แผนการ สอน ใบโบก ใบบัว ป.1 word

คาชแ้ี จง 1. ใหน้ กั เรยี นเขียนตามคาบอกของครใู ชเ้ วลา 20 นาที 2. ครูอ่านใหน้ ักเรยี นฟังคาละ 2 ครง้ั โดยเว้นเวลาให้นกั เรียนเขียนกอ่ นบอกคาในขอ้ ต่อไป แบบฝกึ เขยี นตามคาบอกจากเรอื่ งใบโบใบบวั ข้อ คาทเ่ี ขียน เขียนได้ เขยี นไม่ได้ แก้คาผดิ ท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คาศพั ทส์ าหรบั ครอู ่านใหน้ กั เรยี นเขียนตามคาบอก คาศัพทจ์ ากเรื่องใบโบกใบบัว จานวน 10 คา ขอ้ ท่ี คาศพั ท์ ข้อท่ี คาศพั ท์ ไม่ 1 ตา 6 งวง หาง 2 งา 7 ใบโบก 3 หู 8 ใบบวั 4 ดู 9 5 มี 10 เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ*๕คค๕* ชว่ งคะแนน 7- 10 ต่ากวา่ 7 ระดบั คณุ ภาพ ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ **คาละ 1 คะแนน เขยี นถูกต้อง 1 คา ได้ 1 คะแนน

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย เวลา 1 ชัว่ โมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ใบโบกใบบัว เรอื่ ง การบอกความหมายของคา 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ความหมายของคา คือ สงิ่ ท่ีคาจะบอกถงึ ว่าหมายถึงอะไร คา มีความหมายวา่ เสยี งทเี่ ปลง่ ออกมาแล้ว ตอ้ งมคี วามหมายด้วย ดงั น้ันคาจึงประกอบด้วย เสยี งและความหมายถ้ามีแค่เสยี งไมม่ ีความหมายจึงเรียกวา่ พยางค์ สาหรบั นกั เรียนที่พึง่ เร่ิมฝกึ อ่านใหม่ตอ้ งศึกษาความหมายของคาไปดว้ ย เพื่อนาไปสกู่ ารใช้คาภาษาไทย ทีถ่ ูกต้อง 2. ตัวชี้วัด ท 1.1ป.1/2 บอกความหมายของคาที่อ่าน 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อ่านและบอกความหมายของคาในเรอ่ื งใบโบกใบบัวได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - การวเิ คราะห์คา - การบอกความหมายของคา 4.2สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่ - เพลงชา้ ง - เกมทายคา 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน

7. การวัดและประเมินผล เคร่อื งมอื เกณฑ์ แบบฝึกหัดเขยี นคาประกอบภาพ วธิ กี าร บอกความหมายของคาได้ ถกู ตอ้ ง 7 คาจาก 10 คา ตรวจแบบฝึกหัด สังเกตการใฝเ่ รียนรู้ ตรงตอ่ เวลา มีความ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ รบั ผดิ ชอบ และมุ่งม่นั ในการทางาน 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ใช้วธิ สี อนแบบบนั ได 6 ขนั้ ; ขั้นท่ี 3 บอกความหมายของคา ข้นั นา 1.) ครตู ิดแผนภมู ิเพลงชา้ ง ( ทา้ ยแผน ) บนกระดานดา พานักเรียนรอ้ งเพลงและแสดงท่าทางจน คล่อง จากน้ันนักเรยี นรอ้ งและแสดงทา่ ทางพร้อมกัน ขนั้ สอน 2.) นกั เรยี นอา่ นข้อความในหนงั สอื เรียน ชุดภาษาพาที หนา้ 5 พร้อมกนั อ่านทีละคน ครูแนะนาแก้ไข ข้อผดิ พลาดเปน็ รายบุคคล 3.) รว่ มกันเล่นเกม “ ทายคาดว้ ยทา่ ทาง” วิธีเล่นคอื ครกู าหนดภาษาท่าทางไว้ดงั นี้ หู ใช้ท่า แบฝา่ มอื สองขา้ งแตะท่หี ู แลว้ แบะฝ่ามือออก หาง ใชท้ ่า ใช้แขนขา้ งขวาแตะก้นแล้วผายมือ ออกไปขา้ งหลัง งา ใช้ทา่ กามอื ทั้งสองข้างเหลอื ไวแ้ ต่นว้ิ ชแ้ี ลว้ แตะที่แก้มทง้ั สองข้าง แบะ ปลายนิ้วช้อี อก งวง ใชท้ า่ ใชแ้ ขนข้างขวายนื่ ตรงออกไปขา้ งหนา้ หกั ฝ่ามือลง ครูสาธิตการเลน่ โดย ครูพดู ประโยค “ ช้างมี ..............” แล้วทาท่าทางไปตามภาษาท่าท่ีกาหนดไว้ เชน่ ครู : ช้างมี ......( ใช้แบฝ่ามอื สองข้างแตะท่ีหู แลว้ แบะฝ่ามอื ออก ) นักเรียน : ช้างมีหู ผลัดเปลี่ยนใหน้ กั เรียนทกุ คนออกมาแสดงทา่ ทางและพูดใหเ้ พือ่ นพูดคาแทนท่าทางนั้น 4.) นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดเขียนคาประกอบภาพ เสร็จแล้วนาส่งครู ครเู ฉลยและตรวจสอบความ ถกู ต้อง ขน้ั สรปุ 5.) ครแู ละนกั เรียนสรปุ บทเรียนเรอื่ งการอ่านวเิ คราะห์ คาร่วมกันและอ่านวเิ คราะห์คานอกบทเรยี นที่ ครเู ตรียมมา พรอ้ มกนั เป็นการสรุปบทเรยี น 9. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้ 9.1ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี น ภาษาพาทชี น้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 2) รปู ภาพ 3) แบบฝกึ เขียนคาประกอบภาพ 4) เกมทายคา 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) ห้องสมดุ 2) อนิ เทอรเ์ นต็

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วชิ า ภาษาไทย เวลา 1 ชว่ั โมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ใบโบกใบบัว เรอื่ ง การคัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัด 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การคดั ลายมือ เปน็ การเขียนฝึกเขียนตัวอักษรไทยใหถ้ ูกตอ้ งตามหลักการเขียนโดยการเขยี นใหอ้ ่าน ง่าย มชี อ่ งไฟ และวรรคตอนเหมาะสม ตัวอกั ษรเสมอกัน วางพยญั ชนะ สระและวรรณยุกต์ถูกที่ ตัวสะกด การันต์ถูกตอ้ งและลายมอื สวยงามเป็นระเบยี บ 2. ตวั ช้วี ัด ท 2.1 ป.1/1 คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกหลักการคัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัดได้ 2. คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดตามรูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทยได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง - การคดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัด - การคดั ลายมือตามแบบ 4.2สาระการเรยี นรทู้ ้องถิน่ - เพลงช้าง 5. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ม่งุ ม่นั ในการทางาน 7. การวดั และประเมนิ ผล เครื่องมอื เกณฑ์ วิธีการ ตรวจแบบฝกึ หัด แบบฝกึ คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั คัดลายมือได้ถกู ตอ้ งสวยงาม สังเกตการใฝเ่ รียนรู้ ตรงตอ่ เวลา มีความ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ รบั ผิดชอบ และม่งุ มัน่ ในการทางาน

8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ใช้วธิ ีสอนแบบบนั ได 6 ขั้น ; ขนั้ ท่ี 4 คัดลายมือ ขัน้ นา 1.) ครูสนทนากบั นกั เรยี นเร่อื งรปู แบบตวั อักษร ครูนารปู แบบตัวอกั ษรแบบกระทรวงศกึ ษาธิการให้ นักเรียนดู นกั เรยี นสังเกตลกั ษณะตัวอกั ษร ข้ันสอน 2.) ครูอธบิ ายหลกั ปฏิบตั ิในการเขียนตวั อักษรที่ถูกต้อง โดยใหค้ ลอบคลมุ ประเด็นตามทก่ี าหนดดังนี้ 2.1 ความถกู ต้องของรปู แบบตวั อกั ษร 2.2 มาตรฐานของตัวอักษร 2.3 การเวน้ ช่องไฟ 2.4 การวางตาแหน่งพยญั ชนะ สระและวรรณยุกต์ 3.) จากนน้ั เขียนเป็นตวั อย่างบนกระดานใหน้ กั เรยี นดู อยา่ งช้าๆ พรอ้ มอธบิ ายประกอบ 4.) ครูให้นกั เรยี นช่วยกนั บอกหลักเกณฑก์ ารคดั ลายมือ ครูสมุ่ นักเรยี นยืนข้นึ ตอบทลี ะคน นักเรียน ช่วยกันตอบถา้ เพื่อนตอบไม่ได้ ครสู รปุ เพมิ่ เตมิ 5.) ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนคัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตัวอักษรแบบ กระทรวงศึกษาธิการจากหนงั สอื ภาษาพาทีเรอ่ื งภูผาในหนา้ 20 ความยาว 10 บรรทดั เสรจ็ แล้ว รวบรวมส่งครู ขนั้ สรปุ 6.) ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปหลกั การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดเปน็ การสรุปบทเรียน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1สื่อการเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรยี น ภาษาพาทีช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 2) แบบฝกึ คดั ลายมือ 3) เพลงช้าง 4) ตวั อย่างรปู แบบตัวอักษรกระทรวงศกึ ษาธิการ 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) อินเทอร์เนต็

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 5 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย เวลา 1 ช่วั โมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ใบโบกใบบัว เร่อื ง การแตง่ ประโยค 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การเขียนเปน็ กระบวนการท่ตี ้องฝึกฝนบอ่ ย ๆ โดยเฉพาะการเรยี บเรยี งคาเป็นประโยค เปน็ กระบวนการฝึกฝนที่ทาให้ ผ้เู รม่ิ ฝึกเขยี นใหม่ ได้รู้จักลักษณะของประโยคทีไ่ ดใ้ จความสมบรู ณ์ และสามารถ นาคามาเรียบเรยี งเป็นประโยคนาไปสู่การติดต่อสื่อสารทีม่ ีประสิทธิภาพ และทาใหผ้ ู้เรยี น สามารถสอ่ื สารกับ ผูอ้ น่ื ได้ถกู ต้องตามสถานการณ์ 2. ตวั ชวี้ ัด ท 4.1 ป.1/3 เรยี บเรียงคาเปน็ ประโยคงา่ ย ๆ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกส่วนประกอบของประโยคได้ 1. แตง่ ประโยคสามสว่ นไดถ้ ูกตอ้ ง 7 ประโยคจาก 10 ประโยค 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - การแตง่ ประโยคสองสว่ น - การแต่งประโยคสามสว่ น 4.2สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น - แถบประโยค 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งม่ันในการทางาน

7. การวดั และประเมนิ ผล เครื่องมอื เกณฑ์ แบบฝกึ แตง่ ประโยค วธิ ีการ แตง่ ประโยคได้ถกู ต้อง 7 ประโยคจาก 10 ประโยค ตรวจแบบฝกึ หัด สังเกตการใฝ่เรียนรู้ ตรงต่อเวลา มีความ แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ รับผดิ ชอบ และมุ่งมน่ั ในการทางาน 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ใชว้ ิธีสอนแบบบนั ได 6 ข้นั ; ขน้ั ท่ี 5 แตง่ ประโยค ขน้ั นา 1.) ครูนาแถบประโยคมาใหน้ กั เรียนดู นกั เรยี นอ่านแถบประโยคพร้อมกัน ขั้นสอน 2.) ครูนาแถบประโยคตดิ บนกระดาน ครูอธิบายลกั ษณะของประโยค สว่ นประกอบของ ประโยค ทีม่ ี ใจความสมบูรณ์ ประโยคทไ่ี มไ่ ด้ใจความประโยคสองสว่ น ประกอบด้วย ประธาน+ กรยิ า เช่น นกบนิ นก= ประธาน บิน= กริยา ------ประโยคทีม่ ีใจความสมบูรณ์ ประโยคสามส่วนประกอบดว้ ย ประธาน+ กรยิ า+กรรม เช่น แมวกนิ ปลา แมว= ประธาน กนิ = กรยิ า ปลา = กรรม ------เปน็ ประโยคที่มใี จความสมบรู ณ์ 3.) ครูยกตัวอยา่ งคาบนกระดานใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันแตง่ ใหไ้ ดป้ ระโยคทส่ี มบรู ณ์ 4.) ครูกาหนดคาศัพท์ให้นักเรียน 10 คาใหน้ ักเรียนทกุ คนทาแบบฝึกหดั แต่งประโยคจากคาทค่ี รู กาหนดให้ เสรจ็ แล้วส่งครู ครูตรวจผลงานนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล ข้ันสรปุ 5.) ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปบทเรียนเรื่องการแต่งประโยคเปน็ การสรุปบทเรยี น 9. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 9.1ส่อื การเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรียน ภาษาพาทชี ัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 2) แบบฝึกแต่งประโยคสองสว่ น 3) แบบฝึกแต่งประโยคสามส่วน 4) บตั รคา 5) แถบประโยคสองส่วน 6) แถบประโยคสามส่วน 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) อนิ เทอร์เน็ต

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 6 ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วชิ า ภาษาไทย เวลา 1 ชว่ั โมง หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ใบโบกใบบัว เร่อื ง การอ่านและรอ้ งเพลงชา้ ง 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เพลงชา้ งเปน็ เพลงทม่ี ีความสาคัญเพราะการร้องเพลง การปรบมือ และการเคาะจังหวะเป็นพื้นฐาน ของการเรียนรู้ การขับร้องและดนตรีเพ่ือให้นักเรยี นได้ร้จู กั และซาบซึ้งในในเพลงไทย เมื่อผรู้ อ้ งขบั รอ้ งเพลงก็ สรา้ งความสนกุ สนานใหก้ ับทัง้ ผรู้ อ้ งและผูฟ้ ังอกี ทง้ั ยงั รอ้ งงา่ ยและเปน็ พืน้ ฐานใหก้ ับผเู้ ร่มิ ฝกึ อ่านเป็นอย่างดี 2. ตัวชว้ี ัด ป.1/2 ทอ่ งจาบทอาขยานตามทกี่ าหนด และบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคุณค่าตามความสนใจ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.อ่านเนอ้ื เพลงชา้ งไดถ้ ูกตอ้ งทัง้ หมด 2.รอ้ งเพลงชา้ งไดถ้ ูกต้องทั้งหมด 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - การอ่านเนอื้ เพลง - การรอ้ งเพลงชา้ ง 4.2สาระการเรยี นรทู้ ้องถิน่ - เพลงช้าง 5. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทางาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ใชว้ ธิ กี ารสอนแบบ การร้องเพลง ขัน้ นา 1.) ครนู ารปู ชา้ งตดิ บนกระดานให้นักเรียนดู ครแู ละนักเรยี นสนทนาเกี่ยวกบั ช้าง เชน่ ใครเคยเห็น ชา้ ง ใครเคยข่ชี ้าง ใครเคยรอ้ งเพลงชา้ งบ้าง

ขน้ั สอน 2.) ครนู าบทเพลงชา้ งมาตดิ บนกระดานให้นักเรียนดู นักเรยี นฝึกอ่านบทเพลงชา้ งพร้อมกันจนคลอ่ ง ครนู านักเรยี นรอ้ งเพลงชา้ งเปน็ ทานองทไี พเราะ นกั เรยี นร้องเพลงช้างตามครแู ละฝกึ ร้องเพลงชา้ งจน คลอ่ ง 3.) นกั เรยี นทดสอบรอ้ งเพลงช้างทลี ะกล่มุ และครูทดสอบทีละคนจนครบทกุ คน โดยทุกคนตอ้ งรอ้ ง เพลงชา้ งให้ถกู ตอ้ งทงั้ เน้อื เพลงและทานองเพลงจึงจะผ่านเกณฑ์ 4.) ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หัดเตมิ คาทห่ี ายไปในเพลงช้างเสรจ็ แล้วหวั หน้ารวบรวมส่งครู ขนั้ สรปุ 5.) ครูและนกั เรยี นรอ้ งเพลงช้างร่วมกนั เป็นการสรุปบทเรยี น นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน จานวน 10 ข้อ เสร็จแลว้ ครูตรวจสอบและประกาศผลเปน็ คะแนนตามจานวนข้อท่ีทาถกู และเฉลย ใหน้ กั เรยี นฟังทลี ะขอ้ อยา่ งละเอียด 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรียนรู้ (ประเมินตามสภาพจรงิ ) ท่ี 1 ท่ี 1 ทดสอบรอ้ งเพลง เพลง อ่านและร้องเพลงช้างได้ ตรวจแบบฝกึ หัด แบบฝกึ หัด ถกู ต้องท้ังหมด เติมคาทีห่ ายไปในเพลง ถูกต้องทกุ คา สังเกตการใฝ่เรียนรู้ ตรงต่อเวลา มคี วาม แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ รับผดิ ชอบ และมุ่งมัน่ ในการทางาน 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี น ภาษาพาทีชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 2) เน้อื เพลงชา้ ง 3) รูปภาพช้าง 4) แบบฝกึ หดั เติมคาที่หายไปในเพลง 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) อินเทอร์เนต็