วิธีการ สำรวจ จากการสังเกต

1. �Ըա�������ɳ�ҡ������ӵͺ�µç (Personal interview ���� Face to face interview) ���Ըա�÷�������˹�ҷ�����;�ѡ�ҹ�͡������ɳ������ӵͺ ��кѹ�֡�ӵͺŧ�Ẻ��Ͷ�� �Ըչ�������ѹ�ҡ㹡�÷������������Ǩ ��੾�����ҧ��觡Ѻ��Ҿ��ó�ͧ������� ���Ըա�÷��з����������ŷ�������´ ��ѡ�ҹ�����ɳ�����ö���ᨧ����͸Ժ����� ���ͺ����㹤Ӷ���� ��������Ѻ�ӵͺ�ç����ѵ�ػ��ʧ�� ���÷��������ӵͺ���� ���ͧ�������Ѻ�Ѩ������� �� ���������ö�ͧ���ͺ�������㨤Ӷ�� �������㨢ͧ���ͺ��Ф����ب�Ե㨷������ӵͺ ��������ö�ͧ��ѡ�ҹ ���������ɳ������ҧ�����´�ú��ǹ ��кѹ�֡�ӵͺ���ҧ�١��ͧ ��з���Ӥѭ����ش��� ���������ѵ���ب�Ե�ͧ��ѡ�ҹ�����ɳ��������͡�������ͧ ���㹷ҧ��Ժѵԡ�͹���������˹�ҷ�����;�ѡ�ҹ�͡任�Ժѵԧҹ �е�ͧ�ӡ��ͺ�����ᨧ������㨶֧��鹵͹��������ɳ� ��ʹ���ѵ�ػ��ʧ��ͧ�ç��� �ӨӡѴ�������ͤ������¢ͧ�ӵ�ҧ� ������Ẻ��Ͷ�� ��á�͡Ẻ��Ͷ�� �����������´��ҧ� ����ҹ�� ���˹����㹤����͡�û�Ժѵԧҹ���Ǻ���������

2. �Ըա�������ɳ�ҧ���Ѿ�� (Enumeration by telephone) ���Ըա�÷���Ҩ�������ҧ�Ǵ���� ��з�蹤������� ��������ͧ�Թ�ҧ ���բͺࢵ�ӡѴ �������੾�м���������Ѿ����ҹ�� �Ӷ��������е�ͧ���������㨧��� �Ըչ��֧��㹡�����Ǻ��������¡�â�Ͷ������ҡ�ѡ ����ҳ 1 � 2 ��¡�� �֧�ѡ�������Ѻ�Ը���� ������㹡�÷ǧ����Ẻ��Ͷ�� �����ͺ����������������բ��ʧ��� ����ǡѺ�ӵͺ ����������Ѻ�ӵͺ㹺ҧ��¡�� �����Ҩ��㹡�õ�Ǩ�ͺ��÷ӧҹ�ͧ��ѡ�ҹ

3. �Ըա����龹ѡ�ҹ价ʹẺ��������ͺ��͡�������ͧ (Self enumeration) �Ըչ�龹ѡ�ҹ�й�Ẻ��Ͷ����ͺ������Ѻ���ͺ ��͸Ժ�¶֧�Ըա�á�͡��ҷ����� ���ͺ�е�ͧ��͡Ẻ ��Ͷ���ͧ ��ѡ�ҹ�С�Ѻ��ѺẺ��Ͷ������͡������������ѹ����˹� 㹢�����ǡѹ��ѡ�ҹ�е�ͧ�ӡ�õ�Ǩ�ͺ�����١��ͧ ��Ф����ú��ǹ�ͧ�����ŷ���͡���� ��ҼԴ��Ҵ���� ���ú��ǹ�е�ͧ�����ɳ�������� �Ըչ������з�����Ѻ����� �ա���֡�Ҿͷ�����ҹ ��¹ ���㨤Ӷ���� ����Ѻ��������дѺ����֡����С��������������ͧ͢��Ъҡ��ѧᵡ��ҧ�ѹ�ҡ �й�鹨֧�������������Ѻ�ҹ�ҧ�ç�����ҹ�� Ẻ��Ͷ���������Ըչ��е�ͧ�դӶ��������㨧��� �դ�͸Ժ�����ҧ�Ѵਹ ��С�á�͡Ẻ��Ͷ����ͧ�������ҡ

วิธีการ สำรวจ จากการสังเกต

การสังเกต (Observation)
        การสังเกต เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของสิ่งที่เราต้องการศึกษาอาจเป็น บุคคล สิ่งแวดล้อม หรือวัตถุต่างๆ โดยการใช้ประสาทสัมผัส เช่น ตา หู ในการติดตามเฝ้าดูอย่างใกล้ชิด
ประเภทของการสังเกต การสังเกตแบ่งออกได้หลายแบบดังนี้
ก. แบ่งตามการเข้าร่วม สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้
          1. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) หมายถึง การสังเกตที่ ผู้สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง หรือคลุกคลีอยู่ในหมู่ของผู้ที่เราต้องการสังเกต ซึ่งลักษณะเช่นนี้จะทำให้ได้รายละเอียด หรือข้อมูลที่แน่นอน ถูกต้อง ชัดเจน เช่น การศึกษาเกี่ยวกับความเป็นอยู่ของชาวสลัม หรือ พวกชาวเขา เป็นต้น ผู้สังเกตจะเข้าไปอยู่ในสลัม หรือเข้าไปอยู่กับชาวเขานานๆ จนไม่รู้สึกว่าเป็นคนแปลกหน้า
การสังเกตแบบนี้ผู้สังเกตจะไม่สามารถจดบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการสังเกตได้ทันที และต้องใช้เวลาในการสังเกตนาน อีกทั้งอาจเกิดความลำเอียงได้
          2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant Observation) หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ แต่คอยเฝ้าดูอยู่ห่างๆ การสังเกตแบบนี้อาจให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัวหรือไม่ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัวก็ได้การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมนี้จะกำจัดความลำเอียงของผู้สังเกตได้ และสามารถจดบันทึก รายละเอียดของสิ่งที่ต้องการสังเกตได้

ข. แบ่งตามการมีโครงสร้าง สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้
          1. การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Observation) เป็นการสังเกตที่ไม่มีการกำหนด เรื่องราว หรือพฤติกรรมอะไรที่ต้องการสังเกตไว้ล่วงหน้า เป็นการสังเกตอิสระ ไม่มีการควบคุม เครื่องมือที่ใช้อาจเป็นเพียงกระดาษเปล่า ๆ ที่มีไว้สำหรับจดบันทึก หรือใช้อุปกรณ์ช่วย เช่น กล้อง ถ่ายรูป เครื่องบันทึกเสียง แต่วิธีนี้จะมีความยุ่งยากที่การวิเคราะห์ข้อมูล และการจัดแยกประเภทข้อมูล วิธีนี้เหมาะกับการสังเกตทั่ว ๆ ไปไม่มีขอบเขตที่แน่นอนของเรื่องที่สังเกตและเหมาะกับผู้สังเกตที่ยังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้น ๆ เพียงพอที่จะวางหลักเกณฑ์ หรือโครงสร้างในการสังเกต
          2. การสังเกตแบบมีโครงสร้าง (Structured Observation) เป็นการสังเกตที่กำหนดเรื่องราวหรือ ขอบเขตของเนื้อหาไว้ล่วงหน้าแน่นอนว่าจะสังเกตพฤติกรรม หรือปรากฎการณ์อะไร มีการเตรียมเครื่องมือที่จะใช้ในการสังเกต และจะสังเกตเฉพาะเรื่องราวหรือข้อมูลที่ได้กำหนดไว้เท่านั้น การสังเกตแบบนี้จะสะดวก รวดเร็ว ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตสามารถจัดเแยกเป็นหมวดหมู่ได้ง่าย และการสังเกตแบบนี้สามารถควบคุมสถานการณ์ของการสังเกตได้ แต่การสังเกตแบบนี้ถ้ามีผู้สังเกตหลายคนการตีความหมายของพฤติกรรมที่สังเกตได้อาจแตกต่างกัน จึงควรมีการอบรมผู้สังเกตก่อนการสังเกตจริงเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและเชื่อถือได้

หลักและวิธีการสังเกตที่ดี การสังเกตที่จะทำให้ได้ข้อมูลถูกต้องเชื่อถือได้ เพื่อประโยชน์ในการวัดผลประเมินผล มีดังนี้
         1. กำหนดจุดมุ่งหมายให้แน่นอนและชัดเจน ว่าจะสังเกตพฤติกรรม หรือปรากฏการณ์ใด และพฤติกรรมนั้นมีการแสดงออกอย่างไร ผู้สังเกตต้องทราบอย่างชัดเจน
         2. วางแผนการสังเกตอย่างมีขั้นตอนและเป็นระบบ จะใช้การสังเกตแบบใดและมีเครื่องมือช่วยในการสังเกตหรือไม่ ช่วงเวลาในการสังเกตเหมาะสมหรือไม่
          3. มีการบันทึกรายละเอียดที่สังเกตได้ทันที การบันทึกนั้นต้องตรงกับข้อเท็จจริงที่สังเกตได้ และไม่ควรบันทึกให้ผู้ถูกสังเกตเห็น
         4.มีทักษะในการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ช่วยในการสังเกต การสังเกตบางครั้งจำต้องมีอุปกรณ์ เช่น กล้องถ่ายรูป หรืออื่นๆ ควรต้องฝึกฝนให้เกิดความชำนาญในการใช้เครื่องมือนั้นๆ ด้วย
         5.ผู้สังเกต ควรมีการรับรู้ที่ถูกต้อง และรวดเร็วจากพฤติกรรมที่ผู้ถูกสังเกตแสดงออกมา เพราะการแสดงออกของพฤติกรรมบางอย่างจะไม่เกิดขึ้นบ่อย ๆ และอาจเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วผู้สังเกตจึงต้องฝึกประสาทสัมผัสของตนเองให้คล่องแคล่วและใช้การได้ดีอยู่เสมอ
         6. ผู้สังเกต ต้องขจัดอคติหรือความลำเอียงออกไปให้หมด นั่นคือ ต้องบันทึกสิ่งที่ได้พบเห็นไม่ต้องใส่ความเห็นส่วนตัวเข้าไป
         7. ควรสังเกตหลายๆ ครั้ง หรือใช้ผู้สังเกตหลายคนเพื่อให้ผลจากการสังเกตเชื่อถือได้

ข้อควรระวังในการสังเกต
เนื่องจากว่าข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จะมีความถูกต้อง เชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับตัวผู้สังเกตเป็นสำคัญ ดังนั้นสิ่งที่ผู้สังเกตควรระวังได้แก่
          1. อารมณ์ของผู้สังเกตควรอยู่ในอารมณ์ปกติ ไม่หงุดหงิดโกรธง่าย หรืออารมณ์ค้างมาจากเรื่องอื่นๆ
          2. ผู้สังเกตต้องไม่มีความลำเอียงเข้าข้างตนเองหรือผู้ถูกสังเกต
          3. ความตั้งใจจริง ผู้สังเกตต้องมีใจจดจ่อในสิ่งที่จะสังเกต ทำด้วยความตั้งใจ พึงพอใจ มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนและชัดเจน
          4. สภาพทางกาย ผู้สังเกตต้องเป็นผู้ที่มีร่างกายปกติ เช่น ประสาทสัมผัสของผู้สังเกตต้องไวอยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดี
         5.สภาพของสมองผู้สังเกตต้องเป็นผู้ที่มีความสามารถในการรับรู้พฤติกรรมที่ผู้ถูกสังเกตแสดง ออกมา และแปลความหมายของพฤติกรรมที่ผู้ถูกสังเกตแสดงออกมาได้ ตัวอย่างเช่น พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความเห็นไม่ตรงกันได้แก่ การส่ายหน้า เป็นต้น

เครื่องมือที่ใช้ประกอบการสังเกต
การสังเกตที่ดีควรมีการเตรียมการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ โดยใช้เครื่องมือช่วย เช่น แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า การบันทึกพฤติกรรม เป็นต้น
ข้อดีของการสังเกต
          1. สามารถใช้เก็บรวบรวมข้อมูลกับบุคคลที่อ่านหนังสือไม่ออกเขียนไม่ได้ พวกคนพิการทางจิต หรือพวกเด็กเล็กๆ ที่ไม่สามารถใช้เครื่องมือชนิดอื่นเก็บรวบรวมได้
  2.ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ เป็นข้อมูลที่เกิดจากการสังเกตพฤติกรรมโดยตรงของผู้สังเกตเอง ไม่ได้ขึ้นอยู่กับผู้สังเกตเป็นผู้ตอบ ข้อมูลจึงมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้ผู้สังเกตต้องมีหลักและวิธีการสังเกตที่ดี และควรให้ผู้ถูกสังเกตอยู่ในสภาพการณ์ตามปกติ
          3. ช่วยให้ได้ข้อมูลบางอย่างเพิ่มเติมในเรื่องเดียวกันได้ ทั้งในทางสนับสนุนขัดแย้ง เพื่อช่วยเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ ให้ชัดเจนถูกต้องยิ่งขึ้น
          4. การสังเกต สามารถเก็บข้อมูลจากพฤติกรรมหลายชนิดได้

ข้อจำกัดของการสังเกต
          1. ใช้เวลามากในการสังเกต ถ้ากลุ่มตัวอย่างมากจะทำให้เสียเวลา หรือบางทีพฤติกรรมที่ต้องการสังเกตยังไม่เกิดขึ้นต้องเฝ้ารอทำให้เสียเวลา
          2. ข้อมูลบางอย่างไม่สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า เช่น พฤติกรรมภายในต่างๆ หรือข้อมูลที่เป็นเรื่องส่วนตัวจะไม่สามารถเข้าไปสังเกตได้
          3. ในการสังเกตนักเรียนจะทำไม่ได้เลยถ้านักเรียนออกนอกห้องเรียนไปแล้ว
          4. ผู้สังเกตต้องได้รับการฝึกฝนอย่างดี มิฉะนั้นข้อมูลที่ได้จะขาดความเที่ยงตรงและ เชื่อมั่น
          5. การสังเกตอาจเกิดความลำเอียงได้ ผู้สังเกตต้องลดอคติความลำเอียงลง

วิธีการ สำรวจ จากการสังเกต

ที่มาของภาพ : http://www.thaigoodview.com/node/91926?page=0%2C1

วิธีการ สำรวจ จากการสังเกต

วิธีการ สำรวจ จากการสังเกต

วิธีการสำรวจจากการสังเกตมีข้อดีข้อเสียอย่างไร

สรุปข้อดีของวิธีการสังเกต เหมาะกับการศึกษาพฤติกรรมที่ค่อนข้างลึกซึ้ง และไม่สามารถแสดงออกมาได้ด้วยคำพูด ช่วยเก็บข้อมูลที่ผู้ถูกสังเกตไม่สนใจ หรือเห็นเป็นเรื่องธรรมดาที่เคยชิน เป็นการช่วยเก็บข้อมูลที่ผู้ถูกสังเกตไม่เต็มใจบอก เพราะไม่มีเวลาหรือกลัวมีภัยแก่ตัว หรืออาจทำให้เสื่อมเสียต่อตนเอง

การสังเกตมีความสําคัญอย่างไร

ข้อดีของวิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ทำให้ผู้วิจัยได้รับการยอมรับและสนิทสนมกับกลุ่มที่จะศึกษา โดยที่ผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัวว่าถูกสังเกตหรือเฝ้าดู จึงมีพฤติกรรมที่เป็นไปตามธรรมชาติ ทำให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริง ทำให้เห็นภาพรวมของเหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นธรรมชาติมากที่สุด ทำให้เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย

การสังเกตมีวิธีใดบ้าง

1.1 การสังเกตการณโดยตรง (Direct Observation) 1.2 การมีสวนรวมโดยตรง (Direct Participant) 1.3 การสัมภาษณ (Interview) 1.4 การคนหาบันทึกจากเอกสารอื่น ๆ 2. การสังเกตการณแบบไมมีสวนรวม (Non-participant Observation)

ข้อเสียในการสังเกตการณ์มีกี่ข้อ

สรุปข้อจำกัดของวิธีการสังเกต ไม่สามารถเก็บข้อมูลที่ต้องการได้ หากเหตุการณ์นั้นไม่เกิดขึ้นในเวลาที่ต้องการเก็บข้อมูล นับว่ายังถูกจำกัดเนื่องจากระยะเวลาของเหตุการณ์ ไม่สามารถเก็บข้อมูลบางอย่างที่ผู้ถูกศึกษาไม่อนุญาตให้เข้าไปสังเกตได้ ความคลาดเคลื่อนของเหตุการณ์ เหตุการณ์ที่ผู้สังเกตคาดว่าจะเกิดขึ้นแต่ก็ไม่เกิด