถพึ่งพาตนเองได้
ความรับผิดชอบต่อสังคม

เป็นการช่วยเหลือสังคม ไม่ทำให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือดร้อนได้รับความ เสียหายเช่น
1. มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว เช่น เชื่อฟังพ่อแม่ ช่วยเหลืองานบ้าน ไม่ทำให้พ่อแม่เสียใจ
2. มีความรับผิดชอบต่อโรงเรียน ครูอาจารย์ เช่น ตั้งใจเล่าเรียน เชื่อฟังคำสั่งสอนของครูอาจารย์ปฏิบัติตามกฎระเบียบวินัยของโรงเรียน ช่วยรักษาทรัพย์สมบัติของโรงเรียน
3. มีความรับผิดชอบต่อบุคคลอื่นเช่นให้ความช่วยเหลือให้คำแนะนำไม่เอาเปรียบเคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
4. มีความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง เช่น ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม ปฏิบัติตามกฎหมาย รักษาสมบัติของส่วนรวม ให้ความรร่วมมือต่อสังคมในฐานะพลเมืองดี ให้ความช่วยเหลือ

การ ปฏิบัติ ตน เป็น ผู้ มีจิตสาธารณะ 10 ข้อ

การ ปฏิบัติ ตน เป็น ผู้ มีจิตสาธารณะ 10 ข้อ

แนวทางการสร้างจิตสาธารณะ

การสร้างจิตสาธารณะ เป็นความรับผิดชอบในตนเอง แม้ว่าจะได้รับการอบรมสั่งสอนถ้าใจตนเองไม่ยอมรับ จิตสาธารณะก็ไม่เกิด ฉะนั้นคำว่า "ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน" จึงมีความสำคัญส่วนหนึ่งในการสร้างจิตสาธารณะ ถ้าตนเองไม่เห็นความสำคัญแล้วคงไม่มีใครบังคับได้นอกจากใจของตนเองแล้ว แนวทางที่สำคัญในการจิตสาธารณะยังมีอีกหลายประการถ้าปฏิบัติได้ก็จะเป็น ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
1. สร้างวินัยในตนเอง ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในระบบประชาธิปไตย รู้ถึงขอบเขตของสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม
2. ให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม ตระหนักเสมอว่าตนเอง คือส่วนหนึงของสังคมต้องมีความรับผิดชอบในการรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นเรื่องของส่วนรวม ทั้งต่อประเทศชาติ และโลกใบนี้
3. ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสังคม ให้ถือว่าเป็นปัญหาของตนเอง เช่นกันอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ต้องช่วยกันแก้ไข เช่น ช่วยกันดำเนินการให้โรงงานอุตสาหกรรมสร้างบ่อพักน้ำทิ้งก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ
4. ยึดหลักธรรมในการดำเนินชีวิต เพราะหลักธรรมหรือคำสั่งสอนในทุกศาสนาที่นับถือ สอนให้คนทำความดีทั้งสิ้น ถ้าปฏิบัติได้จะทำให้ตนเองมีความสุข นอกจานี้ยังก่ิอให้เ้กิดประโยชน์ต่อสังคมด้วยทำให้เราสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยตัวอย่างหลักธรรมทางศาสนาที่เกี่ยวข้องกับตนเอง มีดังนี้
พระพุทธศาสนา
หลักคำสอนในการช่วยเหลือ หรือพึ่งพาตนเอง ที่พุทธศาสนิกชนได้ยินจากพุทธสุภาษิตอยู่เสมอ คือ อัตตาหิ อัตตโน นาโถ หรือตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
คริสต์ศาสนา
หลักคำสอนในศาสนาคริสต์ คือ ต้องรู้จักช่วยเหลือตนเองก่อน แล้วพระเจ้าจะช่วยท่าน
ศาสนาอิสลาม
หลักคำสอนจะคล้ายกับคริสต์ศาสนา ก็คือ ให้รู้จักช่วยตนเอง และรู้จักเปลี่ยนแปลงตนเองไปในทางที่ดีเสียก่อนแล้วพระเจ้าจะช่วยท่าน

อ้างอิง :http://mos.e-tech.ac.th/mdec/learning/s1301/unit08.html

            http://taamkru.com/th

จัดทำโดย

น.ส.ภาพิมล   วีระเกียรติกิจ    ม.4 ห้อง 652    เลขที่ 12

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ

การปฏิบัติตนเป็นผู้มีจิตสาธารณะมีอะไรบ้าง

จิตอาสา หรือ มีจิตสาธารณะ” ยังหมายรวมถึง จิตของคนที่รู้จักความเสียสละ ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทาประโยชน์เพื่อส่วนรวม จะช่วยลดปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อ เป็นหลักการในการดาเนินชีวิต ช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคม เช่น การช่วยกันดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม โดยการไม่ทิ้งขยะลงใน ...

ความเป็นผู้มีจิตสาธารณะหมายถึงอะไร

ราชบัณฑิตยสภา ได้ให้ความหมายของจิตส านึกทางสังคม หรือจิตสาธารณะว่า คือการตระหนักรู้และค านึงถึง ส่วนรวมร่วมกัน หรือการคานึงถึงผู้อื่นที่ร่วมสัมพันธ์เป็นกลุ่มเดียวกัน

จิตสาธารณะทำอะไรได้บ้าง

– ทำให้เป็นคนคิดบวก มองผู้อื่นในแง่ที่ดี ไม่คิดร้ายต่อผู้อื่น – ทำให้เราเป็นคนที่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้เป็นอย่างดี และปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมต่างๆ ได้ดี – ทำให้เป็นที่รักใคร่จากผู้คนรอบข้าง และได้รับความเมตตา – ทำให้เป็นคนไม่เห็นแก่ตัว คิดถึงส่วนรวมเป็นหลักมากกว่าประโยชน์ส่วนตน

ความสําคัญของจิตอาสา/จิตสาธารณะ มีอะไรบ้าง

จิตอาสา หรือจิตแห่งการเสียสละเปรียบเสมือนยาวิเศษ ที่ช่วยลดอาการของโรคเห็นแก่ตัว อีก ทั้งยังลดทอนตัวตนหรืออัตตาของคนเราลงได้เป็นอย่างดี จิตสาธารณะ คือ การตระหนักรู้ตน ที่จะทาสิ่งใดเพื่อเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ลดปัญหาใน สังคม