การ จัด ระบบ งาน ก ทม

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

คนกรุงเทพฯ ได้อะไร

  - มีโอกาสประเมินผลการทำงานของ ผอ.เขต และผู้ว่าฯ กทม. ทำให้ประชาชนมีส่วนกำหนดทิศทางการทำงานของ กทม. และทำให้การเมืองเป็นเรื่องใกล้ตัวมากยิ่งขึ้น ด้านผู้ปฏิบัติงานได้รับฟีดแบกการทำงานจากประชาชน

รายละเอียด

การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดำเนินงานของ กทม. ในปัจจุบันมีอยู่อย่างจำกัด โดยหากอ้างอิงจากจากการจัดทำแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2565 มีรายงานเกี่ยวกับกระบวนการรับฟังความคิดเป็นจากประชาชนเพียง 1 ครั้งในรูปแบบการเสวนาออฟไลน์ [1] ส่งผลให้แนวทางการดำเนินงานของสำนักงานเขต และผู้ว่าราชการจังหวัดอาจขาดความสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน

ดังนั้นเพื่อสร้างความยึดโยงระหว่างการดำเนินการของ กทม. สำนักงานเขตและประชาชนในพื้นที่ กทม.จะพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปฏิบัติงานต่าง ๆ ดังนี้

 1. ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการการจัดลำดับความสำคัญของโครงการและการใช้งบประมาณทั้งในระดับเขตและระดับ กทม.

 2. ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการประเมินความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของผู้ว่าฯ กทม. และ สำนักงานเขต โดยผลการประเมินจะถูกใช้เป็นหนึ่งในมิติการประเมินผลรอบด้าน (360 degree feedback)

กระบวนการมีส่วนร่วมจะต้องมีความโปร่งใสและเข้าถึงประชาชนในวงกว้างที่สุด ผ่านการพัฒนาระบบบการยืนยันตัวตนทั้งรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์เพื่อป้องกันการเสนอความคิดเห็นซ้ำซ้อน ร่วมกันกับการประสานงานกับอาสาสมัครเทคโนโลยี (อสท.) ในการอำนวยความสะดวกให้ประชาชนเข้าถึงการประเมินผล

นอกจากการมีส่วนร่วมของประชาชนแล้ว กทม. จะนำระบบ Objective and Key result (OKR) เข้ามาใช้ในการประเมินผลการดำเนินการของบุคลากรและสำนักภายใน กทม. เพื่อสร้างเป้าหมายและตัวชี้วัดที่สอดคล้องกันสำหรับทุกภาคส่วนภายใน กทม.เพื่อร่วมกันสร้าง กรุงเทพฯ ให้เป็นเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคน

*อัพเดตล่าสุดวันที่ 11 มีนาคม 2565

หากมีข้อเสนอแนะ (คลิก)

Public participation in the assessment of District Directors and the BMA Governor

What will Bangkok residents get?

  - Participation in evaluating the performances of District Directors and the BMA Governor. The public will play a more active role in determining the course of administration of Bangkok, bringing politics closer to the people, while, in turn, providing feedbacks to the authority in charge.

Details

Public participation in the BMA administration is currently limited. According to the 2022 Bangkok Annual Work Plan, there was only one reported public hearing, an offline talk [1] , which reflects that the decisions the BMA made might not be in line with actual public need.

Hence, to ensure the coordination between the BMA and District Offices in serving the city’s inhabitants, the BMA will have to improve public participations in such aspects as:

  1. the prioritization of public projects and budget allocations both on district and the BMA levels;

  2. the assessment of performance of Bangkok Governor and District Directors, with the assessment being taken in as part of holistic 360-degree feedbacks.

The process of participation must be transparent and inclusive, which can be made possible by developing a system of online and offline authentication to prevent repetitive feedbacks, as well as by cooperating with Technology Volunteers [อาสาสมัครเทคโนโลยี (อสท.)] to facilitate the public in accessing the assessment platforms.

Apart from public assessment, the BMA will employ an Objective and Key Result (OKR) system in evaluating performances of personnel in the BMA departments to create goals and indicators which are consistent and relevant throughout the whole body of the BMA, ensuring the liveability of the city for everyone.

*Last updated on March 11, 2022

กองพัฒนาระบบราชการกรุงเทพมหานคร

       มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการวิเคราะห์ วิจัย ดำเนินการ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบงานและการจ้างงานรูปแบบใหม่ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบบริหารผลงานและการบริหารค่าตอบแทน ติดตามและประเมินผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร การกำหนดกรอบและทิศทางการขับเคลื่อนการบริหารทรัพยากรบุคคล การนำนวัตกรรมและเทคนิคทางการบริหารสมัยใหม่ไปใช้ให้เหมาะสมกับหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งงานใน่วนราชการ ดังนี้

การ จัด ระบบ งาน ก ทม

        

การ จัด ระบบ งาน ก ทม
 ส่วนพัฒนาระบบบริหาร
              มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบงานและระบบการบริหารผลงาน ดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบการบริหารค่าตอบแทน และการพัฒนาคุณภาพชีวิต การนำนวัตกรรมและเทคนิคการบริหารสมัยใหม่มาใช้กับหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง

        

การ จัด ระบบ งาน ก ทม
 ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
             มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานสารบรรณและธุรการทั่วไป งานด้านเลขานุการ งานการประชุม งานการเงิน งบประมาณ บัญชีและพัสดุ การควบคุม ดูแลอาคาร สถานที่และยานพาหนะ จัดทำ ติดตาม รายงานและประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของกอง และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง

        

การ จัด ระบบ งาน ก ทม
 กลุ่มงานขับเคลื่อนการบริหารทรัพยากรบุคคล
             มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานศึกษา วิเคราะห์ และวิจัย เพื่อเสนอแนะนโยบายและกลยุทธ์ทางการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครต่อผู้บริหารกรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการชุดต่างๆที่เกี่ยวข้อง ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยเกี่ยวกับองค์ความรู้หรือหลักการบริหารทรัพยากรบุคคลใหม่ๆ กำหนดยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นกรอบหรือแนวทางการดำเนินการด้านทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ให้คำปรึกษา แนะนำ เผยแพร่ความรู้และตอบข้อหารือเกี่ยวกับงานในหน้าที่ความรับผิดชอบ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง        

การ จัด ระบบ งาน ก ทม
เว็บไซต์ : กองพัฒนาระบบราชการกรุงเทพมหานคร