ปรัชญา หมายถึง

ปรัชญาคืออะไร

ปรัชญา หมายถึง

             

ปรัชญา เป็นคำที่มีความหมายกว้างมาก จึงยากที่จะหาคำ หรือประโยคใดใดมานิยามความหมายได้อย่างครอบคลุม   การให้คำนิยาม "ปรัชญา" สามารถแบ่งออกได้ตามบริบทต่างๆ ดังนี้

1.ความหมายตามรูปศัพท์
              ปรัชญา ในภาษาไทย มาจากการผสมคำในภาษาสันสกฤต 2 คำ คือ ปร กับ ชญา เมื่อรวมกันแล้ว ปรัชญา  หมายถึง ความรู้อันประเสริฐ ความรู้ที่เห็นแจ้งแทงตลอด หรือความรู้ได้จากการตรัสรู้แล้ว    
              ส่วนในภาษาอังกฤษ ปรัชญา คือ Philosophy มาจากการผสมคำ 2 คำในภาษากรีก คือ Philo:ความรู้ + Sophia :ที่รัก
              เมื่อรวมกันแล้ว Phlosophy จึงหมายถึง การรักในความรู้ หรือ การรักที่จะแสวงหาความรู้ และพากเพียรพยายามที่จะขวายขวายเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้
              หากพิรณาเพียงเฉพาะความหมายตามรูปศัพท์ที่ใช้เรียก "ปรัชญา" เราก็ยังพบความหมายที่มีความแตกต่างกัน กล่าวคือ
              ปรัชญา ในโลกตะวันออก หมายถึง ความรู้แท้ประเสริฐ ที่เกิดจากการตรัสรู้เล้ว ซึ่งแตกต่างจาก ปรัชญา ในความหมายของโลกตะวันตก ที่หมายถึงการพยายามเพื่อที่จะได้มาซึ่งความรู้ ดูเหมือนว่าโลกตะวันตกจะให้ความสำคัญกับวิธีการของความรู้มากกว่า ตัวความรุ้ เอง

2.ปรัชญา ในฐานะ "ศาสตร์" แขนงหนึ่ง
             ปรัชญา ในฐานะที่เป็นศาสตร์ แขนงหนึ่ง  ปรัชญา (Philosophy)  คือ ศาสตร์ที่มุ่งแสวงหาควารู้ คำตอบ  และความจริงที่เกี่ยวกับ ชีวิต โลก และจักรวาล  อันเป็นควาจริงในระดับคุณค่า และความหมาย ของสรรพสิ่งต่างๆ โดยใช้หลักเหตุผล

3.ปรัชญาในความหมายอื่นๆ
              ปรัชญา หมายถึงอุดมการณ์สูงสุดของแต่ละบุคคล หรือ ของแต่ละองค์กร ที่ยังไปไมถึง  แต่เป็นสิ่งยึดเป็นหลักเอาไว้ สำหรับการดำนินชีวิต และทำหน้าที่ประจำวันของตนอย่างดี อย่างเหมาะสม เพื่อมุ่งไปสู่การบรรลุเป้าหมายที่แท้จริง

             นอกจากนี้ ปรัชญายังถูกนิยามในความหมายอื่นๆ อีก ตามบริบทและ ตามแต่ละบุคคลจะมองและเข้าใจ

4. ความหมายของ  ปรัชญา  ตามทัศนะของข้าพเจ้า
             จากประสบการณ์ที่เป็นนักศึกษาวิชาปรัชญามาอย่างน้อย 4 ปี ได้มีโอกาสเรียนรู้จักนิยามของคำว่า "ปรัชญา" และแนวคิดทางปรัชญาของบรรดานักปรัชญาสำคัญๆ ต่างๆ มากมายหลายคน หลายแขนง หลายสาย และหลายกลุ่ม ที่มีความแตกต่างกัน จนเกิดความเข้าใจมากขึ้นถึงความหมายของ ปรัชญา  ซึ่งสามารถให้นิยามได้ดังนี้
             ปรัชญา (Philosophy) คือความพยายามของมนุษย์แต่ละคน แต่ละยุคสมัย ที่จะเข้าถึงความจริง  และแสวงหาความรู้ หรือ คำตอบของปัญหาต่างๆ ในชีวิต ตามสภาพกาณ์ และบริบทที่แตกต่างกันออกไป
             ดังนั้น เราจึงพบว่า มนุษย์แต่ละคนต่างห็มีปรัชญาในหารดำเนินชีวิตที่แตกต่างกันไป  และนักปรัชญาในแต่ละยุค แต่ละสมัย รวมทั้งที่ดำรงชีวิตในภูมิภาคที่แตกต่างกันก็มีแนวคิดทางปรัชญาที่ไม่เหมือนกัน

            แม้ว่าการศึกษา ความหมาย หรือนิยามของปรัชญา อาจะยังไม่ได้ช่วยทำให้เรา ได้พบกับคำนิยามที่ดี่สุด ที่ครอบคลุม คำว่า ปรัชญา ได้ทั้งหมด แต่ อย่างน้อย จากการศึกษานิยามของปรัชญา ก็ช่วยทำให้เรารู้เบื้อต้นถึงธรรมชาติของปรัชญา ที่มีความเกี่ยวข้องใกล้ชิด กับชีวิตและความเป็นอยู่ของเราแต่ละคน นอกจากนี้ ปรัชญา ในฐานะที่ป็นศาสตร์ ที่แสวงหาความจริงในแง่ ของ คุณค่า และความหมาย ปรัชญายังเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยทำให้เราสามารถมองโลก มองชีวิต และปัญหาต่างๆ ที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ในสังคมของเราในขณะ ได้อย่างลึกซึ้ง ด้วยความเข้าใจ  ด้วยการยอมรับ และอย่างมีความหวัง สามารถให้คำตอบ และแสวงหาทางออกได้อย่างเหมาะสม

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ปรัชญา (n) philosophy, Example: นักศึกษาชอบเรียนวิชาปรัชญา, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง
นักปรัชญา (n) philosopher, See also: intellectual, Example: นักปรัชญาหลายคนเชื่อว่าความฉลาดของมนุษย์เป็นสิ่งยากที่คอมพิวเตอร์จะเลียนแบบได้, Thai Definition: ผู้รู้, ผู้มีปัญญา
อภิปรัชญา (n) metaphysics, See also: super philosophy, Example: เรื่องลิลิตพระลอเป็นเรื่องที่แฝงอภิปรัชญาไว้, Thai Definition: สาขาหนึ่งของปรัชญา ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา
พุทธปรัชญา (n) Buddhist philosophy, Example: ในพุทธปรัชญาเราไม่พบความคิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเช่นที่พบในปรัชญาตะวันตก, Thai Definition: หลักแห่งความรู้และความจริงในศาสนาพุทธ
ปรัชญาการเมือง (n) political philosophy, Example: การอ่านหาปรัชญาการเมืองหรือปรัชญาเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย์ก็เป็นวิธีการอ่านที่ดี
ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ปรัชญา (ปฺรัดยา, ปฺรัดชะยา) น. วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง.
อภิปรัชญา (อะพิปฺรัดยา, อะพิปฺรัดชะยา) น. ปรัชญาสาขาหนึ่ง ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา.
โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดินและพระราชทรัพย์สำหรับจัดทำแปลงเกษตรผสมผสาน สนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อทดลองค้นคว้าหารูปแบบการประกอบอาชีพของชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และเป็นสถานที่ฝึกอบรมการเกษตรภาคปฏิบัติให้นักศึกษาและประชาชนที่สนใจนำไปประยุกต์ใช้ เช่น โครงการพัฒนาส่วนพระองค์เขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ชุมพร อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร.
จริยศาสตร์ น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม.
จินตนิยม น. ขบวนการในประวัติศาสตร์ของปรัชญาและศิลปะที่เน้นการเป็นตัวของตัวเอง เป็นอิสระจากกฎเกณฑ์และระเบียบการที่ยึดถือกันมา นักปรัชญาและศิลปินของขบวนการนี้ถือว่าอารมณ์ ความรู้สึกสำคัญกว่าเหตุผล
ญาณวิทยา (ยานะวิดทะยา, ยานนะวิดทะยา) น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยบ่อเกิด ลักษณะ หน้าที่ ประเภท ระเบียบวิธี และความสมเหตุสมผลของความรู้.
ตรรกศาสตร์ น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการคิดหาเหตุผลว่าจะสมเหตุสมผลหรือไม่, ใช้ว่า ตรรกวิทยา ก็มี.
ประสบการณ์นิยม (ปฺระสบกาน-) น. ลัทธิทางปรัชญาที่ถือว่าประสบการณ์เป็นบ่อเกิดของความรู้ทุกอย่าง
พุทธตันตระ (-ตันตฺระ) น. นิกายหนึ่งในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ซึ่งเกิดขึ้นจากการนำหลักพิธีกรรมของฮินดูตันตระมาผสมกับหลักปรัชญาปารมิตาของนิกายมาธยมิกะหรือศูนยวาท.
ภารตวิทยา น. วิชาที่เกี่ยวกับประเทศอินเดีย มีศาสนา ปรัชญา วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษา วรรณคดี เป็นต้น.
มนุษยศาสตร์ (มะนุดสะยะ-, มะนุดสาด) น. วิชาว่าด้วยคุณค่าทางจิตใจและงานของคน มีศิลปะ วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ศาสนา และปรัชญา. (ส. มนุษฺย + ศาสฺตฺร).
โลกายัต น. ชื่อหนึ่งของลัทธิปรัชญาฝ่ายวัตถุนิยมของอินเดีย ถือว่าโลกนี้เกิดจากการรวมตัวกันเองของวัตถุธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม ชีพหรือชีวิตเป็นเพียงผลิตผลของวัตถุธาตุที่รวมตัวกันนั้น คนเราเกิดครั้งเดียว ตายแล้วขาดสูญ ไม่มีโลกหน้า จึงควรแสวงหากามสุขเสียแต่วันนี้ พรุ่งนี้เราอาจตาย, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นอุจเฉททิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าตายแล้วสูญ, จารวาก ก็เรียก.
วัชรยาน น. ชื่อหนึ่งของลัทธิพุทธตันตระ ซึ่งถือว่ามีหลักปรัชญาสูงเหนือธรรมชาติ มีความแข็งเหมือนเพชร ใสเหมือนอากาศ ไม่มีใครต้านทานได้เหมือนสายฟ้า จึงเรียกหลักปรัชญานั้นว่า วัชระ และเรียกลัทธิว่า วัชรยาน.
เวทานต์, เวทานตะ ชื่อปรัชญาอินเดียฝ่ายพระเวท.
ศิลปศาสตร์ น. วิชาต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่วิชาทางเทคนิค หรือทางอาชีพ เช่น ภาษาศาสตร์ ปรัชญา ประวัติศาสตร์
ศูนยวาท น. ปรัชญาฝ่ายมหายานที่ถือว่า (๑) โลกเป็นศูนยะ คือ ไม่ใช่สิ่งจริงแท้ถาวร (๒) นิพพานก็เป็นศูนยะ คือ ไม่มีวาทะหรือลัทธิใด ๆ สามารถบรรยายได้ถูกต้องครบถ้วน, มาธยมิกะ ก็เรียก.
เศรษฐกิจพอเพียง น. ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเป็นแนวทางการดำรงชีวิตและปฏิบัติตนของประชาชนตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง ไม่ประมาท ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตให้รอดพ้นจากวิกฤติ มีความมั่นคงและยั่งยืนท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ.
สมัยใหม่ น. สมัยปัจจุบัน เช่น ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ปรัชญาสมัยใหม่.
สุนทรียศาสตร์ น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยความงาม และสิ่งที่งามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ.
สูตร ๒ ข้อความทางปรัชญาที่เรียบเรียงร้อยกรอง หรือย่อขึ้นไว้สำหรับท่องจำ เช่น โยคสูตร นยายสูตร สูตรสนธิ.
อาตมัน น. อัตตาหรือดวงวิญญาณ ซึ่งศาสนาและปรัชญาฮินดูถือว่าเที่ยงแท้ถาวร.
อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
political philosophy; philosophy, political ปรัชญาการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
political philosophy ปรัชญาการเมือง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
philosophy, political; political philosophy ปรัชญาการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
philosophy, political ปรัชญาการเมือง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
philosophy, process ปรัชญากระบวนการ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
philosophy, social ปรัชญาสังคม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
process philosophy ปรัชญากระบวนการ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
social philosophy ปรัชญาสังคม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
metaphysical painting จิตรกรรมแนวอภิปรัชญา [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Metaphysical poet กวีแนวอภิปรัชญา [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
metaphysics อภิปรัชญา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Women philosophers นักปรัชญาสตรี [TU Subject Heading]
Alienation (Philosophy) ความผิดแปลกสภาวะ (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Authenticity (Philosophy) ลักษณะของแท้ (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Buddhism and philosophy พุทธศาสนากับปรัชญา [TU Subject Heading]
Buddhist philosophy พุทธปรัชญา [TU Subject Heading]
Charity การให้ทาน (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Children and philosophy เด็กกับปรัชญา [TU Subject Heading]
Comparison (Philosophy) การเปรียบเทียบ (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Constructivism (Philosophy) ทฤษฎีแนวคิด (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Criticism (Philosophy) วิจารณ์ (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Ideals (Philosophy) อุดมคติ (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Identity (Philosophical concept) เอกลักษณ์ (แง่ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Image (Philosophy) ภาพลักษณ์ (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Individuation (Philosophy) ปัจเจกบุคคล (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Instinct (Philosophy) สัญชาตญาณ (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Islam and philosophy ศาสนาอิสลามกับปรัชญา [TU Subject Heading]
Law (Philosophy) กฎหมาย (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Metaphysics อภิปรัชญา [TU Subject Heading]
Metaphysics in literature อภิปรัชญาในวรรณกรรม [TU Subject Heading]
Peace (Philosophy) สันติภาพ (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Philosophers นักปรัชญา [TU Subject Heading]
Philosophers, Ancient นักปรัชญาสมัยโบราณ [TU Subject Heading]
Philosophers, Medieval นักปรัชญาสมัยกลาง [TU Subject Heading]
Philosophers, Modern นักปรัชญาสมัยใหม่ [TU Subject Heading]
Philosophy ปรัชญา [TU Subject Heading]
Philosophy and religion ปรัชญากับศาสนา [TU Subject Heading]
Philosophy and science ปรัชญากับวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading]
Philosophy in literature ปรัชญาในวรรณกรรม [TU Subject Heading]
Philosophy of mind ปรัชญาของจิต [TU Subject Heading]
Philosophy of nature ปรัชญาธรรมชาติ [TU Subject Heading]
Philosophy, Ancient ปรัชญาสมัยโบราณ [TU Subject Heading]
Philosophy, Asia ปรัชญาเอเชีย [TU Subject Heading]
Philosophy, Chinese ปรัชญาจีน [TU Subject Heading]
Philosophy, Comparative ปรัชญาเปรียบเทียบ [TU Subject Heading]
Philosophy, English ปรัชญาอังกฤษ [TU Subject Heading]
Philosophy, French ปรัชญาฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Philosophy, Greek (Modern) ปรัชญากรีกสมัยใหม่ [TU Subject Heading]
Philosophy, Hindu ปรัชญาฮินดู [TU Subject Heading]
Philosophy, Indic ปรัชญาอินเดีย [TU Subject Heading]
Philosophy, Islamic ปรัชญาอิสลาม [TU Subject Heading]
Philosophy, Medieval ปรัชญาสมัยกลาง [TU Subject Heading]
Philosophy, Modern ปรัชญาสมัยใหม่ [TU Subject Heading]
Philosophy, Taoist ปรัชญาเต๋า [TU Subject Heading]
Philosphy, Confucian ปรัชญาขงจื้อ [TU Subject Heading]
Philosphy, Thai ปรัชญาไทย [TU Subject Heading]
Power (Philosophy) อำนาจ (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Practice (Philosophy) การปฏิบัติ (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Process philosophy ปรัชญากระบวนการ [TU Subject Heading]
Self (Philosophy) อัตตา (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Semantics (Philosophy) อรรถศาสตร์ (ปรัชญา) [TU Subject Heading]
Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
อภิปรัชญา [aphipratyā = aphipratchayā] (n) EN: metaphysics   FR: métaphysique [f]
คำถามทางปรัชญา [khamthām thāng pratyā] (n, exp) EN: philosophical questions  FR: question philosophique [f]
ความคิดปรัชญา [khwāmkhit pratyā = pratchayā] (n, exp) EN: philosophical thinking  FR: pensée philosophique [f]
นักปรัชญา [nakpratyā = nakpratchayā] (n) EN: philosopher  FR: philosophe [m]
นิติปรัชญา [nitipratyā = nitipratchayā] (n, exp) EN: philosophy of law
พุทธปรัชญาเถรวาท [Phutthapratjā thērawāt] (n, exp) EN: Theravada Buddhist Philosophy
ปรัชญา [pratyā = pratchayā] (n) EN: philosophy ; gnosis ; prajna  FR: philosophie [f] ; gnose [f]
ปรัชญาอเมริกัน [pratyā Amērikan] (n, exp) EN: American Philosophy  FR: philosophie américaine [f]
ปรัชญาแห่งชีวิต [pratyā haeng chīwit] (n, exp) EN: philosophy of life  FR: philosophie de l'existence [f]
ปรัชญาอินเดีย [pratyā Indīa] (n, exp) EN: Indian Philosophy  FR: philosophie indienne [f]
ปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ [pratyā Indīa samai bōrān] (n, exp) EN: Ancient Indian Philosophy
ปรัชญาจีน [pratyā Jīn] (n, exp) EN: Chinese Philosophy  FR: philosophie chinoise [f]
ปรัชญาการเมือง [pratyā kānmeūang] (n, exp) EN: political philosophy  FR: philosophie politique [f]
ปรัชญากรีก [pratyā Krīk] (n, exp) EN: Greek Philosphy  FR: philosophie grecque [f]
ปรัชญาเมธี [pratyāmēthī = pratchayāmēthī] (n) EN: philosopher  FR: philosophe [m]
ปรัชญาภาษา [pratyā phāsā] (n, exp) EN: philosophy of language  FR: philosophie du langage [f]
ปรัชญาสตรี [pratyā sattrī] (n, exp) EN: philosophy of women
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง [pratyā sētthakit phøphīeng = pratchayā sētthakit phøphīeng] (n, exp) EN: sufficiency economy philosophy
ปรัชญาญี่ปุ่น [pratyā Yīpun] (n, exp) EN: Japanese Philosophy  FR: philosophie japonaise [f]
ปรัชญาตะวันตก [prawat pratyā Tawan-tok] (n, exp) EN: history of Western Philosophy  FR: histoire de la philosophie occidentale [f]
English-Thai: Longdo Dictionary
homoeopathy [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย
English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
doctrine (n) ทฤษฎี, See also: หลักการ, ปรัชญา, คำสอนทางศาสนา, Syn. philosophy, religious doctrine
ens (n) การมีตัวตน (ทางปรัชญาป, See also: เอกลักษณ์, Syn. existence
entity (n) เอกลักษณ์ (ทางปรัชญา), Syn. existence
epistemology (n) การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีของธรรมชาติและความรู้, See also: ปรัชญาวิทยาแขนงหนึ่ง
esthetics (n) สุนทรียศาสตร์สาขาหนึ่งของวิชาปรัชญาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสวยความงาม, Syn. aestheticism, aesthetics
etiology (n) การศึกษาทางปรัชญาที่เกี่ยวกับสาเหตุและต้นกำเนิด, Syn. aetiology
intellectualism (n) ความเชื่อที่ว่าความรู้มาจากการคิดอย่างมีเหตุผล (ทางปรัชญา)
liberal arts (n) ศิลปศาสตร์, See also: การศึกษาที่เน้นทางพื้นฐานทางวัฒนธรรม เช่น สาขาวิชาวรรณคดี ปรัชญา ภาษา ประวัติศาสตร์ เป็
metaphysical (adj) เกี่ยวกับอภิปรัชญา, Syn. mystical, spiritual, transcendental
metaphysically (adv) ทางอภิปรัชญา
metaphysics (n) อภิปรัชญา, Syn. epistemology, ontology, cosmology
philosopher (n) นักปราชญ์, See also: นักปรัชญา, ปราชญ์, Syn. guru, sage, thinker
philosophical (adj) เกี่ยวกับปรัชญา, See also: ซึ่งยึดหลักปรัชญา, Syn. esoteric
philosophically (adv) โดยยึดหลักปรัชญา
philosophy (n) หลักปรัชญา, See also: หลักความจริงของชีวิต, Syn. axiom, truth
philosophy (n) วิชาปรัชญา
Plato (n) นักปรัชญาชาวกรีก (ช่วง 427 -347 ปีก่อนคริสตกาล)
Platonic (adj) เกี่ยวกับเพลโต, See also: เกี่ยวกับปรัชญาของเพลโต
stoic (n) ผู้นับถือปรัชญาของ Stoic
stoicism (n) การนับถือปรัชญาของ Stoic
theosophy (n) ความคิดด้านปรัชญาหรือศาสนาที่ยึดหลักเทววิทยา, See also: เทวหลักการ, Syn. spiritualism
thinker (n) นักคิด, See also: นักปรัชญา, Syn. sage, intellectual, savant, philosopher
yang (n) หลักปรัชญาจีน (หยาง)
yoga (n) ปรัชญาศาสนาฮินดูที่สอนให้ควบคุมจิตใจและร่างกาย
English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
absolute idealism ปรัชญาที่เกี่ยวกับ absolute idea -absolute idealist n.
academism (อะแคค' ดิมิสซึม) n. academicism. สำนักปรัชญาที่ก่อตั้งโดย
academy (อะแคด' ดิมี) โรงเรียน, สำนัก, สภา, สถาบันการศึกษา, กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ,สำนักปัญญาปรัชญาของ Plato, วิทยสถาน, Syn. school
aristotelianism (อะริสโทเทล'เยินนิสซึม) n. ปรัชญาคำสอนของอริสโตเติล
axiology (แอคซิออล'โลจี) n. สาขาปรัชญาที่เกี่ยวกับคุณค่าต่าง ๆ ศีลธรรมจรรยา ความสวยงามและศาสนา. -axiological adj. -axiologist n. (branch of philosophy)
juniorate (จูน'ยะเรท) n. หลักสูตรปรัชญา2ปี
metaphysics (เมททะฟิซ'ซิคซฺ) n. สาขาปรัชญาที่เกี่ยวกับความจริงในธรรมชาติ,ปรัชญา (โดยเฉพาะในสาขาต่าง ๆ ที่เข้าใจได้ยาก)
mode (โมด) n. วิธีการ,แบบ,ลักษณะการกระทำ (เกี่ยวกับปรัชญาKant) ,ความเป็นจริงหรือการเป็นอยู่หรือความเป็นไปได้,แบบนิยม,แฟชั่น,สมัยนิยม
moment (โม'เมินทฺ) n. ขณะนั้น,ชั่วครู่,ขณะ,ความสำคัญ,ความสำคัญของขณะนั้น,โอกาส,ผลที่ตามมา,ลักษณะของสิ่งของ (ปรัชญา), Syn. minute, weight, Ant. triviality
momentum (โมเมน'ทัม) n. แรงแห่งการเคลื่อนที่,แรงกระตุ้น,แรงผลักดัน,ปริมาณการเคลื่อนที่ของวัตถุหรือระบบที่เท่ากับผลคูณของมวลของวัตถุกับความเร็วของมัน;P; (ปรัชญา) ลักษณะของสิ่งของ pl. momenta,momentums, Syn. movement, motion, impulse, Ant. inerti
pascal ปาสกาลเป็นชื่อภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่นิยมใช้กันมากพอสมควร มักใช้ในการสอนวิชามโนทัศน์ในการเขียนโปรแกรม ผู้คิดภาษานี้ชื่อ Niklaus Wirth แต่ตั้งชื่อภาษาตามชื่อของนักคณิตปรัชญาคนสำคัญคนหนึ่งคือ Blaise Pascalดู high level language ประกอบ
ph d abbr. Philosophiae Doctor ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต,=Doctor of Philosophy (ดู)
ph. d. abbr. Philosophiae Doctor ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต,=Doctor of Philosophy (ดู)
philosopher (ฟิลิส'ซะเฟอะ) n. นักปรัชญา,ปรัชญาเมธี,ปราชญ์,ผู้รู้หลักธรรม,ผู้ที่ปลงตก,ผู้เล่นแปรธาตุ,ผู้มีใจเยือกเย็น ไม่สะทกสะท้านต่อภยันตราย,ผู้เล่นแปรธาตุ ุ, See also: philosophership n.
philosophic (ฟิลละซอฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับปรัชญา,ยึดหลักปรัชญา,คัมภีรภาพ,ไม่ดิ้นรน,ยึดหลักธรรมะ,ธรรมะธัมโม,ปลงตก,มีเหตุและเยือกเย็น
philosophical (ฟิลละซอฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับปรัชญา,ยึดหลักปรัชญา,คัมภีรภาพ,ไม่ดิ้นรน,ยึดหลักธรรมะ,ธรรมะธัมโม,ปลงตก,มีเหตุและเยือกเย็น
philosophy (ฟิลอส'ซะฟี) n. ปรัชญา,ระบบปรัชญา,หลักปรัชญา,ระบบหลักการ,สาขาวิชาทั้งหมด (ยกเว้นแพทยศาสตร์,วิชากฎหมาย และศาสนศาสตร์) ,ธรรมะ,วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ,จริยศาสตร์,ความรักวิชาอย่างคลั่งไคล้
plato (เพล'โท) n. นักปรัชญาชาวกรีก (เมื่อ427-347ปีก่อนคริสตกาล)
property (พรอพ'เพอที) n. ทรัพย์สิน,ทรัพย์สมบัติ,สมบัติ,ที่ดิน,สิทธิครอบครอง,กรรมสิทธิ์, (ปรัชญา) ,ลักษณะที่ไม่สำคัญ, (ละคร) เครื่องประ-ดับหรืออุปกรณ์, Syn. possessions, holding, attibute, trait, feature
rousseau (รูโซ') n. Jean Jacques (ค.ศ.1712-78) นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส
socrates (ซอค'ระทีซ) n. (399-469 ปีมาก่อนคริสตกาล) นักปรัชญาชาวกรีก, See also: Socratic adj.
sophist (ซอฟ'ฟิสทฺ) n. (ประวัติศาสตร์กรีก) ชนชั้นอาจารย์ปรัชญาและศิลปะการพูด
stoic (สโท'อิค) adj. เกี่ยวกับหลักการขจัดตัณหาราคะ,ปลงตก,stoic,=stoical (ดู) . n. สมาชิกหรือผู้ยึดถือหลักปรัชญาของสำนักหลักปรัชญาดังกล่าว,, See also: stoic n. ผู้ปฎิบัติตามหลักปรัชญาดังกล่าว
subject (ซับ'จิคทฺ) n. เรื่อง,กรณี,ประเด็น,บัญหา,ข้อ,หัวข้อ,สาขาวิชา,สาเหตุ,มูลเหตุ,ประชากร,ข้า,ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน,ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา,ผู้รับการทดสอบ, (ไวยากรณ์) ประธานประโยค, (ปรัชญา) ตัวหลัก,ตัวของตัวเอง. adj. ภายใต้การควบคุม,เปิดเผย,อยู่ในสังกัด,อยู่ในความควบคุม,
subsist (ซับซิสทฺ') vi. มีอยู่,ยังชีพ,ยังอยู่,อยู่รอด,ประทังชีพ,ดำรงชีพ, (ปรัชญา) ดำรงอยู่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด., Syn. exist, love, be, occur, endure
subsistent (ซัยซิส'เทินทฺ) adj. มีอยู่,ยังชีพ,อยู่รอด,ดำรงชีพ,ประทังชีพ,ฝังติด,ประจำตัว n. (ปรัชญา) สิ่งที่มีอยู่หรือเป็นของจริง
universal (ยูนิเวอ'เซิล) adj. สากล,เกี่ยวกับจักรวาล,ทั้งหมด,ทั่วไป,มีผลทั่วไป,ทุกหนทุกแห่ง,ทั้งมวล,n. (ปรัชญา) ข้อเสนอสำหรับทุกชนชั้น,มโนธรรมทั่วไป,ลักษณะเฉพาะทั่วไป,ข้อต่ออเนกประสงค์ (หรือuniversal joint) ., See also: universalness n.
yin and yang (ยิน แอนด์ แยง) n. (หลักปรัชญาและศาสนาในจีน) หลักการตรงกันข้ามสองอย่าง/ลบปรือบวก/มืดหรือสว่างเป็นต้น
yoga (โย'กะ) n. (ปรัชญาอินเดีย) โยคะ -Yogic adj. -Yogism n.
English-Thai: Nontri Dictionary
metaphysical (adj) เกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยความจริงในธรรมชาติ
metaphysics (n) ปรัชญาว่าด้วยความจริงในธรรมชาติ
philosopher (n) นักปราชญ์,นักปรัชญา,ปรัชญาเมธี,ผู้เล่นแร่แปรธาตุ
philosophic (adj) เกี่ยวกับปรัชญา,ที่ยึดหลักปรัชญา,ซึ่งปลงตก,ไม่ดิ้นรน
philosophize (vi) คิดอย่างปรัชญาเมธี,ปลงตก,ยึดหลักปรัชญา,ศึกษาธรรมะ
philosophy (n) ปรัชญา,จริยศาสตร์,ธรรมะ
Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )
哲学 [てつがく, tetsugaku] ปรัชญา
German-Thai: Longdo Dictionary
Philosophie (n) |die, pl. Philosophien| ปรัชญา เช่น Unsere Philosophie lautet: Kunden sind König. ปรัชญาของเราคือ ลูกค้าเป็นพระเจ้า (แปลตรงๆ คือ ลูกค้าคือพระมหากษัตริย์)
Pragmatismus (n) |der, nur Sg.| ปฏิบัตินิยม, หลักการหรือปรัชญาที่ว่าผลของการปฏิบัติเป็นแกนหรือความหมายของความรู้

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ



Are you satisfied with the result?


Discussions