การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ป.4 dltv

คูม ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู ูส อน) เพอ่ื การจัดการเรยี นรูโดยใชก ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๔ (ฉบับปรบั ปรุงครัง้ ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

คูม ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู ูส อน) เพอ่ื การจัดการเรยี นรูโดยใชก ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๔ (ฉบับปรบั ปรุงครัง้ ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ก คำนำ ดว้ ยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รชั กาลที่ ๑๐ ทรงมงุ่ หมายให้การศึกษาบ่มเพาะ สมรรถนะให้แก่ผู้เรียน เพื่อสร้างคุณลักษณะสำคัญ ๔ ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ ๑) มีทัศนคติที่ดีและ ถูกต้อง ๒) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทำ ๔) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระราช ปณธิ านในการสบื สาน รกั ษา พฒั นาต่อยอด โครงการในพระราชดำริของพระราชบดิ า จึงทรงพัฒนาการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกด้าน อาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณเ์ ทคโนโลยี บุคลากร และ กระบวนการจัดการศึกษา เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สร้างโอกาสการเข้าถึง การเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ผ่านการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจำนวน ๑๕ ช่องสัญญาณ ไปยังโรงเรียนตา่ ง ๆ และผู้สนใจทั่วประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยเป็นสังคมแห่งปัญญามีจิตอาสา ในการสรรค์สรา้ งและพัฒนาประเทศใหม้ ่นั คง การสอนออกอากาศทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเรียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผ่านทางเว็บไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTV ของมูลนิธิ และมีคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงครบทั้ง ๘ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ซึง่ ครูปลายทางสามารถปรับกจิ กรรมการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกับชมุ ชน ท้องถิ่น วัฒนธรรม และบรบิ ทของแต่ละโรงเรียน คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ฉบับนี้ เป็นการปรับปรุงครั้งที่ ๒ ซึ่งดำเนินการโดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยความร่วมมือจากคณะทำงาน ประกอบด้วย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ และครูผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง ๘ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ เพื่อให้ครูปลายทางใช้ในการเตรียมการสอนล่วงหน้า รวมทั้งสามารถจัดเตรียมเอกสาร ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนเกิดประสิทธิผล นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ การจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นประถมศึกษาขนาดเลก็ ต่อไป นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมุ่งมั่นพัฒนา ยกระดับคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยให้ เข้มแขง็ สมดัง พระราชปณธิ าน “...การศึกษาคือความม่ันคงของประเทศ...” ขอพระองคท์ รงพระเจริญ มลู นิธกิ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ค สารบัญ คูม่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ าสงั คมศึกษา ระดับประถมศกึ ษา ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ คำนำ ก หนงั สอื รับรองความร่วมมอื การพฒั นาคู่มอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ เพ่อื การสอนออกอากาศทางไกลผ่านดาวเทียม ข สารบัญ ค คำช้ีแจงการรบั ชมรายการออกอากาศด้วยระบบทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ซ ตอนท่ี ๑ วิชาสงั คมศึกษา ๑ คำชแี้ จงรายวชิ าสงั คมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒ ๑๑ คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุม่ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๓ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๕ โครงสร้างรายวิชาสงั คมศึกษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๘ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เร่อื ง รู้เทา่ ทนั สนิ คา้ และบรกิ าร ๒๒ ๓๗ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรื่อง ความหมายสนิ ค้าและบรกิ าร ๔๙ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒ เรื่อง ประเภทของสินค้าและบริการ ๖๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ เรือ่ ง ประโยชน์ของสินค้าและบริการ ๗๘ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ เรื่อง การเลือกซ้ือสินค้าและบริการ ๙๔ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๕ เรอ่ื ง ปจั จยั ทมี่ ผี ลต่อการเลือกซื้อสนิ คา้ และบริการ ๑๑๐ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๖ เรื่อง การคุม้ ครองผบู้ ริโภค ๑๒๓ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗ เร่อื ง สทิ ธิพน้ื ฐานของผูบ้ ริโภค ๑๔๐ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๘ เรอ่ื ง เคร่ืองหมายรับรองคุณภาพสนิ คา้ และบริการ ๑๕๖ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง หลกั เกณฑ์ในการตดั สินใจเลอื กซ้ือสินคา้ และบรกิ าร ๑๕๗ แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ๑๖๐ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ เร่ือง ชีวิตดีตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑๗๔ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง เศรษฐกจิ พอเพียง ๑๘๗ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒๐๑ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓ เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒๑๖ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ เร่ือง การเก็บออมตามแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๕ เร่ือง การดำรงชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ง แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ ๒๒๗ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๓ เรือ่ ง วิถีชีวติ เศรษฐกจิ ชุมชน ๒๒๘ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ เรื่อง เศรษฐกิจในชุมชน ๒๓๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง ลักษณะอาชพี ในชุมชน ๒๔๗ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ เรื่อง ลักษณะของอาชีพในชมุ ชนของตนเอง ๒๖๓ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๔ เรอ่ื ง บทบาทของอาชพี ต่าง ๆ ในชุมชน ๒๘๐ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ เรื่อง การพ่ึงพาอาศยั กันทางเศรษฐกจิ ในชมุ ชน ๒๙๓ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๖ เร่อื ง บทบาทการพงึ่ พาอาศัยกนั ทางเศรษฐกิจของกลมุ่ คนในชมุ ชน ๓๐๗ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๗ เรื่อง ผลดขี องการพึ่งพาอาศัยกันทางเศรษฐกจิ ของชมุ ชน ๓๑๙ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๘ เรื่อง การสร้างความเข้มแขง็ ในชมุ ชน ๓๒๙ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๙ เรื่อง ลักษณะของชุมชนทพ่ี ึ่งพาตนเอง ๓๔๐ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๐ เรอ่ื ง การมีสว่ นรว่ มกบั เศรษฐกจิ ชมุ ชน ๓๕๒ แบบประเมินตนเอง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๓ ๓๖๔ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๔ เร่ือง เงินทองเปน็ ของมคี ่า ๓๖๕ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เรื่อง ความหมายของเงิน ๓๖๘ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง ประเภทของเงิน ๓๗๙ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ เร่ือง ความสำคัญของเงนิ ๓๙๑ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ เรื่อง หน้าท่เี บื้องตน้ ของเงินในระบบเศรษฐกจิ ๔๐๔ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๕ เรื่อง สกลุ เงนิ สำคัญทใี่ ช้ในการซือ้ ขายระหวา่ งประเทศ ๔๑๗ แบบประเมนิ ตนเอง หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๔ ๔๓๑ บันทกึ การเรยี นรู้ (Learning Logs) ๔๓๒ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๕ เรอ่ื ง การอยรู่ ่วมกนั อย่างสนั ติสขุ ตามวถิ ีประชาธิปไตย ๔๓๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง พลเมืองดีในชุมชน ๔๓๗ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง การปฏิบัตติ นเปน็ พลเมืองดตี ามวิถีประชาธปิ ไตย ๔๕๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรอ่ื ง หลกั ธรรมในการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี ๔๖๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรื่อง การปฏิบตั ิตนของสมาชกิ ในชุมชน ๔๗๙ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง บทบาทความรับผิดชอบผู้นำและผู้ตามท่ีดี ๔๙๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๖ เรอ่ื ง แนวทางการปฏิบตั ิตนในฐานะผู้นำและผู้ตามท่ีดี ๕๐๔ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๗ เร่ือง ผู้นำและผูต้ ามในสังคมประชาธิปไตย ๕๑๘ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๘ เรอ่ื ง งานกลุ่มดมี ปี ระสิทธิภาพ ๕๓๐ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๙ เรื่อง ความขดั แยง้ ๕๔๑

จ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑๐ เรอ่ื ง ปัญหาและสาเหตขุ องการเกิดความขัดแยง้ ๕๕๔ ในชวี ิตประจำวนั ๕๖๖ ๕๗๗ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๑ เร่ือง แนวทางแกไ้ ขปัญหาความขดั แยง้ ๕๗๘ แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๕ ๕๘๑ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๖ เร่ือง สิทธเิ ด็ก ๕๙๘ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง สิทธทิ ่ีจะมีชีวิตรอดและสิทธิท่ีจะไดร้ บั การปกป้องคมุ้ ครอง ๖๑๕ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ เรื่อง สทิ ธทิ จี่ ะไดร้ บั การพัฒนาและสทิ ธิท่จี ะมีสว่ นร่วม ๖๒๘ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอ่ื ง สทิ ธขิ นั้ พืน้ ฐานทเ่ี ดก็ ทกุ คนพึงไดร้ ับตามกฎหมาย ๖๔๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ เร่อื ง ปกป้องสทิ ธขิ องตนเอง ๖๔๒ แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๖ ๖๔๕ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๗ เรอ่ื ง วัฒนธรรมไทย ๖๖๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เรอื่ ง ความหมายของวฒั นธรรม ๖๗๖ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง ประเภทของวัฒนธรรม ๖๙๐ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓ เรื่อง ความแตกต่างทางวัฒนธรรม ๗๐๘ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ เร่ือง วัฒนธรรมของแตล่ ะท้องถ่ิน ๗๐๙ แบบประเมนิ ตนเอง หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๗ ๗๑๓ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๘ เรื่อง การเมอื งการปกครองไทย ๗๒๗ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง สถาบันพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยตามระบอบประชาธิปไตย แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย ๗๔๐ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ เร่อื ง ลกั ษณะสำคญั ของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ๗๕๒ ๗๖๖ ของไทย ๗๘๑ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ เรือ่ ง อำนาจอธิปไตย ๗๙๕ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ เร่ือง ความสำคัญของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย ๘๐๗ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๖ เรอ่ื ง บทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลอื กตั้ง ๘๑๘ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๗ เรอ่ื ง คุณสมบัติของผู้มีสิทธใิ นการเลือกตัง้ ๘๓๑ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๘ เรอื่ ง ความสำคัญของการไปใช้สิทธิในการเลือกต้งั ๘๓๒ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๙ เรื่อง กจิ กรรมประชาธิปไตย ๘๓๓ แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๘ บนั ทึกการเรียนรู้ (Learning Logs) บรรณานุกรม

ฉ ภาคผนวก ๘๓๔ ภาคผนวก ก. แบบประเมินรวม (สงั คมศกึ ษา) ๘๓๙ ๘๔๐ ตอนที่ ๒ วิชาประวตั ิศาสตร์ ๘๕๐ คำช้ีแจงรายวชิ าประวตั ิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๕๑ คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๕๒ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๕๓ โครงสร้างรายวิชาประวตั ิศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๕๗ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง ย้อนรอยไทย ๘๗๘ ๘๙๗ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง การนบั และการเทยี บศักราช ๙๑๗ ๙๓๗ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒ เรื่อง ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ ๙๕๕ ๙๗๔ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ ๙๙๒ ๑๐๑๐ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ เรอ่ื ง ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ไทย ๑๐๑๑ ๑๐๑๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๕ เรอ่ื ง หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ ๑๐๑๖ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๖ เรอ่ื ง ประเภทหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ๑๐๓๗ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๗ เรอ่ื ง เกณฑก์ ารจำแนกหลักฐานท่พี บในท้องถ่ิน ๑๐๕๕ ๑๐๗๖ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๘ เรอ่ื ง การสืบค้นเร่ืองราวในทอ้ งถนิ่ ๑๐๙๙ แบบประเมินตนเอง หน่วยท่ี ๑ ย้อนรอยไทย ๑๑๒๑ บนั ทึกการเรยี นรู้ (Learning Logs) หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ เรือ่ ง ภูมิใจในทอ้ งถน่ิ ๑๑๔๗ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง การต้ังถนิ่ ฐานและการดำเนินชีวิตของมนษุ ย์ ๑๑๗๐ สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ เรื่อง หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรท์ ีแ่ สดงพฒั นาการ ของมนุษยท์ พ่ี บในท้องถน่ิ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรือ่ ง พัฒนาการของมนุษยส์ มัยประวตั ศิ าสตร์ในดนิ แดนไทย แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง แคว้นโบราณในดินแดนไทย แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง แควน้ โบราณในดนิ แดนไทย (แคว้นทวารวดี แควน้ ละโว)้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ เรอ่ื ง แควน้ โบราณในดนิ แดนไทย (แควน้ ลงั กาสกุ ะ แคว้นศรวี ิชัย แควน้ ตามพรลิงค์) แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๗ เรอ่ื ง แควน้ โบราณในดินแดนไทย (แคว้นโคตรบูรณ์ แควน้ หรภิ ุญชัย) แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๘ เรื่อง การตงั้ ถิน่ ฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของคนสมัยสโุ ขทยั

ช แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๙ เรื่อง การต้งั ถน่ิ ฐานและการดำเนินชวี ติ ของคน สมยั อยธุ ยาและธนบรุ ี ๑๑๙๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๐ เร่ือง การตง้ั ถิน่ ฐานและการดำเนนิ ชวี ิตของคน สมยั รัตนโกสนิ ทร์ ๑๒๑๖ แบบประเมินตนเอง หนว่ ยที่ ๒ ภูมิใจในทอ้ งถ่นิ ๑๒๓๗ บนั ทกึ การเรยี นรู้ (Learning Logs) ๑๒๓๘ บรรณานุกรม ๑๒๓๙ ภาคผนวก ภาคผนวก ก. แบบประเมินรวม (ประวตั ิศาสตร์) ๑๒๔๐ ภาคผนวก ข. แผนผงั ความคิด (Graphic Organizers) ๑๒๔๘ ภาคผนวก ค. แบบบันทกึ การเรยี นรู้ ( Learning Logs) ๑๒๕๗ คณะจัดทำค่มู ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับประถมศึกษา (คร้งั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑) ๑๒๖๕ คณะกรรมการปรับปรงุ คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระดับประถมศึกษา (ฉบับปรับปรงุ ครั้งท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๖๓) ๑๒๖๙

ซ คำช้ีแจง การรับชมรายการออกอากาศดว้ ยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้บริการการจัดการเรยี นการสอนจาก สถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม จำนวน ๑๕ ช่องรายการ ทั้งรายการสด (Live) และ รายการยอ้ นหลัง (On demand) สามารถรับชมผา่ นชอ่ งทาง ตอ่ ไปนี้ ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV - ระบบ Android เข้าท่ี Play Store/Google Play พิมพ์คำวา่ DLTV - ระบบ iOS เข้าที่ App Store พมิ พ์คำวา่ DLTV หมายเลขช่องออกอากาศสถานวี ทิ ยโุ ทรทัศน์การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ๑๕ ช่องรายการ ช่อง ช่อง (TRUE) รายการในเวลาเรยี น รายการนอกเวลา (DLTV) (ชว่ งเวลา ๐๘.๓๐–๑๔.๓๐ น.) (ช่วงเวลา ๑๔.๓๐–๐๘.๓๐ น.) DLTV ๑ ชอ่ ง ๑๘๖ รายการสอนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ สถาบันพระมหากษตั ริย์ DLTV ๒ ชอ่ ง ๑๘๗ รายการสอนช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒ ความรรู้ อบตวั DLTV ๓ ชอ่ ง ๑๘๘ รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี DLTV ๔ ช่อง ๑๘๙ รายการสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม DLTV ๕ ช่อง ๑๙๐ รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ ศลิ ปวัฒนธรรมไทย DLTV ๖ ชอ่ ง ๑๙๑ รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ หนา้ ทพ่ี ลเมือง DLTV ๗ ช่อง ๑๙๒ รายการสอนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร DLTV ๘ ชอ่ ง ๑๙๓ รายการสอนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาษาต่างประเทศ DLTV ๙ ชอ่ ง ๑๙๔ DLTV ๑๐ ช่อง ๑๙๕ รายการสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ การเกษตร DLTV ๑๑ ช่อง ๑๙๖ DLTV ๑๒ ชอ่ ง ๑๙๗ รายการสอนช้ันอนบุ าลปีที่ ๑ รายการสาํ หรับเด็ก-การเล้ยี งดลู กู DLTV ๑๓ ชอ่ ง ๑๙๘ DLTV ๑๔ ชอ่ ง ๑๙๙ รายการสอนชัน้ อนบุ าลปที ี่ ๒ สุขภาพ การแพทย์ DLTV ๑๕ ชอ่ ง ๒๐๐ รายการสอนชน้ั อนบุ าลปที ี่ ๓ รายการสำหรบั ผู้สูงวัย รายการของการอาชพี วงั ไกลกงั วล และมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล รายการของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช รายการพฒั นาวิชาชพี ครู *หมายเหตุ : รายการสอนออกอากาศในเวลาเรียนระดบั ชนั้ ปฐมวัย ช่วงเวลา ๐๘.๓๐–๑๑.๓๐ น.

ฌ การติดต่อรับขอ้ มูลขา่ วสาร ๑. มูลนธิ ิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ เลขท่ี ๒๑๔ ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนสั เขตป้อมปราบศตั รพู า่ ย กรงุ เทพมหานคร โทร. ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถานวี ิทยโุ ทรทัศนก์ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ซอยหวั หิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตำบลหัวหิน อำเภอหวั หิน จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๑๕ ๔๕๗–๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕ ๙๕๑ [email protected] (ตดิ ตอ่ เรอ่ื งเวบ็ ไซต์) [email protected] (ติดตอ่ เรอื่ งทวั่ ไป) ๓. โรงเรียนวงั ไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ อำเภอหวั หิน จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๒๒ ๓๔๗, ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ Facebook : โรงเรยี นวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ช่องทางการตดิ ตามขา่ วสาร Facebook : มูลนิธิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

ตอนท่ี ๑ วชิ าสังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑ ตอนท่ี ๑ วชิ าสังคมศกึ ษา

๒ ค่มู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สังคมศึกษา ป.๔) คำช้แี จง รายวิชาสงั คมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑. แนวคิดหลัก หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดสาระการเรยี นรู้ จำนวน ๘ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนำความรู้ด้านเน้ือหาวิชามาจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยการฝึกทักษะให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และเกิดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕ ประการ และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๘ ประการ ดงั นี้ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการสือ่ สารเปน็ ความสามารถในการรับสารและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใชภ้ าษา ๒) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างเป็นระบบเพ่ือนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพอ่ื ใช้ในการตัดสินใจ เกย่ี วกบั ตนเอง สงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการเข้าใจและเคารพตนเอง สามารถนำ กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การ ทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ ความขัดแย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยี การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้องเหมาะสม มีคุณธรรมด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพัฒนาตนเอง สงั คมในด้านการเรียนรู้ การส่อื สาร การทำงาน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุ ข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลเมอื งโลก ดงั น้ี ๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒) ซือ่ สัตย์ สุจริต ๓) มีวินัย ๔) ใฝเ่ รยี นรู้ ๕) อยอู่ ย่างพอเพยี ง ๖) มุง่ มั่นในการทำงาน ๗) รักความเป็นไทย ๘) มีจติ สาธารณะ

คำชีแ้ จง รายวชิ าสังคมศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคมท่ีมีความเชื่อม สัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างอย่างหลากหลาย เพ่ือช่วยให้สามารถปรบั ตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็น พลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสม เป็นวิชาท่ีประกอบด้วยหลาย แขนงสาระ ทำให้มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ เป็นการนำวิชาต่าง ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เข้าด้วยกัน เช่น ภมู ิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ นิตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ เป็นต้น กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมประกอบด้วย ๒ รายวชิ า คอื วิชาสงั คมศึกษาและวิชาประวตั ศิ าสตร์ วชิ าสังคมศึกษากำหนดสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ดังน้ี ๑) ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๒) หน้าทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ๓) เศรษฐศาสตร์ ๔) ภูมิศาสตร์ ซ่ึงช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ การดำรงชีวิตของมนุษย์ ท้ังในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจำกัด มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอิทธิพลของสภาพแวดล้อม ที่มีผลต่อการ ดำรงชีวิต การอยู่ร่วมกันในสังคม การเปลี่ยนแปลงตามเหตุปัจจัยต่าง ๆ เกิดความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น ปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เป็นพลเมืองที่รับผิดชอบ มีความสามารถทางสังคม มีความรู้ มีทักษะและมคี ุณธรรม มคี วามอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และเพ่ือเกดิ ค่านยิ มท่ีเหมาะสม มุ่งหวัง ให้ผู้เรียนเกิดความเจริญงอกงามด้านความรู้ โดยการให้ความรู้แก่ผู้เรียนด้านเนื้อหาสาระ ความคิดรวบยอด และหลักการสำคัญในสาขาต่าง ๆ สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เป็นกำลังของชาติ เป็นพลเมืองดขี องประเทศชาติ และสังคมโลก หลักการออกแบบกิจกรรมมีการบูรณาการด้านคุณลักษณะ ในแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีคำนึงถึง คุณลักษณะท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มีทักษะการพัฒนาค่านิยมและเจตคติท่ีดีในการประพฤติปฏิบัติตน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของสังคมหลังการเรียนรู้ สอดคล้องตามเป้าหมายของหน่วย การเรียนรู้ มีเจตคติท่ีดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และมีจิตอาสา ครูผู้สอนควรปลูกฝัง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้แก่ผู้เรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และเป็นคนดขี องสังคม ๒. กระบวนการจัดการเรียนรู้ แนวคิดสำคัญของการจัดศึกษา ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนคิดและลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการที่หลากหลาย เพื่อเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองเต็มตาม ศกั ยภาพ การประเมนิ การเรยี นรจู้ ึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างย่ิง ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน เพราะสามารถทำใหผ้ ้สู อนประเมนิ ระดับพัฒนาการเรียนรขู้ องผูเ้ รียน การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนมคี วามสำคัญที่สดุ กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ตามศักยภาพ ให้ความสำคัญของการบูรณาการความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสม ของระดบั การศึกษา ได้ระบุใหผ้ ู้ที่เก่ยี วข้องดำเนินการ ดงั นี้

๔ คูม่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (สงั คมศึกษา ป.๔) ๑) สถานศกึ ษาและหน่วยงานที่เก่ยี วข้อง (๑) จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มา ใชเ้ พือ่ ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทำได้ คิดเป็น ทำเปน็ รกั การอา่ น และเกิดการใฝ่รู้อยา่ งต่อเน่ือง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้งั ปลกู ฝงั คณุ ธรรม คา่ นิยมทด่ี ีงาม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ไว้ในทุกวชิ า (๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียน และ อำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยให้เป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งน้ีผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือการเรียนการสอน และแหล่ง วิทยาการประเภทต่าง ๆ (๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับพ่อแม่ ผ้ปู กครอง และบคุ คลในชมุ ชนทุกฝา่ ย เพ่อื ร่วมกนั พัฒนาผเู้ รยี นตามศักยภาพ ๒) การจัดสภาพแวดล้อมสง่ เสริมการเรียนรู้ (๑) จัดสภาพแวดล้อม ห้องเรียน หรือภายนอกห้องเรียน ให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ สะอาด มีความเป็นระเบียบ ตกแต่งห้องเรียนให้น่าอยู่ มีมุมต่าง ๆ ในห้องเรียน มีท่ีเก็บวัสดุอุปกรณ์ และง่ายต่อการ นำมาใช้ มีป้ายนิเทศให้ความรู้ ภายนอกห้องเรียนจัดบรรยากาศให้เป็นธรรมชาติน่าอยู่ ร่มร่ืนและเหมาะกับ กิจกรรมการเรียนรู้ ถกู สขุ ลักษณะและปลอดภยั (๒) จัดสภาพแวดล้อมหรอื ห้องใหผ้ ูเ้ รียนไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ิการ (๓) จัดส่ือ อปุ กรณ์ทเี่ ก่ียวกับการเรียนรู้อยา่ งเพียงพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเครื่องมือแสวงหาความรู้ หรือช่องทางเสนอข่าวสารต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับรู้ ข้อมูลขา่ วสารที่ทันสมยั ปจั จุบันอยู่เสมอ ๓) ครผู ู้สอน การจัดการเรียนรู้ตามแนวดงั กล่าว จำเป็นตอ้ งเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมการเรียนการสอนท้ังของ ผู้เรียนและผู้สอน กล่าวคือลดบทบาทของครูผู้สอน จากการเป็นผู้บอกเล่า บรรยาย สาธิต เป็น การวางแผนจัดกิจกรรมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ กิจกรรมต่าง ๆ จะต้องเน้นที่บทบาทของผูเ้ รียนตั้งแตเ่ รม่ิ คือ ร่วมวางแผนการเรียน การวัดผล ประเมินผล และต้องคำนึงว่ากิจกรรมการเรียนน้ัน เน้นการพัฒนา กระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติ ศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการต่าง ๆ จากแหล่งเรียนรู้ หลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห์ การแก้ปัญหา การมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน การสร้างคำอธิบายเก่ียวกับ ขอ้ มลู ท่ีสบื ค้นได้ เพ่ือนำไปสู่คำตอบของปัญหาหรือคำถามต่าง ๆ และสร้างองคค์ วามรู้ ทั้งนี้กิจกรรมการเรียนรู้ เหลา่ น้ีต้องพฒั นาผเู้ รยี นให้มพี ัฒนาการเหมาะสมตามวัย ท้ังทางรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา

คำช้ีแจง รายวชิ าสังคมศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕ หลักการจัดกระบวนการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา มุ่งพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้การ ดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมและการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข ตลอดจนสามารถนำเอาความรู้ ความ เข้าใจนั้นไปปรับใช้ให้เข้ากับสภาพสังคมที่แปรเปลี่ยนได้อย่างเหมาะสม สมดุลและยั่งยืน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มี ทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะทางสังคม ทักษะการคิด ทักษะการตัดสินใจ และทักษะการแก้ปัญหา ที่ใช้ในการดำเนินชีวิตของผู้เรียน ให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม ในการสร้างพลเมืองดีของประเทศ อันเป็นรากฐานของพลโลกต่อไป ดังนั้น การจดั การเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาจึงต้องใช้วิธีการเรยี นรู้ท่ีจะช่วยสร้าง เสริมเติมเต็มประสบการณ์ให้ผู้เรียนไดใ้ ชส้ ตปิ ัญญา ความรู้ ความคิด ความสามารถ ทักษะ ค่านิยม และเจตคติ ท่ีดี ตลอดจนต้องจัดให้เหมาะสมกับวัยและวุฒิภาวะของผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีส่วนจัดการเรียนรู้ของตนเอง พัฒนาและขยายความคดิ ของตนเองจากความรู้ที่เรยี น กระบวนการเรียนรู้วิชาสังคมศกึ ษา ๑. การพัฒนาทักษะทางปัญญา เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะด้าน ความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาสาระของวิชา อันประกอบด้วยเคร่ืองมือช่วยคิด กระบวนการคิด เช่น การคิด วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดแก้ปัญหาและคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนความรู้ที่ได้จาก การบูรณาการท่ีเชื่อมโยงเป็นสาระเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ จากสภาพแวดล้อม ๒. การพัฒนาทักษะทางสังคม เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะท่ีเน้น การฝึกปฏิบัติจริงเพ่ือสร้างผู้เรียนให้มีทกั ษะชีวิตพื้นฐาน เช่น ทักษะการรู้จักตนเอง ทักษะการคิด การตัดสินใจ และการแก้ปัญหา ทักษะการแสวงหาข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ทักษะการปรับตัว ทักษะการส่ือสารและสร้าง สัมพนั ธภาพ ทักษะการวางแผนและการจัดการ และทักษะการทำงานเป็นทมี ๓. การพัฒนาเจตพิสัยและคุณลักษณะ เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะ การพัฒนาค่านิยมและเจตคติท่ีดีในการประพฤติปฏิบัติตนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของสังคม เชน่ ความขยนั ประหยดั ซ่อื สตั ย์ อดทน โดยยึดหลักธรรมมาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของผ้เู รียน การออกแบบและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสังคมจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบท้ังความรู้ ทักษะ และเจตคติเพ่ือใช้ในการปลูกฝังและส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดหรือมีวิธีการคิด ดังนั้น การจัดการ เรียนรู้ต้องเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และส่งเสริมการจัดแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายอันเป็นพื้นฐานของ การเสริมสรา้ งความรู้ ความคดิ ประสบการณ์ และปลกู ฝังเจตคตทิ ด่ี ใี นสงั คมอยา่ งมีคุณภาพ เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทัศนศึกษานอกสถานที่ การเรียนรู้จาก หอ้ งสมุด แหล่งเรียนรจู้ ากภูมิปัญญาท้องถ่ิน ปราชญ์ชาวบา้ น งานวิเคราะห์จากการศึกษาภาคสนาม พิเคราะห์ แหล่งข้อมูล การสอนแบบให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยอิสระจากศูนย์การเรียนรู้และการเรียนรู้ตามความสนใจ การสอนวิชาสงั คมไม่ควรจำเจอย่ใู นหอ้ งเรียนอยา่ งเดยี ว การเรียนรู้โดยผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ได้แก่ เกม การศึกษาสถานการณ์จำลอง กรณีตัวอย่าง บทบาท สมมุติ โครงงาน การทดลอง ศิลป์สร้างสรรค์การสอน การเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการกลุ่ม ประกอบด้วย การอภิปรายกลุ่มย่อย การแกป้ ัญหากลุม่ สืบคน้ ความรู้ กลมุ่ สมั พนั ธ์ การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื การอภปิ ราย

๖ คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (สังคมศึกษา ป.๔) การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ได้แก่ การแก้สถานการณ์ การถามตอบ การสืบสอบ ความคิดรวบ ยอด การพัฒนากระบวนการคิด การใช้ทักษะกระบวนการ การสอนโดยใช้วิธีการต้ังคำถามผู้เรียน การเรียน การสอนเน้นความจำ การเรียนการสอนโดยใช้แผนผังความคิด (Graphic Organizers) การเรียนการสอน กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสอนกระบวนการคิด ๑๐ มิติ การคิดเปรียบเทียบ การคิดสังเคราะห์ การคิดประยุกต์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การคิดกลยุทธ์ การคิดบูรณาการ การคิดมโนทัศน์ การคิดอนาคต การคดิ วิพากษ์ การเรียนรู้ผ่านส่ือเทคโนโลยี ได้แก่ โปรแกรมสำเร็จรูป ชุดการสอน ชุดการสอนรายบุคคล ชุด การสอนสำหรับการเรียนเป็นกลุ่มย่อย ชุดการสอนประกอบคำบรรยายของครู คอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ การนำเสนอโดยวีดทิ ัศน์ นอกจากน้ันครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดย การร่วมมือระหว่างครูกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ครูต้องลดบทบาทในการสอนโดยเป็นผู้ช้ีแนะ กระตุ้นให้ ผเู้ รียนกระตือรอื รน้ ท่จี ะเรยี นรู้ และปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ มากขน้ึ และอย่างหลากหลาย ดังน้ี ๑) ควรใหน้ ักเรยี นทกุ คนมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการเรียนรู้ตลอดเวลาดว้ ย การกระตนุ้ ให้นักเรียนลงมอื ปฏิบัติและอภิปรายผล เชน่ แบ่งกลุ่มให้อภิปราย แสดงบทบาทสมมุติ จัดนิทรรศการดว้ ยตนเอง โดยใช้เทคนิค ต่าง ๆ ของการสอน เช่น การนำเข้าสู่บทเรียน การใช้คำถาม การเสริมพลังมาใช้ให้เป็นประโยชน์ ที่จะทำให้ การเรียนการสอนน่าสนใจและมีชีวติ ชีวา ๒) ครูควรมีการวางแผนการใช้คำถามอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อจะนำนักเรียนเข้าสู่บทเรียนและลงข้อสรุป ได้โดยท่ีไมใ่ ช้เวลานานเกนิ ไป ครคู วรเลือกใชค้ ำถามทม่ี ีความยากงา่ ยพอเหมาะกับความสามารถของนักเรียน ๓) เมื่อนักเรียนถาม อย่าบอกคำตอบทันที ควรให้คำแนะนำท่ีจะช่วยให้นักเรียนหาคำตอบได้เอง ครูควรให้ความสนใจต่อคำถามของนักเรียนทุก ๆ คน แม้ว่าคำถามน้ันอาจจะไม่เกี่ยวกับเร่ืองที่กำลังเรียนอยู่ ก็ตาม ครูควรจะช้ีแจงให้ทราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลับมาสู่เรื่องท่ีกำลังอภิปรายอยู่ สำหรบั ปัญหา ท่นี กั เรยี นถามมานน้ั ควรจะได้หยบิ ยกมาอภปิ รายในภายหลงั ๔) การสำรวจตรวจสอบซ้ำ เป็นส่ิงจำเป็นเพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือ ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู้ครู ควรยำ้ ให้นกั เรียนไดส้ ำรวจตรวจสอบซำ้ เพอ่ื นำไปสขู่ ้อสรุปท่ีถกู ต้องและเชื่อถือได้ ครูควรเลือกเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนจริงหรือกำลังเกิดข้ึนกับสังคมมาเป็นตัวอย่างในการสอนวิชาสังคม นักเรียนจะได้เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงเหตุการณ์ของคนท่ัวไปมาเกริ่นนำเพ่ือโยงสัมพันธ์กับเร่ืองที่สอน หรือนำ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาอภิปราย ร่วมกันกำหนดหัวข้อให้ครอบคลุมเรื่องท่ีสอน นักเรียนได้ปฏิบัติจริงหรือสร้าง สถานการณจ์ ำลองให้ทดลองปฏบิ ัติ ๓. สอ่ื การจดั การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้ สื่อการจัดการเรยี นรู้ เป็นเครอื่ งมือสง่ เสรมิ สนับสนุนการจดั กระบวนการเรียนรูใ้ หน้ กั เรยี นไดร้ ับความรู้ ทักษะกระบวนการได้ง่ายในระยะเวลาสั้นและช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดอย่างถูกต้องและรวดเร็วสื่อ ทป่ี รากฏในแผนการจัดการเรียนรมู้ ีดังนี้

คำชีแ้ จง รายวิชาสงั คมศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๗ ๑) ใบความรู้ ใบงาน แผนภาพนำเสนอขอ้ มลู ๒) บัตรภาพ ๓) เกม/เพลง/นิทาน ๔) คลปิ /วีดิทศั น/์ ภาพข่าวสถานการณ์ปัจจบุ นั ๕) สถานการณส์ มมตุ ิ ๖) สอ่ื บคุ คล แหลง่ เรยี นรู้ เปน็ เครอื่ งมือสร้างคณุ ลักษณะการใฝเ่ รียนรูท้ ่ีทุกคนต้องใฝ่รูต้ ลอดชีวิต ดงั นี้ ๑) แหลง่ เรยี นร้ภู ายในโรงเรียน ๒) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ได้แก่ ชุมชน ท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ห้องสมุดประชาชน ห้องสมดุ แหง่ ชาติ ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีสำคัญและเป็นหัวใจสำคญั ของผู้เรียนในการศึกษาค้นคว้า โรงเรียนควร จัดห้องสมุดกลาง ห้องสมุดหมวดวิชา มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องสมุดเคลื่อนที่ รถเคล่ือนท่ี ห้องสมุดประชาชน ลว้ นเป็นแหลง่ เรียนร้จู ะทำให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นร้แู ละปลูกฝังลกั ษณะนิสัยท่ีดีในการส่งเสรมิ นิสยั รักการอ่าน ๓) แหล่งเรียนรอู้ อนไลน์ - สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน - สำนกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั ตา่ ง ๆ - กระทรวงวฒั นธรรม ฯลฯ ๔. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์สำคัญของการประเมินการเรียนรู้คือการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัต ถุประสงค์ ที่ผู้สอนหรือหลักสูตรวางไว้ ปัญหาที่พบในปัจจุบันก็คือ ผู้บริหาร ผู้สอน ตลอดจนผู้ปกครองเป็นจำนวนมาก ยังให้ความสำคัญการเรียนรู้แบบท่องจำเพื่อสอบหรือการเรียนรู้เพื่อแข่งขัน ซึ่งถือเป็นการเรียนรู้แบบผิวเผิน มากกว่า การประเมินการเรียนรู้ระหวา่ งเรียนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาตนเองซึ่งผลลัพธ์ของการเรียนร้จู ะย่งั ยืนกวา่ (กุศลนิ มุสิกลุ , ๒๕๕๕; ขจรศกั ดิ์, เพญ็ จนั ทร์ และวรรณทิพา รอดแรงค้า, ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนนั้นจำเป็นต้องมีการประเมิน การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ต้ังแต่เริ่มต้นระหว่างและสิ้นสุดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้การประเมินในรูปแบบ ที่หลากหลายสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้รูปแบบการประเมิน การเรียนรู้ ได้แก่ การประเมิน การเรียนรู้ระหว่างเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรู้สรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพ่ือ พัฒนาการเรียนรู้และการประเมินตามสภาพจริงนั้น ผู้สอนจำเป็นต้องสะท้อนการประเมิน ให้ผู้เรียนรับทราบ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผู้สอนต้องนำผลการประเมินมาพิจารณาเพ่ือทบทวนและปรับแผนการจัด การเรียนรู้เพ่ือให้สามารถดำเนินการแก้ไข ช่วยเหลือ หรือหาวิธีการต่าง ๆ เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนแต่ละคนเกิด

๘ คมู่ ือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สงั คมศึกษา ป.๔) การเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตามแต่ละจุดประสงค์การเรียนรู้หรือเป้าหมายของตัวชี้วัดต่าง ๆ (กุศลิน มุสิกุล, ๒๕๕๕ ) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐาน ๒ ประการ คือ การประเมิน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพื่อการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบ ความสำเร็จน้ัน ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รยี น ซึง่ เปน็ เป้าหมายหลกั ในการวัดและประเมิน การเรยี นรใู้ นทุกระดบั (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๒) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ ให้ความสำคัญของการประเมิน พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิ ดังน้ี ๑) วิธกี ารประเมิน (๑) การวดั และประเมนิ กอ่ นเรียน เพ่ือตรวจสอบความพรอ้ มและความรู้เดมิ ของผเู้ รียน (ผสมผสานในกจิ กรรมการเรียนรู้ข้นั นำ) (๒) การวดั และประเมินระหวา่ งเรียน ไดแ้ ก่ ดา้ นความรู้ ทักษะการปฏบิ ัติ และคุณลกั ษณะ โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพร้อมแสดงเหตุผล ตรวจช้ินงาน การนำเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรม การเรยี นรู้ขั้นสอน) จดุ มุ่งหมายของการประเมนิ ระหว่างเรียน มดี ังนี้ (๒.๑) เพ่ือค้นหาและวินิจฉัยว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเน้ือหา มีทักษะความชำนาญ รวมถึงมีเจตคติทางการเรียนรู้อย่างไรและในระดับใด เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สอนสามารถวางแผนการจัด กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างเหมาะสม เพือ่ พฒั นาการเรียนรู้ของผเู้ รยี นได้อย่างเต็มศกั ยภาพ (๒.๒) เพอ่ื ใชเ้ ป็นขอ้ มูลป้อนกลับใหก้ ับผเู้ รียนวา่ มีผลการเรียนรอู้ ย่างไร (๒.๓) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้าน การเรียนรูข้ องผูเ้ รียนแตล่ ะคน (๓) การวัดและประเมินหลังเรียน เพ่ือตรวจสอบความสำเร็จตามจุดประสงค์รายแผนเป็น การพัฒนาในจุดท่ีผู้เรียนอาจจะเข้าใจคลาดเคล่ือนหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง (ผสมผสานในกิจกรรมข้ันสรุป) และ เพ่ือตัดสินผลการจัดการเรียนรู้ เป็นการประเมินหลังจากผู้เรียนได้เรียนไปแล้ว ผลจากการประเมินประเภทนี้ ใช้ประกอบการตดั สนิ ผลการจัดการเรยี นการสอน หรอื ตดั สินใจว่าผเู้ รียนคนใดควรจะไดร้ บั ระดับคะแนนใด (๔) ประเมินรวบยอดเม่อื สิ้นสุดหนว่ ยการเรยี นรู้ ดำเนนิ การ ดังนี้ การประเมินโดยครูผู้สอน เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนว่าบรรลุเป้าหมายของหน่วย การเรียนรู้ตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัด สมรรถนะ คุณลักษณะ และเจตคติ หรือไม่ เช่น การทำโครงงาน การนำ ความรู้ไปใชเ้ พือ่ พฒั นาสงั คมในรูปแบบต่าง ๆ การประเมินโดยผู้เรียนแตล่ ะคน โดยการทำแบบบันทึกการเรียนรู้ (Learning log) ควรให้ ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อเปิดโอกาสได้สะท้อนคิดส่ิงท่ีเรียนรู้ทั้งท่ีทำได้ดีและยังต้องพัฒนา (ตัวอย่างแบบบันทึกการเรียนรู้ ดูภาคผนวก ค.) ควรให้ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ย่อยหลังจบการเรียนรู้ แต่ละหน่วยการเรียนรู้ และประเมินการเรียนรู้รวมในช่วงกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน โดยครูสามารถ

คำชแ้ี จง รายวชิ าสังคมศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๙ เลือกใช้ชุดคำถามและจำนวนข้อให้เหมาะสมกับบรบิ ทของผ้เู รียน ชว่ งเวลาและธรรมชาติของแต่ละวชิ า ท้ังนใ้ี น ครั้งแรกครูควรทำร่วมกับนักเรียนเพื่อแนะนำวิธีการเขียนแบบสะท้อนคิด และควรอ่านส่ิงที่นักเรียนบันทึก พร้อมให้ข้อมูลย้อนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสร้างสรรค์ รวมท้ังใช้ประโยชน์จากข้อมูลในแบบบันทึกเพ่ือ พัฒนาการสอนของตวั เองและช่วยเหลอื นักเรียนเปน็ รายบุคคลต่อไป ๒) ผู้ประเมิน ได้แก่ เพ่ือนประเมินเพ่ือน ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินตนเอง และผู้ปกครองร่วม ประเมนิ ๕. คำแนะนำบทบาทครูปลายทางในการจัดการเรียนรู้ ครูปลายทางควรมีบทบาทการสอนคู่ขนานกับครูต้นทางในการกำกับดูแลช่วยเห ลือนักเรียนในทุก ขน้ั ตอนการสอน ดงั นี้ ๑) ขนั้ เตรียมตวั กอ่ นสอน (๑) ศึกษาทำความเข้าใจคำช้แี จงและทำความเข้าใจเช่อื มโยง ทั้งเปา้ หมาย กจิ กรรมและ การวดั ผลและประเมนิ ผลระหวา่ งหนว่ ยการเรียนรูก้ ับแผนการจัดการเรียนรรู้ ายช่วั โมง (๒) ศึกษาค้นคว้าความรู้เพ่ิมเติม จากแหล่งเรียนรู้ หน่วยงาน องค์กรท่ีให้ความรู้ที่เชื่อถือได้ รวมทั้งเทคนคิ การจัดการเรยี นรู้เพอ่ื พฒั นาความสามารถของผ้เู รยี นอย่างรอบดา้ น (๓) ปรบั /ประยุกต์หรือเพ่ิม เปา้ หมายทั้งเนื้อหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่เป็นจุดเน้น และที่เป็นปัจจุบันตามบริบทของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู้ ตามศกั ยภาพของผูเ้ รยี น และตามสภาพจริง (๔) ศึกษาคลิปบทเรียนท่ีมีการอัปโหลดล่วงหน้าเพื่อทำความเข้าใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และส่ือต่าง ๆ ท่ีครูใช้ประกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจัดกิจกรรมในข้ันตอนช่วงการปฏิบัติ ท้ังด้านวิธีการ สื่อท่ีใช้ และช่วงเวลาของการทำแต่ละกิจกรรมเพื่อนำมาวิเคราะห์และหาแนวทางเตรียม นักเรียน/ช่วยเหลือ ส่งเสริม/ อำนวยความสะดวกนักเรยี นตามบริบทของห้องเรียนของตนให้สามารถเรียนรู้ได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเต็มตามศักยภาพ (๕) เตรียมใบงาน (ท่ีคัดเลือกสำหรับมอบหมายให้นักเรียนได้ทำตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมทั้งการเตรยี มอุปกรณต์ ามระบใุ นแผนฯ และ/หรือทปี่ รากฏในคลิป (ในกรณีมกี ารปรบั เปลี่ยนเพมิ่ เตมิ ) (๖) ติดตามข้อมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมในช่วงการปฏิบัติตามกำหนดการสอนที่มี รายละเอียดของส่ือการสอน ใบงาน ใบความรู้ บนเว็บไซต์ www.dltv.ac.th ๒) ข้ันการจัดการเรยี นรู้ (๑) สร้างการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการทำกิจกรรม เช่น กระตุ้นให้นักเรียนคิด ตอบ คำถามของครูต้นทาง ฟังเฉลย และช่วยเสริม/อธิบาย/ในสิ่งท่ีนักเรียนยังไม่เข้าใจ ชมเชย/ให้กำลังใจหาก นกั เรยี นทำไดด้ ี (๒) ใหค้ วามช่วยเหลือนกั เรียนที่ตามไม่ทนั เช่น อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนสามารถเรยี นรู้ ตอ่ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ

๑๐ คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (สงั คมศึกษา ป.๔) (๓) กำกับดูแลให้มีวินัยในการเรียน เช่น ไม่เล่นหรือพูดคุยกัน ปฏิบัติตามคำส่ังในการทำ กิจกรรม ฯลฯ (๔) อำนวยความสะดวกในการเรยี นรู้ เชน่ จัดเตรียมสือ่ การเรยี นรู้/อุปกรณ์ (๕) สังเกตพฤติกรรมนักเรียน เช่น คุณลักษณะผู้เรียน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การจัดการเรียนรู้/การปฏิบัติงาน ความรู้ในบทเรียน และบันทึกข้อมูลตามแนวทางประเมินท่ีแนะนำไว้ใน แผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือนำข้อมูลไปพัฒนานักเรียนและให้ความช่วยเหลือนักเรียนท้ังชั้น/กลุ่ม/รายบุคคล ตามกรณี ๓) ขนั้ การปฏบิ ัติ (๑) ทบทวนข้ันตอนการทำกิจกรรมตามที่ครูต้นทางแนะนำ และตามข้อแนะนำการปฏิบัติที่ ระบุใน PowerPoint ตรวจสอบความเขา้ ใจ และเตรียมนกั เรยี นกอ่ นทำกิจกรรม (การแบง่ กลุ่ม ฯลฯ) (๒) กำกบั ใหก้ ารทำกิจกรรมเป็นไปตามลำดบั เวลาตามแนวทางที่ระบบุ น PowerPoint (๓) ใหค้ วามชว่ ยเหลอื นักเรยี นในระหว่างการทำกิจกรรม (๔) เตรียมพร้อมนักเรียนสำหรับกิจกรรมในข้ันตอนสรุปการเรียน (ถ้ามี) เช่น การสรุปผล ปฏิบัติงานเพอ่ื เทียบเคยี งกับผลงานทน่ี ักเรยี นต้นทางจะนำเสนอ เป็นต้น ๔) ขน้ั สรปุ (๑) กำกบั นักเรยี นใหม้ สี ว่ นร่วมในการเฉลยใบงาน/สรปุ ผลการทำกจิ กรรม ฯลฯ (๒) ทบทวนประเด็นสำคญั ท่ีมีการสรุปท้ายช่วั โมง และงาน/ใบงานท่ีครูต้นทางมอบหมายให้ ทำเปน็ การบา้ น/หรอื ใบงานทค่ี รปู ลายทางได้เลอื กมาใช้กับช้ันเรยี นของตน (๓) จัดให้นักเรียนได้ทำแบบประเมินตามระบุในหัวข้อ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (เฉพาะหลงั จบแต่ละหน่วยการเรยี นรู้และครึง่ /ปลายภาคเรียน) ๕ ) การบันทกึ ผลหลงั สอน (๑) บันทึกการจัดการเรียนรู้ของตนเอง โดยใชข้ ้อมูลจากแบบสงั เกตพฤติกรรมผู้เรียนระหวา่ ง เรียน และแบบประเมินตนเอง บันทึกการเรียนรู้ของนักเรียนเพ่ือวิเคราะห์เทคนิคหรือวิธีการใด ที่ทำให้ผู้เรียน มสี ่วนร่วม มีความรู้ มที ักษะ และคณุ ลักษณะตามจดุ ประสงค์ (๒) บันทึกสาเหตุของความสำเร็จ อุปสรรค และ/หรือข้อจำกัดท่ีเกิดขึ้น เช่น เทคนิค หรือวิธี การใด การบริหารจัดการช้ันเรียน การจัดบรรยากาศ ส่ิงแวดล้อมอย่างไร ฯลฯ ที่ทำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีความรู้ มีทักษะ และคุณลักษณะตามจุดประสงค์ โดยใช้คำถามที่ให้ไว้ใน “คำถามบันทึกผลหลังสอนสำหรับครูปลายทาง” (ดภู าคผนวก ค.) เปน็ แนวทางในการย้อนคิด ไตร่ตรองสง่ิ ท่ีเกิดขึ้นและนำไปบนั ทึกผลหลงั สอนของชัว่ โมงน้ัน ๆ (๓) วิเคราะห์และสรุปผลจากข้อมูลตามปัญหา/ความสำเร็จที่เกิดขึ้น และเสนอแนวทาง การปรับปรุง เพื่อนำมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และช่วยเหลือ/ส่งเสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ในคร้ัง ต่อไป รวมทง้ั นำไปใช้เป็นขอ้ มลู เพอ่ื พัฒนาเปน็ งานวิจยั ในชัน้ เรยี นต่อไป

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๑ คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหสั วชิ า ส๑๔๑๐๑ รายวิชาสังคมศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง ศึกษาความสำคัญของพระพุทธศาสนา ในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกชน พุทธประวัติตั้งแต่ บรรลุธรรมจนถงึ ประกาศธรรมประวตั ศิ าสดาท่ีตนนับถือตามท่ีกำหนด ปฏบิ ัตติ นตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามท่ีกำหนด การแสดงความเคารพพระ รตั นตรยั ปฏบิ ตั ิตามไตรสกิ ขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรอื หลกั ธรรมของศาสนาทตี่ นนบั ถือ ตามท่ีกำหนด การทำความดีของตนเอง บุคคลในครอบครวั โรงเรียนและชุมชนตามหลกั ศาสนา พร้อมทั้งบอก แนวปฏิบัติในการดำเนินชีวิต สวดมนต์ แผ่เมตตามีสติที่เป็นพ้ืนฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือ การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด การปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพ่อื การอยรู่ ่วมกันเป็นชาติไดอ้ ย่างสมานฉนั ท์ ประวัตศิ าสดาของศาสนาอ่ืน ๆ และมีส่วนรว่ มในการบำรุงรักษา ศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ มรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีตามท่ีกำหนด การปฏิบัติตนในศาสน พิธี พิธีกรรม และวันสำคัญทางศาสนาตามที่กำหนดได้ถูกต้อง พลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิก ที่ดีของชุมชน การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี สิทธิพ้ืนฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับตามกฎหมาย ความแตกต่างทาง วัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น วิธีการท่ีจะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในชีวิตประจำวัน อำนาจอธิปไตยและ ความสำคัญของระบอบประชาธิปไตย บทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง ความสำคัญของ สถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ปัจจัยท่ีมีผลต่อ การเลือกซื้อสินค้าและบริการ สิทธิพ้ืนฐานและรักษาผลประโยชน์ของตนเองในฐานะผู้บริโภค หลักการของ เศรษฐกิจพอเพียงและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน หน้าที่ เบื้องต้นของเงิน แผนที่ ภาพถ่าย ระบุลักษณะสำคัญทางกายภาพของจังหวัดตนเอง แหล่งทรัพยากรและ ส่ิงต่าง ๆ ในจังหวัดของตนเองด้วยแผนที่ แผนท่ีอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในจังหวัด สภาพ แวดล้อมทางกายภาพของชุมชนที่ส่งผลตอ่ การดำเนินชีวิตของคนในจังหวัด การเปลย่ี นแปลงสภาพแวดล้อมใน จังหวัดและผลท่เี กิดจากการเปล่ียนแปลงนั้น การมีสว่ นรว่ มในการอนรุ ักษส์ ่งิ แวดลอ้ มในจงั หวัด โดยการใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะการ นำไปใชอ้ ภิปรายสรุป เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะท่ีสำคัญทางสังคมศึกษา ได้ตระหนัก เห็นคุณค่า มีศรัทธา รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทย ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง ซือ่ สตั ย์สุจริต มวี นิ ยั มจี ิตสาธารณะ

๑๒ คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (สังคมศึกษา ป.๔) รหัสตัวชี้วดั ส ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔ /๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ส ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ส ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕ ส ๒.๒ ป.๔ /๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ส ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ส ๓.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ส ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ส ๕.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ รวมทง้ั หมด ๓๐ ตัวช้วี ัด

มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้วี ัด กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๓ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด รหสั วชิ า ส๑๔๑๐๑ รายวิชาสังคมศึกษา กลุม่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชท้ รัพยากรท่ีมี อยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธภิ าพและคุ้มค่า รวมทงั้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่อื การดำรงชีวิตอย่าง มีดุลยภาพ ตัวชี้วดั ป.๔/๑ ระบุปัจจยั ท่มี ีผลตอ่ การเลือกซอื้ สนิ ค้าและบริการ ป.๔/๒ บอกสิทธพิ น้ื ฐานและรักษาผลประโยชน์ของตนเองในฐานะผู้บริโภค ป.๔/๓ อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพยี งและนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็น ของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก ตัวชว้ี ดั ป.๔/๑ อธบิ ายความสำคญั ทางเศรษฐกจิ ของคนในชมุ ชน ป.๔/๒ อธบิ ายหนา้ ที่ของเงนิ สาระที่ ๒ หน้าท่พี ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษา ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดำรงชีวิตอย่รู ่วมกันในสังคมไทยและสงั คมโลกอยา่ งสันตสิ ุข ตัวชว้ี ดั ป.๔/๑ การปฏิบตั ิตนเป็นพลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธิปไตยในฐานะสมาชิกทีด่ ีของชุมชน ป.๔/๒ ปฏิบตั ิตนในการเปน็ ผ้นู ำและผ้ตู ามท่ดี ี ป.๔/๓ วิเคราะห์สทิ ธิพ้นื ฐานท่ีเดก็ ทุกคนพ่งึ ไดร้ บั ตามกฎหมาย ป.๔/๔ อธบิ ายความแตกตา่ งทางวฒั นธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น ป.๔/๕ เสนอวธิ กี ารทีจ่ ะอยู่ร่วมกันอย่างสนั ติสขุ

๑๔ คู่มอื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (สงั คมศึกษา ป.๔) มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปัจจบุ ัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซ่ึงรักษา ไว้ซ่งึ การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ตัวชีว้ ัด ป.๔/๑ อธบิ ายอำนาจอธปิ ไตยและความสำคญั ของระบอบประชาธิปไตย ป.๔/๒ อธิบายบทบาท หนา้ ที่ของพลเมืองในกระบวนการเลอื กตั้ง ป.๔/๓ อธบิ ายความสำคัญของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ ทรงเป็นประมุข

โครงสรา้ งรายวิชาสังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๕ โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา รหสั วชิ า ส๑๔๑๐๑ รายวิชาสังคมศกึ ษา ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ รวมเวลา ๕๗ ช่ัวโมง หนว่ ยที่ ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ เวลา น้ำหนัก การเรยี นรู้ เรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ดั ความคดิ รวบยอด (ชว่ั โมง) คะแนน ๑ รเู้ ท่าทนั สินค้า ส ๓.๑ : ป.๔/๑ ปัจจัยสำคัญท่ีมผี ลตอ่ ๙ ๘ และบรกิ าร : ป.๔/๒ การเลอื กซ้ือสินค้าและบริการ ๕ ๔ น้ันมหี ลายประการ ซึ่งข้นึ อยู่ กบั ผ้ซู ือ้ ผ้ขู าย ตวั สนิ ค้า ซงึ่ ผบู้ รโิ ภคมีสิทธพิ ื้นฐาน และ รกั ษาผลประโยชน์ของตนเอง ในฐานะผู้บริโภค ๒ ชวี ิตดตี ามหลกั ส ๓.๑ : ป.๔/๓ หลักการของเศรษฐกจิ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นการดำเนินชวี ติ พอเพยี ง ทางสายกลาง ยดึ หลกั ความ พอประมาณ มเี หตุผล มี ภมู ิคุม้ กนั ในตัวทดี่ ี มคี วามรู้ และคุณธรรม เม่ือนำไปใช้ ชีวติ ประจำวันจะสง่ ผลให้เกิด ชีวิตทมี่ ีดุลภาพ ๓ วิถชี ีวิตเศรษฐกิจ ส ๓.๒ : ป.๔/๑ ในแต่ละชมุ ชนยอ่ มมี ๑๐ ๙ ชุมชน อาชีพ สินค้า และบริการตา่ ง ๆ ท้ังนี้จงึ ตอ้ งมีการพ่งึ พาอาศยั กนั ทางเศรษฐกิจ การสรา้ ง คุณภาพชวี ิตให้คนในชมุ ชนอยู่ ดีกนิ ดี เป็นการสรา้ งความ เขม้ แข็งให้ชมุ ชน ๔ เงินทองเป็นของมี ส ๓.๒ : ป.๔/๒ เงนิ มหี น้าท่เี ปน็ สื่อกลางใน ๕ ๔ ค่า การแลกเปล่ียนสนิ คา้ และ บริการต่าง ๆ ในแต่ละประเทศ

๑๖ คูม่ ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สังคมศึกษา ป.๔) หน่วยท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั / เวลา นำ้ หนัก การเรียนรู้ เรยี นรู/้ ตัวช้วี ดั คะแนน ความคดิ รวบยอด (ชวั่ โมง) ๑๐ จะมีสกลุ เงินท่ีใช้ใน ๔ การแลกเปลี่ยน หากซื้อสนิ ค้า และบรกิ ารระหว่างประเทศ จะใชส้ กลุ เงนิ ทแี่ ตกต่างกนั ๕ การอยรู่ ่วมกัน ส ๒.๑ : ป.๔/๑ การปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมืองดี ๑๑ ตามวถิ ีประชาธปิ ไตยเป็นสมาชกิ ๔ อย่างสนั ติสุขตาม : ป.๔/๒ ทด่ี ีของชุมชนยอ่ มต้องเขา้ รว่ ม กจิ กรรมตามวถิ ีประชาธปิ ไตย วิถีประชาธปิ ไตย : ป.๔/๕ จะช่วยใหส้ ังคมสามารถอยู่ ร่วมกันอยา่ งสันตสิ ุข ๖ สิทธเิ ด็ก ส ๒.๑ : ป.๔/๓ ผนู้ ำที่ดีควรมีความ รบั ผิดชอบและเป็นแบบ อย่างที่ดีของสมาชกิ ผตู้ ามที่ดี ควรมีความรับผดิ ชอบในงานที่ ได้รบั มอบหมาย ถ้าผ้นู ำและ ผตู้ ามปฏิบัตติ นตามหนา้ ท่ี งานทที่ ำจะสำเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดี ปัญหาความขัดแยง้ เกดิ ได้ จากหลายสาเหตุ การลดปัญหา ความขดั แย้งดว้ ยสันติวิธี จะทำ ใหท้ กุ คนอยู่ร่วมกันในสงั คมได้ อย่างมีความสขุ สทิ ธิของเด็กเป็นสิทธิที่เด็กพงึ ไดร้ ับตามหลกั สิทธิมนุษยชน และตามกฎหมาย คือสทิ ธิท่ี จะมชี ีวติ สทิ ธทิ ่ีจะได้รับ การปกป้อง สิทธิทจ่ี ะได้รับ การพฒั นาและสทิ ธิท่ีจะมี สว่ นร่วม

โครงสร้างรายวชิ าสังคมศกึ ษา กลุม่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๗ หน่วยที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ เวลา น้ำหนัก การเรียนรู้ คะแนน เรียนรู้/ตัวชี้วัด ความคิดรวบยอด (ชวั่ โมง) ๓ ๗ วัฒนธรรมไทย ส ๒.๑ : ป.๔/๔ วฒั นธรรมเปน็ แบบแผนใน ๔ การดำเนนิ ชวี ิตทีป่ ฏบิ ัติ สืบทอดต่อกันมาเป็นเวลา ชา้ นาน เป็นสิง่ ทีแ่ สดงถงึ ความเจรญิ ของมนุษย์ ในแต่ละ ภูมภิ าคจะมวี ัฒนธรรมแตกตา่ ง กนั ข้ึนอยู่กบั สภาพแวดล้อม และวิถชี วี ิตของผู้คนในแตล่ ะ ท้องถิ่น เช่น การแตง่ กาย ภาษา อาหาร ๘ การเมือง ส ๒.๒ : ป.๔/๑ ประเทศไทยปกครองด้วย ๙ ๘ การปกครองไทย : ป.๔/๒ ระบอบประชาธิปไตยอนั มี : ป.๔/๓ พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ ทรงเปน็ ศนู ยร์ วม จิตใจของคนไทย มี รฐั ธรรมนูญเปน็ กฎหมาย สูงสุดของประเทศ และมี อำนาจอธิปไตยเปน็ อำนาจ สงู สุดในการปกครอง ประชาชนมีบทบาท หนา้ ท่ี เสรภี าพ และปฏบิ ัตติ นเป็น พลเมอื งดตี ามระบอบ ประชาธิปไตย รวมตลอดภาคเรยี น ๕๗ ๕๐

๑๘ คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (สังคมศึกษา ป.๔) หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ ร้เู ท่าทนั สนิ ค้าและบริการ

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เรือ่ ง รู้เท่าทันสนิ คา้ และบริการ ๑๙ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง รเู้ ทา่ ทันสนิ คา้ และบรกิ าร รหัสวชิ า ส๑๔๑๐๑ รายวชิ าสงั คมศึกษา กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๙ ชัว่ โมง ๑. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้วี ดั สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต และการบริโภค การใช้ ทรัพยากรท่ีมีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ การดำรงชีวติ อย่างมีดลุ ยภาพ ตวั ชีว้ ดั ป. ๔/๑ ระบุปจั จยั ที่มผี ลตอ่ การเลอื กซอื้ สินค้าและบริการ ป. ๔/๒ บอกสทิ ธิพ้ืนฐาน และรกั ษาผลประโยชน์ของตนเองในฐานะผบู้ รโิ ภค ๒. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการน้ันมีหลายประการ ซ่ึงขึ้นอยู่กับผู้ซื้อ ผู้ขายตัว สินค้า ซึ่งผู้บริโภคมีสิทธพิ ้นื ฐาน และรกั ษาผลประโยชน์ของตนเองในฐานะผบู้ รโิ ภค ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ ๑. บอกความหมายของสินค้าและบรกิ ารไดถ้ กู ต้อง ๒. อธิบายประเภทของสินคา้ และบริการได้ ๓. อธิบายประโยชน์ของสินค้าและบรกิ ารได้ ๔. อธบิ ายหลกั การเลือกซื้อสินคา้ และบรกิ ารได้ ๕. บอกปจั จยั ในการเลอื กซือ้ สินค้าและบรกิ ารได้ ๖. บอกเป้าหมายในการคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภคได้ ๗. อธิบายสญั ลักษณห์ รือเครอ่ื งหมายรบั รองคุณภาพสินคา้ และบริการได้ ๘. อธิบายสญั ลักษณ์หรือเครอ่ื งหมายรับรองคุณภาพสินค้าและบริการได้ ๙. บอกหลกั การในการเลอื กซ้อื สนิ คา้ และบริการได้ ทกั ษะ/กระบวนการ ๑. ศึกษาเรียนรู้ดว้ ยกระบวนการกลุ่ม ๒. การจำแนกประเภทของสินค้าและบรกิ าร ๓. การวิเคราะหเ์ กี่ยวกบั ประโยชนข์ องสนิ ค้าและบริการ ๔. แสดงบทบาทสมมตกิ ารเลอื กซ้อื สินค้าและบรกิ าร

๒๐ คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (สังคมศึกษา ป.๔) ๕. วิเคราะหส์ ถานการณป์ จั จยั ในการเลอื กซ้ือสนิ ค้าและบรกิ าร ๖. รกั ษาสิทธแิ ละผลประโยชนข์ องตนเองในฐานะผบู้ รโิ ภค ๗. วเิ คราะหเ์ กี่ยวกับสทิ ธิพ้ืนฐานของผู้บรโิ ภค ๘. การสำรวจสินค้าและบรกิ ารทม่ี ีเคร่ืองหมายรบั รองคุณภาพ ๙. การสังเกตองค์ประกอบของฉลากสินคา้ เจตคติ ๑. นักเรียนเห็นความสำคญั ของสินคา้ และบริการ ๒. เหน็ ความสำคญั ของสินคา้ และบรกิ าร ๓. เห็นความสำคญั ของการเลือกซ้อื สนิ คา้ และบรกิ าร ๔. เห็นความสำคัญต่อปจั จัยสำคญั ท่มี ผี ลตอ่ การเลอื กซอ้ื สินค้าและบริการ ๕. ความสำคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค ๖. เหน็ ความสำคัญของสิทธพิ น้ื ฐานของผ้บู รโิ ภค ๗. เห็นความสำคัญของเคร่อื งหมายรบั รองคณุ ภาพสนิ คา้ และบริการ ๘. เหน็ ความสำคญั ของหลักการในการเลือกซื้อสนิ ค้าและบริการ ๔. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ๕. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. มวี นิ ัย ๒. ใฝเ่ รียนรู้ ๓. มงุ่ มั่นในการทำงาน ๔. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง ๖. การประเมนิ ผลรวบยอด ภาระงาน/ชิน้ งาน ๑. ใบงานที่ ๑ เร่ือง ความหมายสินค้าและบรกิ าร ๒. ใบงานที่ ๒ เรอื่ ง ประโยชนข์ องสนิ ค้าและบรกิ าร ๓. ใบงานที่ ๓ เรอื่ ง ปัจจัยทีม่ ีผลต่อการเลอื กซอื้ สินค้าและบรกิ าร ๔. ใบงานที่ ๔ เร่อื ง การคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑ เรอ่ื ง รเู้ ทา่ ทันสนิ คา้ และบริการ ๒๑ ๕. ใบงานที่ ๕ เรื่อง สิทธิพนื้ ฐานของผู้บรโิ ภค ๖. ใบงานท่ี ๖ เรอ่ื ง เคร่ืองหมายรับรองคุณภาพสินค้าและบรกิ าร ๗. ใบงานท่ี ๗ เร่ือง หลกั การเลอื กซ้อื สินค้าและบรกิ าร

๒๒ ค่มู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สงั คมศึกษา ป.๔) แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เร่ือง ความหมายสนิ คา้ และบรกิ าร หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง รู้เท่าทันสินค้าและบริการ เวลา ๑ ช่ัวโมง กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาสงั คมศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปี ๔ ๑. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วดั ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชท้ รัพยากรที่มีอยู่จำกัด ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพและคุ้มค่า รวมท้งั เขา้ ใจหลักการของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ ป.๔/๑ ระบปุ จั จัยท่ีมีผลตอ่ การเลือกซื้อสนิ คา้ และบรกิ าร ๒. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด สินคา้ ละบริการ สามารถตอบสนองความต้องการ และมีประโยชนต์ ่อการดำรงชวี ติ ของมนษุ ย์ ซง่ึ นับตั้งแตส่ ่ิงทม่ี ีอยูต่ ามธรรมชาติและส่งิ ท่ีมนษุ ยส์ ร้างขน้ึ ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) บอกความหมายของสินคา้ และบริการไดถ้ ูกตอ้ ง ๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ศกึ ษาเรยี นรดู้ ว้ ยกระบวนการกลุ่ม ๓.๓ ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) นกั เรียนเหน็ ความสำคัญของสินคา้ และบริการ ๔. สาระการเรียนรู้ ความหมายของสินค้าและบริการ ๕. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ๖. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. มวี ินัย ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๓. มุง่ มน่ั ในการทำงาน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่อื ง รเู้ ทา่ ทันสินค้าและบรกิ าร การจัดกิจกรรมการเรียนร แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ เรอ่ื รายวิชาสงั คมศึกษา ลำดับท่ี จดุ ประสงค์ ขนั้ ตอน เวลา กจิ กรร การเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ ทีใ่ ช้ ๑. ขนั้ นำ ๕ นาที ๑. ครูให้นกั เรียน ฟัน นมกล่อง ยา รถโดยสาร ของเ ตัดผมจาก Powe ๒. ครตู งั้ คำถาม ๑) จากภาพท่ีให นักเรยี นใช้สง่ิ ใดใ ชีวติ ประจำวันมา เพราะเหตุใด ๒) ในชมุ ชนทีน่ กั รถโดยสารหรอื ไม มีนกั เรยี นเดนิ ทา

๒๓ รู้ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ อง ความหมายสนิ คา้ และบรกิ าร า จำนวน ๑ ช่วั โมง แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมนิ รมครู กจิ กรรมนกั เรยี น การเรยี นรู้ นดภู าพแปรงสี ๑. นักเรียนดูภาพแปรงสฟี นั - PowerPoint ารักษาโรค นมกลอ่ ง ยารักษาโรค ภาพแปรงสฟี นั เลน่ และชา่ ง รถประจำทาง ของเล่น นมกลอ่ ง ยา erPoint และช่างตดั ผม รักษาโรค ๒. นักเรยี นตอบคำถาม รถประจำทาง หน้ กั เรยี นดู แนวคำตอบ ๑) แปรงสีฟนั ของเล่น ชา่ ง ใน เพราะต้องใชใ้ นการแปรง ตัดผม ากที่สุด ฟนั ทุกเช้าและก่อนนอน - แบบสังเกต การสังเกต กเรยี นอยู่ มี แนวคำตอบ ๒) มีรถประจำ ม่ หากไม่ ทางโดยสาร (ไม่มีรถประจำ างอย่างไร ทางโดยสาร ใชร้ ถสว่ น บุคคล)

๒๔ คู่มอื ค ลำดับท่ี จุดประสงค์ ขนั้ ตอน เวลา การเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้ ทใี่ ช้ กิจกรร ๓) หากนักเรยี นไ เครอ่ื งใชด้ งั กล่าว ของนักเรยี นเกิด ๔) ครูอธิบายสรุป คำถามและคำตอ แปรงสีฟนั นม รกั ษาโรค ของเล ประเภทสนิ คา้ ส ประจำทาง ชา่ งต การบรกิ ารอำนว สะดวกกับนักเรีย

ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (สงั คมศึกษา ป.๔) แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ การประเมิน การเรียนรู้ รมครู กจิ กรรมนักเรยี น ไม่มสี ิง่ ของ แนวคำตอบ ๓) บางส่งิ เป็น ว จะทำใหช้ ีวิต ส่ิงจำเป็นตอ่ การดำรงชีวติ ดผลอย่างไร เชน่ ยาใช้รกั ษาโรค การเจบ็ ป่วย แต่บางสิ่ง ไมจ่ ำเป็นต่อการดำรงชวี ติ เช่น ของเลน่ ปจากประเด็น อบดงั กลา่ ว มกลอ่ ง ยา ล่น เปน็ ส่วนภาพรถ ตัดผมเป็น วยความ ยน

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เรอื่ ง รเู้ ทา่ ทนั สินคา้ และบริการ ลำดบั ท่ี จุดประสงค์ ขัน้ ตอน เวลา กิจกรร การเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ ทีใ่ ช้ ๒. ๑. บอกความหมาย ขน้ั สอน ๒๐ ๑. ครใู ห้นักเรียน ของสนิ ค้าและบริการ นาที ๕ กลมุ่ ศกึ ษาใบ ไดถ้ ูกต้อง ความหมายสนิ ค ๓. ๒. บอกความหมาย ข้นั ปฏบิ ตั ิ ๒. ครใู ห้นักเรียน ของสินค้าและบริการ เกยี่ วกบั ความหม ไดถ้ ูกตอ้ ง และบรกิ าร ๓. ศึกษาเรยี นรู้ดว้ ย ๑๕ ๓. ครูให้นกั เรยี น กระบวนการกลุม่ นาที ใบงาน เรือ่ งสินค (ครปู ลายทางกำก ช่วยเหลือนกั เรยี การทำกิจกรรม)

๒๕ แนวการจดั การเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ รมครู กิจกรรมนกั เรยี น นแบ่งกล่มุ เปน็ ๑. นกั เรียนแบง่ กลุม่ เปน็ ๕ - ใบความรู้ที่ ๑ - การสังเกต บความรู้ เร่ือง กลมุ่ ร่วมกันศึกษา คา้ และบริการ ความหมายสินคา้ และ เร่อื ง ความหมาย - การประเมนิ บริการจากใบความรู้ สินค้าและ นอภปิ ราย ๒. นกั เรียนร่วมกันอภปิ ราย มายของสินคา้ เกย่ี วกับความหมายของ บริการ สินคา้ และบริการ - แบบสังเกต นแตล่ ะกลุม่ ทำ ๓. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ค้าและบริการ รว่ มกันทำใบงาน เรอ่ื ง - แบบประเมนิ กับดูแล ความหมายสนิ ค้าและ ยนระหวา่ ง บริการ - ใบงานที่ ๑ - ตรวจใบงาน เรื่อง ความหมาย - การสังเกต สินคา้ และ - การประเมนิ บรกิ าร - แบบสังเกต - แบบประเมิน

๒๖ คู่มอื ค ลำดบั จดุ ประสงค์ ขนั้ ตอน เวลา ท่ี การเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ ทีใ่ ช้ กิจกรร ๔. ๔. บอกความหมายของ ข้ันสรุป ๑๐ ๑. ครสู ุ่มกลมุ่ นกั สนิ ค้าและบริการได้ นาที ออกมานำเสนอผ ถูกต้อง หน้าชั้นเรียน ๕. นักเรยี นเห็น ๒. ครูตรวจสอบ ความสำคัญของสนิ ค้า ของผลงานนักเร และบรกิ าร ๓. ครูใหน้ ักเรียน - ความหมาย และบรกิ าร - ความสำคญั ข บริการ

ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (สังคมศึกษา ป.๔) แนวการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การประเมิน รมครู กิจกรรมนักเรยี น การเรียนรู้ กเรียนเพ่อื ๑. ตวั แทนกลุม่ ออกมา - ใบงานท่ี ๑ - ตรวจใบงาน ผลงาน ๒ กลมุ่ นำเสนอผลงาน เรื่อง ความหมาย - การสงั เกต สินค้าและ - การประเมนิ บความถูกต้อง ๒. เพื่อนนักเรยี นรว่ มกัน บรกิ าร รียน ตรวจสอบความถูกต้อง - แบบสังเกต นรว่ มกันสรุป ๓. นักเรยี นร่วมกันสรุป - แบบประเมิน ยของสนิ ค้า (สินคา้ คือ สง่ิ ทจี่ บั ตอ้ งได้ สามารถนำมาซื้อขาย ของสินคา้ และ แลกเปลีย่ นกันเพ่ือการ บรโิ ภคและอุปโภค บริการ คือ ส่ิงที่จับต้องไม่ได้ ชว่ ย อำนวยความสะดวกสบาย ให้ ความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ สินค้าและบริการสามารถ ตอบสนองความต้องการ และมปี ระโยชน์ต่อ การดำรงชวี ติ ของมนษุ ย์)

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง รเู้ ท่าทันสนิ ค้าและบริการ ๒๗ ๘. สอื่ การเรียนร้/ู แหล่งเรยี นรู้ ๑. PowerPoint ภาพสนิ ค้าและบรกิ าร ๒. ใบความรู้ เรอื่ ง ความหมายสินค้าและบริการ ๓. ใบงาน เร่ือง ความหมายสินคา้ และบรกิ าร ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน - ใบงานท่ี ๑ เร่ืองความหมายสินค้าและบริการ การวัดและประเมนิ ผล ประเด็นการ วธิ ีการ เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน วดั และประเมินผล ความรู้ ๑. ประเมินการตอบคำถาม ๑. คำถาม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ๒ ตรวจใบงานท่ี ๑ เรอ่ื ง ๒. ใบงานที่ ๑ เร่ือง รอ้ ยละ ๖๐ ทักษะ กระบวนการ ความหมายสนิ ค้าและบริการ ความหมายสนิ ค้าและบริการ ๓. การสงั เกต ๓. แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์การประเมนิ คณุ ลักษณะ เจตคติ ๔. การประเมนิ ๔. แบบประเมิน ร้อยละ ๖๐ คุณลักษณะอันพงึ ประเมินการนำเสนอและการ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ประสงค์ ทำงานร่วมกับผู้อน่ื รอ้ ยละ ๖๐ สมรรถนะสำคญั การประเมนิ แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ประเมินระดับ ของผู้เรียน คุณภาพพอใชข้ น้ึ ไป ประเมนิ มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ แบบประเมินคุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์ประเมนิ ระดบั มงุ่ มั่นในการทำงาน อนั พึงประสงค์ คณุ ภาพพอใช้ขึ้นไป ประเมินความสามารถ แบบประเมนิ สมรรถนะ ในการสื่อสาร ความสามารถ สำคญั ของผู้เรยี น ในการคดิ ความสามารถใน การแกป้ ัญหา ความสามารถ ในการใชท้ ักษะชีวิต

๒๘ ค่มู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สงั คมศึกษา ป.๔) ใบความรู้ท่ี ๑ เร่ือง ความหมายสินค้าและบริการ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑ เรอื่ ง ร้เู ท่าทันสนิ ค้าและบริการ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง ความหมายสินคา้ และบริการ รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๑๔๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔ สินค้าและบริการ หมายถึง สิ่งทต่ี อบสนอง ๑ ความตอ้ งการและมีประโยชน์ตอ่ การ ดำรงชีวติ ของมนุษย์ ซ่ึงไดแ้ ก่ สง่ิ ท่ีเกดิ ขน้ึ เองในธรรมชาติ และส่งิ ทมี่ นุษย์สร้างขนึ้ สนิ คา้ (Goods) หมายถึงสามารถมองเห็นได้ จบั ต้องหรือสมั ผัสได้ เปน็ ส่งิ ที่ สามารถนำมาซ้ือขายแลกเปลี่ยนกัน และสามารถถา่ ยโอนไปให้คนอ่นื ๆ ได้ นกั เรียนคดิ วา่ สนิ คา้ มีอะไรบ้างคะ ยกตัวอย่างให้ครไู ด้เลยค่ะ อาหาร รองเทา้ เสอ้ื ผ้า ผลไม้ โทรศพั ท์มือถือ ทม่ี าของภาพ https://วาดรูป.com

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรือ่ ง รู้เทา่ ทนั สินคา้ และบริการ ๒๙ ๒ บรกิ าร (Services) หมายถงึ สง่ิ ท่อี ำนวยความ สะดวกสบายพึงพอใจ ไม่สามารถมองเห็นได้จับต้อง หรอื สมั ผสั ไม่ไดแ้ ละไม่สามารถถ่ายโอนไปให้ผอู้ ืน่ ได้ นกั เรยี นคิดว่าบรกิ ารมีอะไรบ้างคะ ยกตัวอยา่ งให้ครู ไดเ้ ลยค่ะ ร้านอนิ เทอร์เนต็ รา้ นซกั อบ รีด ร้านตดั ผม ท่ีมาของภาพ https://วาดรปู .com

๓๐ คูม่ อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สงั คมศึกษา ป.๔) ใบงานท่ี ๑ เรอื่ ง ความหมายสินค้าและบริการ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เร่ือง รู้เท่าทนั สนิ คา้ และบรกิ าร แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ เรื่อง ความหมายสนิ คา้ และบรกิ าร รายวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๑๔๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ ตอนท่ี ๑ คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนเขยี นความหมายของสนิ คา้ และบรกิ ารให้ถกู ต้อง สนิ คา้ หมายถึง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ บรกิ าร หมายถงึ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ตอ.นที่ ๒ คำชี้แจง ให้นักเรยี นวาดสินคา้ หรือบรกิ ารท่ีตนเองใชใ้ นชวี ิตประจำวันมากท่สี ุด พร้อมระบายสี ใหส้ วยงาม ช่ือ-นามสกุล…………………………………………………….…………..……………..…ช้นั ...............................เลขที่…….........

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เรื่อง ร้เู ท่าทันสนิ คา้ และบรกิ าร ๓๑ เฉลยใบงานท่ี ๑ เร่ือง ความหมายสนิ ค้าและบริการ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง รูเ้ ท่าทันสินคา้ และบริการ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ เรื่อง ความหมายสินค้าและบริการ รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รหัสวิชา ส๑๔๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ตอนที่ ๑ คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นเขียนความหมายของสนิ คา้ และบริการให้ถกู ต้อง สินคา้ หมายถงึ สามารถมองเห็นได้ จับต้องหรอื สมั ผัสได้ เปน็ ส่ิงท่สี ามารถนำมาซ้ือขายแลกเปลีย่ นกัน และสามารถ ถา่ ยโอนไปให้คนอน่ื ๆ ได้ บริการ หมายถงึ ส่ิงท่ีอำนวยความสะดวกสบายพงึ พอใจ ไมส่ ามารถมองเห็นได้จบั ต้องหรือสัมผัสไมไ่ ด้และไมส่ ามารถ ถ่ายโอนไปใหผ้ ู้อ่ืนได้ . ตอนท่ี ๒ คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นวาดสนิ คา้ หรอื บริการท่ีตนเองใช้ในชวี ติ ประจำวนั มากท่ีสุด พร้อมระบายสี ใหส้ วยงาม คำตอบตามดุลยพินิจของครูผู้สอน

๓๒ คูม่ ือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (สงั คมศึกษา ป.๔) แบบประเมินผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน เรอ่ื ง เศรษฐกิจพอเพยี ง คำชแี้ จง ให้ครูผู้สอนประเมินผลช้ินงานหรอื ภาระงานของนักเรยี น แลว้ เขยี นเครือ่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งทต่ี รงตามหวั ขอ้ ท่ีกำหนด รายการ ีดมาก คะแนนรวม ดี รายการประเมนิ พอใ ้ช ปรับปรุง ๔๓๒ ๑ ๑๖ ๑. รูปแบบชน้ิ งาน ๒. ภาษา ๓. เนือ้ หา ๔. เวลา เกณฑ์การประเมินผลชิน้ งานหรือภาระงาน ๑. ใบงาน เร่ือง หลกั การเลือกซ้ือสินค้าและบริการ ๒ แบบบันทกึ องค์ประกอบของฉลากสนิ คา้

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่อื ง รเู้ ทา่ ทันสนิ คา้ และบริการ ๓๓ เกณฑ์ ระดับคณุ ภาพ การประเมิน ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรงุ (๑) ๑. รูปแบบ รปู แบบช้นิ งานถกู ต้อง รปู แบบช้ินงาน รปู แบบชิน้ งาน รูปแบบชน้ิ งานไม่ ชนิ้ งาน ครบถว้ นตามที่กำหนด มี ถูกต้อง น่าสนใจ ถกู ต้องเป็น ถกู ต้อง ตามท่ี ความคดิ สรา้ งสรรค์แปลก ขนาดเหมาะสม สว่ นมาก นา่ สนใจ กำหนด ผลงานไม่ ใหม่ นา่ สนใจ ขนาด สวยงาม ขนาดเหมาะสม เรียบรอ้ ย เหมาะสม สวยงาม สวยงาม ๒. ภาษา ใช้ภาษาถูกต้อง สะกดคำ ใช้ภาษาถกู ต้อง ใชภ้ าษาถกู ต้อง ใช้ภาษาและ ถูกต้อง ลายมือสวยงาม สะกดคำถกู ต้อง สะกดคำมีผดิ พลาด สะกดคำไม่ อา่ นงา่ ย ลายมืออ่านง่าย บา้ งเล็กนอ้ ย ถกู ต้อง ลายมอื ลายมืออ่านง่าย อา่ นยาก ขีดฆ่า ๓. เน้อื หา เนอื้ หาถูกต้อง สมบรู ณ์ มี เน้อื หาถูกตอ้ ง เนอ้ื หาถูกต้อง แต่ เนื้อหาไมถ่ ูกตอ้ ง ความสอดคล้องเชือ่ มโยง ตรงหัวข้อเร่ือง ขาดรายละเอยี ดใน ไม่ครอบคลมุ กัน ตรงหัวขอ้ เรื่อง รายละเอียด บางสว่ น รายละเอียดครอบคลุม ค่อนข้างครอบคลมุ ๔. เวลา ส่งชน้ิ งานก่อนเวลาท่ี สง่ ชนิ้ งานภายใน สง่ ชิ้นงานไม่ทัน ส่งช้นิ งานไมท่ ัน กำหนด เวลากำหนด กำหนด ๑ วัน กำหนดตงั้ แต่ ๒ วันข้นึ ไป เกณฑ์การใหค้ ะแนน คะแนน ๑๓-๑๖ คะแนน หมายถงึ ดีมาก คะแนน ๙-๑๒ คะแนน หมายถงึ ดี คะแนน ๕-๘ คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน ๑-๔ คะแนน หมายถงึ ปรับปรงุ เกณฑก์ ารผ่าน ตง้ั แตร่ ะดบั พอใช้ขนึ้ ไป

๓๔ คมู่ ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สังคมศึกษา ป.๔) สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ คำชี้แจง ให้ครูผ้สู อนสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนกั เรียน แล้วเขียนเคร่อื งหมาย ✓ ลงใน ชอ่ งที่ตรงกับพฤติกรรมตามหัวขอ้ ท่ีกำหนด รายการ การร่วม ิกจกรรม คะแนน การรับ ัฟงความ เลขท่ี ชื่อ–สกลุ คิดเห็นของ ้ผู ่ือน รวม ความรับผิดชอบ ข ัยนห ่ัมนเพียร ตรง ่ตอเวลา ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๕ เกณฑ์การสังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ ประเดน็ การประเมนิ ๓ คะแนน ๑. การรว่ มกจิ กรรม มคี วามกระตือรอื รน้ ใน ๒๑ การรว่ มกจิ กรรมอย่าง ๒. การรบั ฟงั ความ สม่ำเสมอ มคี วามกระตือรือรน้ ใน ไม่มีความกระตือรือร้น คดิ เหน็ ของผ้อู ืน่ รับฟังความคิดเห็นของ การรว่ มกจิ กรรมบางครั้ง ในการร่วมกจิ กรรม ๓. ความรบั ผิดชอบ ผู้อน่ื สม่ำเสมอ มีความรบั ผดิ ชอบในงานที่ รบั ฟังความคดิ เหน็ ของ ไมร่ บั ฟังความคิดเห็น ๔. ขยันหมน่ั เพียร ไดร้ ับมอบหมายอย่าง สม่ำเสมอ ผอู้ นื่ เป็นบางคร้ัง ของผู้อนื่ ๕. ตรงต่อเวลา มีความเพยี รพยายาม ทำงานใหส้ ำเร็จอย่าง มคี วามรับผดิ ชอบในงาน ไมม่ ีความรบั ผดิ ชอบใน สม่ำเสมอ สง่ ผลงานเสรจ็ เรียบรอ้ ย ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย งานทไี่ ด้รับมอบหมาย ทนั ตามเวลาท่ีกำหนด บางครั้ง มีความเพียรพยายาม ไมม่ ีความเพียรพยายาม ทำงานใหส้ ำเรจ็ เปน็ ทำงานใหส้ ำเรจ็ บางครั้ง สง่ ผลงานเสร็จ เรียบรอ้ ย สง่ ผลงานไม่เรียบรอ้ ยและ แต่ช้ากว่าเวลาที่กำหนด ช้ากว่าเวลาท่กี ำหนด

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ เร่ือง รเู้ ท่าทันสินคา้ และบริการ ๓๕ แบบบนั ทึกการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เด็กชาย/เดก็ หญิง........................................................ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่......../........เลขที่......... รายการประเมิน พฤตกิ รรมแสดงออก ระดับการปฏบิ ตั ิ ๑. มีวินัย ๓๒๑๐ ๑ ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครวั โรงเรยี น และสงั คม ......... ........ ......... ........ ๒. ใฝเ่ รยี นใฝร่ ู้ ๑. ตง้ั ใจเพยี รพยายามในการเรยี นและเข้าร่วม กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรียนรูต้ ่าง ๆ ทั้งภายใน ......... ........ ........ ........ และภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลอื กใช้สอื่ อย่าง เหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ ในชีวิตประจำวันได้ ๓. มุ่งมั่นใน ๑. ตง้ั ใจและรับผิดชอบในหน้าทกี่ ารงาน การทำงาน ๒. ทำงานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้ ......... ........ ......... ........ งานสำเร็จตามเปา้ หมาย ผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เกณฑ์การให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้ัง เกณฑก์ ารให้คะแนนดังตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ดังน้ี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๑๒-๑๕ ดี ๗-๑๑ ๐-๖ พอใช้ ปรบั ปรุง