MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

เส้นทางรถไฟฟ้า

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

Show

โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ระยะทางรวม 48 กม. 38 สถานี ประกอบไปด้วย
• โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล สถานีหัวลำโพง – สถานีบางซื่อ ระยะทาง 20 กิโลเมตร 18 สถานี
•โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินส่วนต่อขยาย สถานีหัวลำโพง – สถานีหลักสอง ระยะทาง 14 กิโลเมตร สถานีใต้ดิน 4 สถานี และสถานียกระดับ 7 สถานี รวม 11 สถานี และ สถานีบางซื่อ – สถานีท่าพระ ระยะทาง 13 กิโลเมตร เป็นสถานียกระดับ 8 สถานี

  1. ทุกวันไม่มีวันหยุด ตั้งแต่เวลา 06.00 - 24.00 น.
  2. ความถี่
    1. - ชั่วโมงเร่งด่วนเวลา 06.00 – 09.00 น. และ 16.30-19.30 น. ความถี่ไม่เกิน 5 นาทีต่อขบวน
    2. - ชั่วโมงปกติ ความถี่ไม่เกิน 10 นาทีต่อขบวน
  3. จำนวนรถไฟฟ้า MRT วิ่งบริการสูงสุด XX ขบวน

สถานีรถไฟฟ้า

สถานีท่าพระ (BL01)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยเพชรเกษม 10/2

2A

ซอยเพชรเกษม 11

2B

สำนักงานเขตบางกอกใหญ่, ซอยเพชรเกษม 15

3

ซอยเพชรเกษม 12

4

ซอยคริสจักร

สถานีจรัญฯ 13 (BL02)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 11, วัดเจ้ามูล

2

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 13, วิทยาลัยพาณิชยการธนบุรี

3

การไฟฟ้านครหลวงธนบุรี, วัดโพธิ์เรียง

4

วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม


สถานีไฟฉาย (BL01)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยพรานนก 1

2

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 31/1

3

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 31/2, วัดรวกสุทธาราม, ตลาดบางขุนศรี

4

โรงพยาบาลวิชัยเวช

สถานีบางขุนนนท์ (BL04)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

วัดสุทธาวาส, สถานีรถไฟธนบุรี, สำนักงานประปา เขตบางกอกน้อย, สถานีตำรวจนครบาลบางกอกน้อย, ซอยจรัญสนิทวงศ์ 30/1

2

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 39

3

แยกบางขุนนนท์

4

สำนักงานเขตบางกอกน้อย, วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร

สถานีบางยี่ขัน (BL05)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 49/1

2

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 55

3

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 42

4

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 40/1

สถานีสิรินธร (BL06)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 64, วัดสิงห์

2A

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 62

2B

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 56

3A 3B

สำนักงานที่ดิน บางกอกน้อย, ซอยจรัญสนิทวงศ์ 59

3C

ถนนสิรินธร

3D 3E 3F

ถนนราชวิถี

สถานีบางพลัด (BL07)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 81

2

สำนักงานเขตบางพลัด, ซอยจรัญสนิทวงศ์ 83/1

3

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 76

4

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 72, วัดอาวุธวิกสิตาราม

สถานีบางอ้อ (BL08)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 86/2, ศูนย์บริการสาธารณสุข 31, มัสยิดบางอ้อ

2

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 85, วัดสามัคคีสุทธาวาส

3

ซอยจรัญสนิทวงศ์ 89/2

4

โรงพยาบาลยันฮี, สถานีดับเพลิงบางอ้อ, วัดฉัตรแก้วจงกลณี

สถานีบางโพ (BL09)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1A

ท่าเรือบางโพ

1B

โรงเรียนทหารพลาธิการ

1C

ท่าเรือบางโพ

2A

ถนนประชาราษฎร์ สาย 2, วัดบางโพโอมาวาส

2B

โรงพยาบาลบางโพ, ตลาดบางโพ

3A

ที่ทำการไปรษณีย์บางโพ, สถานีดับเพลิงบางโพ, ที่ทำการด่านป่าไม้กรุงเทพ

3B

ซอยประชาราษฏร์สาย 1 ซอย 7

สถานีเตาปูน (BL10)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยนำชัย

2

ซอยกรุงเทพ-นนทบุรี 1

3

ซอยกรุงเทพ-นนทบุรี 2

4

ถนนประชาราษฎร์ สาย 2

สถานีบางซื่อ (BL11)

อยู่บริเวณสถานีรถไฟบางซื่อ ใกล้กับโรงงานปูนซีเมนต์ไทย

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนเทอดดำดิห์ สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ 1 (สายเหนือ)

2

ถนนรถไฟ สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ 2 (สายใต้)

สถานีกำแพงเพชร (BL12)

อยู่ตรงข้ามองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อตก.) บริเวณหน้าตลาดนัดจตุจักร

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ตลาดนัดจตุจักร

2

ตลาดนัดจตุจักร ถนนกำแพงเพชร 2

3

ตลาด อตก. ถนนกำแพงเพชร

สถานีสวนจตุจักร (BL13)

อยู่ตามแนวพหลโยธินในสวนจตุจักร ตรงข้ามสถานีขนส่งสายเหนือ (เดิม)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ตลาดนัดจตุจักร

2

สวนจตุจักร

3

สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสหมอชิต

4

สถาบันการบินพลเรือน กรมการขนส่งทางบก

สถานีพหลโยธิน (BL14)

อยู่บริเวณสามแยกปากทางถนนลาดพร้าว

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยลาดพร้าว 4

2

มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น

3

โรงเรียนหอวัง

4

แยกลาดพร้าว

สถานีลาดพร้าว (BL15)

อยู่ตามแนวถนนลาดพร้าว บริเวณลาดพร้าว ซอย 21

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยลาดพร้าว 26 แยกรัชดา-ลาดพร้าว

2

ซอยลาดพร้าว 24

3

ซอยลาดพร้าว 17

4

อาคารจอดแล้วจร

สถานีรัชดาภิเษก (BL16)

อยู่ตามแนวถนนรัชดาภิเษก บริเวณหน้าอาคารปลาทองกะรัต

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

โรงเรียนปัญจทรัพย์

2

ซอยโชคชัย 29

3

ซอยรัชดาภิเษก 26

4

ซอยรัชดาภิเษก 24

สถานีสุทธิสาร (BL17)

อยู่ตามแนวถนนรัชดาภิเษก บริเวณกลางสี่แยกสุทธิสาร

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

สถานีตำรวจนครบาลสุทธิสาร

2

ซอยรัชดาภิเษก 20

3

ซอยรัชดาภิเษก 18

4

ซอยรัชดาภิเษก 17

สถานีห้วยขวาง (BL18)

อยู่ตามแนวถนนรัชดาภิเษก บริเวณกลางสี่แยกห้วยขวาง

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนประชาราษฎร์บำเพ็ญ

2

ซอยรัชดาภิเษก 12

3

ถนนประชาสงเคราะห์

4

โรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคม

สถานีศูนย์วัฒนธรรม แห่งประเทศไทย (BL19)

ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

2

ซอยรัชดาภิเษก 8

3

สถานเอกอัครราชฑูตจีน ซอยรัชดาภิเษก 5

4

แยกเทียมร่วมมิตร

สถานีพระราม 9 (BL20)

อยู่ตามแนวถนนรัชดาภิเษก บริเวณสี่แยกพระรามที่ 9 หน้าอาคารฟอร์จูนทาวน์

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยรัชดาภิเษก 3 อาคารฟอร์จูนทาวน์

2

ซอยพระราม 9 สแควร์ เซ็นทรัลพลาซ่าพระราม 9

3

แยกพระราม 9

สถานีเพชรบุรี (BL21)

อยู่ตามแนวถนนอโศก กลางสี่แยกอโศก – เพชรบุรี

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนอโศก-ดินแดง ทางเชื่อมสะพานเดินลอยฟ้ารถไฟฟ้าใต้ดิน - รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงค์ สถานีมักกะสัน

2

ท่าเรืออโศก คลองแสนแสบ

3

ถนนอโศก-ดินแดง ถนนกำแพงเพชร 7

สถานีสุขุมวิท (BL22)

อยู่ตามแนวถนนอโศก – สุขุมวิท หน้าตลาดอโศก

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนอโศกมนตรี สยามสมาคม

2

ถนนอโศก

3

ถนนสุขุมวิท

สถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ (BL23)

ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยไผ่สิงห์โต แยกพระราม4

2

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

3

ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

4

ซอยไผ่สิงห์โต

สถานีคลองเตย (BL24)

อยู่ตามแนวถนนพระรามที่ 4 บริเวณสำนักงานการไฟฟ้านครหลวงคลองเตย

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

การไฟฟ้านครหลวงเขตคลองเตย

2

โรงงานยาสูบ ซอยโรงงานยาสูบ

สถานีลุมพินี (BL25)

อยู่ตามแนวถนนพระรามที่ 4 บริเวณสี่แยกพระรามที่ 4 วิทยุ/สาทร ตรงข้ามโรงเรียนเตรียมทหาร (เดิม) บริเวณสะพานลอยไทย – เบลเยี่ยม

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนพระราม 4

2

ถนนสาทรใต้

3

ถนนวิทยุ สวนลุมไนท์บาซาร์

สถานีสีลม (BL26)

อยู่ตามแนวถนนพระรามที่ 4 ปากทางแยกถนนสีลม ใต้สะพานลอยไทย – ญี่ปุ่น หน้าโรงแรมดุสิตธานี

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

สวนลุมพินี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

2

ถนนสีลม สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส ศาลาแดง

สถานีสามย่าน (BL27)

อยู่ตามแนวถนนพระรามที่ 4 บริเวณทางแยกถนนพญาไท และถนนสี่พระยากับถนนพระรามที่ 4 หน้าวัดหัวลำโพง

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

วัดหัวลำโพง ถนนสี่พระยา

2

ถนนพญาไท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลาดสามย่าน

สถานีหัวลำโพง (BL28)

อยู่ที่หัวถนนพระรามที่ 4 บริเวณจุดตัดหัวถนนรองเมืองและถนนมหาพฤฒาราม หน้าสถานีรถไฟหัวลำโพง

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนมหาพฤฒาราม วัดไตรมิตร

2

สถานีรถไฟกรุงเทพ(หัวลำโพง)

3

ถนนรองเมือง

4

แยกมหานคร

สถานีวัดมังกร (BL29)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนเจริญกรุง

2

วัดกันมาตุยาราม

3

วัดมังกรกมลาวาส

สถานีสามยอด (BL30)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ถนนมหาไชย , เมก้า พลาซ่า

2

ถนนเจริญกรุง

3

ดิโอลด์สยาม พลาซ่า

สถานีสนามไชย (BL31)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

มิวเซียม สยาม

2

โรงเรียนวัดราชบพิธ

3

โรงเรียนวัดราชบพิธ

4

ปากคลองตลาด

5

สถานีตำรวจนครบาล พระราชวัง , โรงเรียนราชินี

สถานีอิสรภาพ (BL32)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยอิสรภาพ 34

2

วัดราชสิทธาราม , ซอยอิสรภาพ 23

สถานีบางไผ่ (BL33)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ

2

โรงพยาบาลพญาไท 3

3

โรงพยาบาลบางไผ่ , ซอยเพชรเกษม 22

4

โรงเรียนเผดิมศึกษา

สถานีบางหว้า (BL34)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยเพชรเกษม 36, มหาวิทยาลัยสยาม , วัดประดู่บางจาก

2

ซอยเพชรเกษม 25/3

3

บีทีเอส บางหว้า

4

บีทีเอส บางหว้า

สถานีเพชรเกษม 48 (BL35)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยเพชรเกษม 46/3, โรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม, วัดจันทร์ประดิษฐาราม

2

ซอยเพชรเกษม 46/1, ขุนด่านศาลเจ้าพ่อเสือ

3

ซอยเพชรเกษม 29/1

4

ซอยเพชรเกษม 31/3, วัดรางบัว

สถานีภาษีเจริญ (BL36)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

ซอยเพชรเกษม 33/8, สถานีกาชาดที่ 11 วิเศษนิยม

2

ซอยเพชรเกษม 35, ท่าเรือเพชรเกษม 35, โรงพยาบาลเพชรเกษม 2

3

ซอยเพชรเกษม 56

4

ซอยเพชรเกษม 54, สำนักงานเขตภาษีเจริญ, สถานีตำรวจภาษีเจริญ

สถานีบางแค (BL37)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

โรงเรียนราชวินิตประถม บางแค, ซอยเพชรเกษม 62/4

2

ซอยเพชรเกษม 62/3

3

ตลาดบางแค

4

แยกบางแค, วัดนิมมานนรดี, โรงเรียนวัดนิมมานรดี, โรงเรียนเตรียมสาธิตศึกษา, สถานีดับเพลิงและกู้ภัยบางแค

สถานีหลักสอง (BL38)

ทางเข้าออก

รายละเอียด

1

อาคารจอดแล้วจร 1, ซอยเพชรเกษม 80

2

อาคารจอดแล้วจร 2, ซอยเพชรเกษม 47/1

3

ซอยเพชรเกษม 47/2, โรงพยาบาลเกษมราษฏร์ บางแค, ศูนย์บริการสาธารณสุข 40 บางแค

4

ซอยเพชรเกษม 84

จุดบริการ

อาคารจอดรถ ลาดพร้าว

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

ศูนย์วัดสายตา ประกอบแว่น

บริษัท ดิ ออฟโต จำกัด เช่าพื้นที่ห้องโถงของอาคารจอดรถ 9 ชั้น สถานีลาดพร้าว ประกอบกิจการเป็นศูนย์วัดสายตา ประกอบแว่น

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

ศูนย์บริการการประชุม และสัมมนากรุงเทพฯ

บริษัท โปรเจคเตอร์ เวิลด์ จำกัด เช่าอาคารอเนกประสงค์ 2 ชั้น เพื่อประกอบกิจการเป็นศูนย์บริการการประชุม และสัมมนากรุงเทพฯ รวมทั้งการให้บริการด้านอื่น ๆ เสริม เช่น ร้านสะดวกซื้อ ร้านอาหารและเครื่องดื่ม

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว
MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

ศูนย์กายภาพบำบัดเฉพาะทางข้อต่อ กระดูก กล้ามเนื้อ และระบบประสาท

คณะบุคคลโปรเฟสชันแนล ฟิสิโอเทอราพี ทีม เช่าพื้นที่บริเวณอาคารอเนกประสงค์ชั้นเดียวสถานีรัชดาภิเษก เพื่อจัดตั้งศูนย์กายภาพบำบัดเฉพาะทางข้อต่อ กระดูก กล้ามเนื้อ และระบบประสาท

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

สถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน
นายยอดพล วิชญกุล เช่าพื้นที่ชั้นลอยของอาคารจอดรถ 3 ชั้น สถานีรถไฟฟ้าศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เพื่อประกอบกิจการรับเลี้ยงเด็ก

จุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้าฯ

ร้านค้า / บริการ บริเวณสถานีและอาคารจอดรถ

รฟม. ได้ร่วมมือกับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)

         รฟม. ได้ร่วมมือกับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) โดยอนุญาตให้ ขสมก. ใช้พื้นที่บริเวณอาคารและลานจอดรถเป็นท่าปล่อยรถโดยสารประจำทาง เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการในการเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างรถไฟฟ้ากับรถโดยสารประจำทาง โดย ขสมก. ได้เริ่มเข้าใช้พื้นที่ตั้งแต่เริ่มเปิดให้บริการรถไฟฟ้า (3 กรกฎาคม 2547) จนถึงปัจจุบัน ดังนี้

  1. อาคารจอดรถสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เป็นท่าปล่อยรถโดยสารประจำทาง สาย 137 (วนซ้าย)
  2. ลานจอดรถสถานีสามย่าน เป็นท่าปล่อยรถโดยสารประจำทางสาย 45

         นอกจากนี้ รฟม. ยังได้ร่วมมือกับ ขสมก. ปรับปรุงเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทาง เพื่อให้เป็นรถ Feeder เชื่อมต่อกับสถานีบางซื่อ จำนวน 3 เส้นทาง ได้แก่ สาย 65, สาย 70 และสาย 97 โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน 2549 และ ขสมก. ได้จัดให้มีบริการเดินรถโดยสารประจำทาง สาย 196 วงกลมอู่บางเขน - เสนานิคม 1 - สถานีลาดพร้าว ตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม

รฟม. ได้อนุญาตให้หน่วยงานภาคเอกชนใช้พื้นที่บริเวณลานจอดรถของ รฟม.
         รฟม. ได้อนุญาตให้หน่วยงานภาคเอกชนใช้พื้นที่บริเวณลานจอดรถของ รฟม. เป็นที่จอดรถตู้รับ-ส่งผู้โดยสาร เพื่ออำนวยความสะดวกในการเดินทางเป็นหมู่คณะเชื่อมต่อระหว่างสถานีรถไฟฟ้ากับอาคารสำนักงานและอาคารที่พักอาศัยต่างๆ ดังนี้

  1. สถานีห้วยขวาง จำนวน 2 ราย ได้แก่ นิติบุคคลอาคารชุดลุมพินีวิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม และนิติบุคคลอาคารชุด ยู ดีไลท์ แอท ห้วยขวาง
  2. สถานีเพชรบุรี จำนวน 7 ราย ได้แก่ บริษัท กรุงไทย-แอกซ่า ประกันชีวิต จำกัด, บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน), บริษัท บางกอกออฟฟิศ 3 จำกัด, บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน), โรงพยาบาลพระราม 9, โรงแรมอมารี เอเทรียม กรุงเทพ และศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลกรุงเทพ


การเชื่อมต่อระหว่างสถานีรถไฟฟ้า ทางเดินคนโดยสาร หรือทางเข้าออก สถานีรถไฟฟ้ากับอสังหา ริมทรัพย์ของผู้อื่น

สถานีพหลโยธิน
          รฟม. ได้ดำเนินการก่อสร้างสะพานลอยคนเดินข้ามถนนพหลโยธิน (หน้าห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล สาขาลาดพร้าว) และทางเดินลอยฟ้าเชื่อมต่อทางเข้า-ออกสถานีพหลโยธิน (บริเวณสวนสมเด็จย่า 84) ไปยังป้ายหยุดรถโดยสารประจำทางด้านหน้าห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลฯ ทดแทนสะพานลอยเดิม โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่เดือนมีนาคม 2547 เป็นต้นมา รวมทั้ง ได้อนุญาตให้บริษัท แอล แอล ซี กรุงเทพ จำกัด เชื่อมต่อทางเดินระหว่างสะพานลอยคนเดินข้ามถนนพหลโยธินดังกล่าวกับอาคารห้างสรรพสินค้ายูเนี่ยน มอลล์ ตั้งแต่วันที่ 29 มิถุนายน 2550


สถานีพระราม 9
          รฟม. ได้อนุญาตให้บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา ไนน์ สแควร์ จำกัด เชื่อมต่ออาคารศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซา สาขาพระราม 9 กับทางขึ้น-ลงที่ 2 สถานีพระราม 9 ของ รฟม. บริเวณชั้น B1 (ชั้นใต้ดินชั้นที่ 1) โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 14 ธันวาคม 2554


สถานีเพชรบุรี
          รฟม. ได้อนุญาตให้ รฟท. ใช้พื้นที่บริเวณสถานีเพชรบุรีของ รฟม. เพื่อก่อสร้างทางเดินยกระดับแบบลอยฟ้า (Sky Walk) เชื่อมต่อระหว่าง ทางขึ้น-ลงที่ 1 สถานีเพชรบุรีของ รฟม. กับสถานีมักกะสัน(Airport Rail Link) ของ รฟท. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการทั้ง 2 ระบบ โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม 2556

สถานีสุขุมวิท
รฟม. ได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารเพื่อเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนระหว่างทางขึ้น-ลงที่ 3 สถานีสุขุมวิทของ รฟม. กับสถานีอโศกของ BTS เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนบริเวณถนนอโศกมนตรีกับถนนสุขุมวิทให้สามารถมาใช้บริการระบบรถไฟฟ้าทั้ง 2 โครงการได้อย่างสะดวกและปลอดภัย โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม 2547
รฟม. ได้อนุญาตให้บริษัท บี แอนด์ จี พาร์ค จำกัด เชื่อมต่อทางเดินอาคาร Interchange ของบริษัทกับทางขึ้น-ลงที่ 2 สถานีรถไฟฟ้าสุขุมวิท ในระดับพื้นดิน (G Level) โดยอนุญาตให้เชื่อมต่อฯ ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2552

MRT ศูนย์ สิริ กิ ต ไป ลาดพร้าว

สถานีสีลม
        รฟม. ได้ดำเนินการก่อสร้างสะพานลอยคนเดินข้ามถนนสีลม เพื่อทดแทนทางม้าลายเดิมบนพื้นถนน ของ กทม. และก่อสร้างทางเดินลอยฟ้าเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชน ระหว่างทางขึ้น-ลงที่ 2 สถานีสีลมของ รฟม. กับสถานีศาลาแดงของ BTS รวมทั้งอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนบริเวณถนนสีลม ให้สามารถมาใช้บริการระบบรถไฟฟ้าได้อย่างปลอดภัยด้วย โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2548
สถานีสามย่าน
       รฟม. ได้อนุญาตให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เชื่อมต่อระหว่างทางขึ้น-ลงที่ 2 สถานีรถไฟฟ้าสามย่าน บริเวณชั้น B1 (ชั้นใต้ดินชั้นที่ 1) กับอาคารจัตุรัสจามจุรี โดยได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2551