ราย ชื่อสหกรณ์ออมทรัพย์ ใน ประเทศไทย 2563

10 อันดับสหกรณ์ออมทรัพย์ปี 2564

ผลประกอบการสหกรณ์ออมทรัพย์ ปีบัญชี 2564   

ราย ชื่อสหกรณ์ออมทรัพย์ ใน ประเทศไทย 2563

      เป็นการจัดอันดับผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี 2564 เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ โดย รวบรวมข้อมูล ณ วันปิดบัญชีของแต่ละสหกรณ์ จากแหล่งข้อมูลหลัก คือ รายงานกิจการประจำปีและรายการย่อแสดงสินทรัพย์และหนี้สินของแต่ละสหกรณ์(ซึ่งสหกรณ์ต้องเปิดเผยตามกฎกระทรวง ข้อ 15 และข้อ 21) โดยแยกเป็นกรณีต่างๆ ที่เห็นว่าน่าสนใจ และนำเสนอเฉพาะ 10 ลำดับแรกของแต่ละกรณี ดังรายละเอียดต่อไปนี้

หมายเหตุ การจัดอันดับนี้มิใช่การจัดอันดับที่เป็นทางการ ผู้จัดมีวัตถุประสงค์ที่ต้องการนำเสนอเป็นข้อมูลสารสนเทศ และเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ให้แก่สหกรณ์ที่มีผลการดำเนินงานในระดับแนวหน้าของแต่ละกรณีในแต่ละปี

ข้อสังเกต ในรอบปี 2564 ทั้งปีมีการระบาดของไวรัสโควิด-19 มีผลกระทบต่อการดำเนินงานของสหกรณ์อย่างมาก ทำให้ผลประกอบการทางการเงินของแต่ละสหกรณ์ลดลงเป็นส่วนใหญ่

10 อันดับแรกของผลการดำเนินงานสหกรณ์ออมทรัพย์ปี 2564

หมายเหตุ ไม่รวมสหกรณ์ออมทรัพย์ที่มีลักษณะพิเศษต่างจากสหกรณ์ออมทรัพย์ทั่วไป

(แหล่งข้อมูล - รายงานกิจการประจำปี/รายการย่อทรัพย์สินและหนี้สิน/รายงานสารสนเทศทางการเงินของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์/ข่าวสหกรณ์ และสื่อออนไลน์ต่างๆ สำรวจถึงวันที่ 28/04/2565  และปรับแก้ไขล่าสุดวีนที่ 23 พ.ค. 2565)

1. กำไรสุทธิ (ไม่รวมชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์)

1. สหกรณ์ออมทรัพย์การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จำกัด 3,031 ล้านบาท
2. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูนครราชสีมา จำกัด 1,457 ล้านบาท
3. สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จำกัด 1,422 ล้านบาท
4. สหกรณ์ออมทรัพย์ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ฯ จำกัด 1,381 ล้านบาท
5. สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยมหิดล จำกัด  1,304 ล้านบาท
6. สหกรณ์ออมทรัพย์ กทม. จำกัด 1,248 ล้านบาท
7. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูขอนแก่น จำกัด 1,126 ล้านบาท
8. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูบุรีรัมย์ จำกัด 1,113 ล้านบาท
9. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูศรีสะเกษ จำกัด 1,005 ล้านบาท
10. สหกรณ์ออมทรัพย์การสื่อสารแห่งประเทศไทย จำกัด    971 ล้านบาท

หมายเหตุ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย มีกำไรสุทธิ 2,029 ล้านบาทณ วันที่ 31 มีนาคม 2564 

กฎกระทรวง การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. ๒๕๖๔

ราย ชื่อสหกรณ์ออมทรัพย์ ใน ประเทศไทย 2563
กฎกระทรวง

การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน

พ.ศ. ๒๕๖๔

---------------------

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ และมาตรา ๘๙/๒ (๑) (๒) (๓) (๖) (๙) (๑๑) และ (๑๒) และมาตรา ๑๐๕ วรรคสาม

แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงนี้

สหกรณ์” หมายความว่า สหกรณ์และชุมนุมสหกรณ์ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์หรือสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

สหกรณ์อื่น” หมายความว่า สหกรณ์และชุมนุมสหกรณ์ทุกประเภทตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

ชุมนุมสหกรณ์” หมายความว่า ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์หรือชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์

กรรมการ” หมายความว่า กรรมการดำเนินการสหกรณ์

ผู้ให้บริการทางการเงิน” หมายความว่า ผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยการประกันชีวิต กฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัย หรือบริษัทบริหารสินทรัพย์ซึ่งดำเนินการโดยได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทบริหารสินทรัพย์

ผู้มีอำนาจในการจัดการ” หมายความว่า

(๑) ผู้จัดการ รองผู้จัดการ หรือผู้ซึ่งมีตำแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่น แล้วแต่กรณี

(๒) บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งสหกรณ์หรือผู้ให้บริการทางการเงินทำสัญญาให้มีอำนาจในการบริหารงานทั้งหมดหรือบางส่วน

(๓) บุคคลซึ่งตามพฤติการณ์มีอำนาจควบคุมหรือครอบงำกรรมการ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ พนักงานเจ้าหน้าที่ของผู้ให้บริการทางการเงิน หรือเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ ให้ปฏิบัติตามคำสั่งของตนในการดำเนินงานของสหกรณ์หรือผู้ให้บริการทางการเงิน

ที่ปรึกษาของสหกรณ์” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ทำหน้าที่ในการให้ความเห็นหรือคำแนะนำแก่สหกรณ์โดยอาจมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ได้ แต่ไม่รวมถึงบุคคลซึ่งรับจ้างทำงานให้แก่สหกรณ์ โดยมีลักษณะของงานที่ใช้ความรู้ความสามารถพิเศษด้านเทคนิค หรือใช้ความชำนาญเฉพาะด้าน เช่น ที่ปรึกษางานบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้ซึ่งเกี่ยวข้อง” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีความสัมพันธ์กับอีกบุคคลหนึ่งในลักษณะดังต่อไปนี้

(๑) เป็นคู่สมรส

(๒) เป็นบุตรหรือบุตรบุญธรรมซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ

(๓) เป็นนิติบุคคลซึ่งบุคคลนั้นหรือบุคคลตาม (๑) หรือ (๒) มีอำนาจในการจัดการ หรือควบคุม

สหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติรายปี-ทั้งหมด

สหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติรายปี(ตั้งแต่ปี 2517-ปัจจุบัน)

ราย ชื่อสหกรณ์ออมทรัพย์ ใน ประเทศไทย 2563

  มติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517 เห็นชอบโครงการขอรับพระราชทานรางวัลสำหรับสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่น และ ระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ว่าด้วยการขอรับพระราชทานรางวัลสำหรับสหกรณ์ ที่มีผลงานดีเด่น พ.ศ. 2517 กระทรวงเกษตรฯได้ดำเนินการตามมตินี้ โดยแต่ละปีให้มีการคัดเลือกสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่นแต่ละประเภทสหกรณ์ และจัดเป็น 3 ระดับ คือ ระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ แต่ละระดับนั้น ปกติจะมี(หรือไม่มี)สหกรณ์ได้รับเลือกเป็นอันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 หรือรางวัลชมเชย

ระยะต่อมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ออกประกาศ เรื่องการคัดเลือกเกษตรกร สถานบันเกษตรกร และสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ ใช้ แทนระเบียบปี 2517 โดยกำหนดหลักเกณฑ์กลางในการคัดเลือก ทั้งนี้ได้มีการประกาศออกมาหลายครั้ง เนื่องจากเห็นควรปรับปรุงหลักเกณฑ์ให้เหมาะสมกับสภาวะการณ์ในต่างละช่วงเวลา นั้นๆ

รายชื่อสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติที่นำเสนอนี้ เป็นสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่นอันดับ 1 ระดับประเทศ ตามระเบียบปี 2517 และสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติตามประกาศของกระทรวงเกษตรฯ

สามารถดูรายละเอียดข้อมูลของแต่ละสหกรณ์ได้จากเว็บไซต์ของสหกรณ์(ถ้ามี) โดยคลิกที่ชื่อของสหกรณ์ (Update URL ของเว็บไซต์ล่าสุด ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2557)

1) สหกรณ์ออมทรัพย์ดีเด่น

ปีที่ได้รับ ชื่อสหกรณ์ดีเด่น

2562 สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลพัทลุง จำกัด จ.พัทลุง

2536 สหกรณ์ออมทรัพย์หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ จำกัด จ.ลพบุรี

2531 (ไม่มีสหกรณ์ออมทรัพย์ได้รับรางวัล)

2529 สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานไทยซาร์โก้ จำกัด จ.ภูเก็ต

(2)สหกรณ์การเกษตรดีเด่น

ปีที่ได้รับ ชื่อสหกรณ์ดีเด่น

2564 สหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้น จำกัด จ.อุบลราชธานี

2563 สหกรณ์การเกษตรลำพระเพลิง จำกัด จ.นครราชสีมา

2562 สหกรณ์การเกษตรคณฑีพัฒนา จำกัด จ.กำแพงเพชร

2561 สหกรณ์การเกษตรขามสะแกแสง จำกัด จ.นครราชสีมา

2559 สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคขุนในเขตปฏิรูปที่ดินปางศิลาทอง จำกัด จ.กำแพงเพชร

2557 สหกรณ์การเกษตรบ้านตาก จำกัด จ. ตาก

2556 สหกรณ์การเกษตรหนองหญ้าไซ จำกัด จ.สุพรรณบุรี

2553 สหกรณ์การเกษตรบางน้ำเปริ้ยว จำกัด จ.ฉะเชิงเทรา

2552 สหกรณ์การเกษตรพนมวังก์ จำกัด จ.พัทลุง

2551 สหกรณ์การเกษตรตะโหมด จำกัด จ.พัทลุง

2547 สหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองลำตะคอง จำกัด จ.นครราชสีมา

2546 สหกรณ์การเกษตรสูงเนิน จำกัด จ.นครราชสีมา (ครั้งที่ 2)

2545 สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด จ.อ่างทอง

2544 สหกรณ์การเกษตรดอนเจดีย์ จำกัด จ.สุพรรณบุรี

2543 สหกรณ์การเกษตรสามชุก จำกัด จ.สุพรรณบุรี

2542 สหกรณ์การเกษตรสารภี จำกัด จ.เชียงใหม่

2541 สหกรณ์การเกษตรพิมาย จำกัด จ.นครราชสีมา (ครั้งที่ 2)

2539 สหกรณ์การเกษตรกันทราลักษณ์ จำกัด จ.ศรีสะเกษ

2538 สหกรณ์การเกษตรไชยา จำกัด จ.สุราษฎร์ธานี

2537 สหกรณ์การเกษตรหางดง จำกัด จ.เชียงใหม่

2536 สหกรณ์การเกษตรเมืองตราด จำกัด จ.ตราด

2535 สหกรณ์การเกษตรสีคิ้ว จำกัด จ.นครราชสีมา (ครั้งที่ 2)

2534 สหกรณ์การเกษตรบางคล้า จำกัด จ.ฉะเชิงเทรา

2533 สหกรณ์การเกษตรพิมาย จำกัด จ.นครราชสีมา (ครั้งที่ 1)

2531 สหกรณ์การเกษตรคลองขลุง จำกัด จ.กำแพงเพชร

2530 สหกรณ์การเกษตรมโนรมย์ จำกัด จ.ชัยนาท

2529 สหกรณ์การเกษตรเมืองพาน จำกัด จ.พะเยา

2528 สหกรณ์การเกษตรแม่จัน จำกัด จ.เชียงราย

2527 สหกรณ์การเกษตรสันทราย จำกัด จ.เชียงใหม่

2526 สหกรณ์การเกษตรเดิมบางนางบวช จำกัด จ.สุพรรณบุรี

2525 สหกรณ์การเกษตรนิคมฯลำน้ำน่าน จำกัด จ.อุตรดิตถ์

2524 สหกรณ์การเกษตรสีคิ้ว จำกัด จ.นครราขสีมา (ครั้งที่ 1)

2523 สหกรณ์การเกษตรบ้านโฮ่ง จำกัด จ.ลำพูน

2522 สหกรณ์การเกษตรพนมทวน จำกัด จ.กาญจนบุรี

2521 สหกรณ์การเกษตรศรีประจีนต์ จำกัด จ.สุพรรณบุรี

2520 สหกรณ์การเกษตรสันกำแพง จำกัด จ.เชียงใหม่

2517 สหกรณ์การเกษตรสูงเนิน จำกัด จ.นครราชสีมา (ครั้งที่ 1)

เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2565

ผลการคัดเลือกเกษตรกร สถาบันเกษตรกร สหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ และปราชญ์เกษตรของแผ่นดินประจำปี พ.ศ. 2565 ดังรายนามต่อไปนี้

เกษตรกรและบุคคลทางการเกษตรดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2565 จำนวน 16 สาขาอาชีพ คือ

1) อาชีพทำนา ได้แก่ นายพัด ไชยวงค์ จ.เชียงใหม่

2) อาชีพทำสวน ได้แก่ นายวีรวัฒน์ จีรวงส์ จ.ชุมพร

3) อาชีพทำไร่ ได้แก่ นายรุ่งเรือง ไล้รักษา จ.ประจวบคีรีขันธ์

4) อาชีพไร่นาสวนผสม ได้แก่ นางจิระวรรณ ยืนนาน จ.ชุมพร

5) อาชีพปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ได้แก่ นางนิกร แก้ววิสัย จ.อุดรธานี

6) อาชีพเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ นายเกรียงศักดิ์ เสรีรัตน์ยืนยง จ.ยะลา

7) อาชีพเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ได้แก่ นายประวัติ พิริยศาสน์ จ.ปราจีนบุรี

8) อาชีพเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำกร่อย ได้แก่ นายอรรถพงษ์ บุญเลิศฟ้า จ.นครปฐม

9) อาชีพเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ ได้แก่ นายวัลลภ วุ่นสุด จ.นครปฐม

10) อาชีพปลูกสวนป่า ได้แก่ นายสมพร โล่ห์จินดา จ.เชียงราย

11) สาขาบัญชีฟาร์ม ได้แก่ นายอดุลย์ วิเชียรชัย จ.ปทุมธานี

12) สาขาการพัฒนาที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ได้แก่ นายบรรจง แสนยะมูล จ.มหาสารคาม

13) สาขาการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืช ได้แก่ นายสานนท์ พรัดเมือง จ.สุราษฎร์ธานี

14) ที่ปรึกษายุวชนเกษตรกร ได้แก่ นางสาวประทุมรัตน์ จงคูณกลาง จ.นครราชสีมา

15) สมาชิกกลุ่มยุวชนเกษตรกร ได้แก่ นางสาวศิริมน พันธุ์พิริยะ จ.ตราด

16) สาขาเกษตรอินทรีย์ ได้แก่ นางสุจารี ธนสิริธนากร จ.กาฬสินธุ์

สหกรณ์ออมทรัพย์ อันไหนดี

1. กำไรสุทธิ (ไม่รวมชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์).
สหกรณ์ออมทรัพย์การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จำกัด ... .
สหกรณ์ออมทรัพย์ครูนครราชสีมา จำกัด ... .
สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จำกัด ... .
สหกรณ์ออมทรัพย์ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ฯ จำกัด ... .
สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยมหิดล จำกัด ... .
สหกรณ์ออมทรัพย์ กทม. จำกัด.

สหกรณ์ออมทรัพย์ มี กี่ แห่ง

ปัจจุบัน สหกรณ์ออมทรัพย์ในประเทศไทย ในข้อมูลการจดทะเบียนสหกรณ์ ณ วันที่ 30 มิ.ย. 63 ที่ยังไม่เริ่มดำเนินการ และกำลังดำเนินการอยู่ รวมทั้งสิ้น 1,420 สหกรณ์ และมีลักษณะการดำเนินงานในโมเดลการบริหารในรูปแบบที่คล้ายกัน

ชื่อของสหกรณ์มีอะไรบ้าง

1. สหกรณ์การเกษตร ... .
2. สหกรณ์ออมทรัพย์ ... .
3. สหกรณ์ประมง ... .
4. สหกรณ์ร้านค้า ... .
5. สหกรณ์นิคม ... .
6. สหกรณ์บริการ ... .
7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน.

สหกรณ์ใดมีจำนวนมากที่สุดในประเทศไทย

1. กำไรสุทธิ (ไม่รวมชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์).