ขาดความ รอบคอบในการ ทํา งาน ภาษาอังกฤษ

หลายคนฝันอยากทำงานต่างประเทศ มีไม่กี่อย่างที่ทำให้คนเราตื่นเต้นกังวลได้เหมือนการสัมภาษณ์งาน มันเป็นเรื่องน่ากลัวที่จะต้องนั่งลงแล้วเล่าเรื่องตัวเองกับฝ่ายบุคคล มันเป็นสิ่งที่คน 99% ต้องเจอ แต่อย่าได้กลัว! ฝึกอีกสักหน่อย (และพกสำนวนกันพลาดเข้าไปด้วย) คุณจะผ่านการสัมภาษณ์ไปได้อย่างเลิศๆสวยๆ

เพื่อช่วยคุณเตรียมตัว เรารวบรวมสำนวนภาษาอังกฤษที่เป็นประโยชน์มาสำหรับหัวข้อที่มักจะถูกถามในการสัมภาษณ์งาน: บุคลิก, จุดแข็ง, ประสบการณ์ และแน่นอน ทำไมถึงอยากได้งานนี้

บรรยายบุคลิก

เมื่อนั่งลงกับผู้สมัคร ผู้สัมภาษณ์ (ว่าที่เจ้านาย) กำลังเล็งว่าผู้ให้สัมภาษณ์ (ตัวคุณ) จะเข้ากับทีมที่มีอยู่แล้วได้มั้ย นี่เป็นเวลาที่จะโชว์ให้เห็นว่าคุณเป็นใคร และทำไมคุณถึงน่าร่วมงานด้วย คำพวกนี้คือคำคุณสรรพที่น่าใช้:

  • Easy-going: คนที่ผ่อนคลาย เข้ากับคนได้ง่าย

  • Hard-working: คนที่ทำงานได้ดีและไม่ขี้เกียจ

  • Committed: คนที่ซื่อสัตย์ต่องานและคน

  • Trustworthy: คนที่สามารถพึ่งพาได้

  • Honest: คนที่พูดความจริง

  • Focused: คนที่ไม่วอกแวกง่าย

  • Methodical: คนที่ใส่ใจกับรายละเอียด และทำงานอย่างมีเหตุมีผล

  • Proactive: คนที่ทำงานให้เสร็จได้โดยไม่ต้องมีคนคอยควบคุม

พูดได้ว่า: I’m (easy-going), or I’m a/an easy-going person/employee/worker. (ฉันเป็นคนง่ายๆ)

ถ้าอยากปล่อยหมัดฮุค ลองใช้คำที่ทำให้แรงขึ้นอย่าง very (มาก), extremely (อย่างสุดขั้ว), really (จริงๆ) (“I’m very trustworthy,” “I’m an extremely focused employee.”)

บรรยายจุดแข็ง

ผู้สัมภาษณ์จะอยากรู้ว่าคุณทำอะไรได้ดี ทำไมน่ะหรอ ก็เพราะงานที่คุณสมัครนั้นต้องอาศัยทักษะบางอย่าง – นี่เป็นเวลาให้เล่าว่าคุณทำอะไรได้มั่ง

ทักษะและลักษณะทางบวกที่นายจ้างมองหามีดังนี้:

  • Organization ทำงานเป็นระบบ

  • The ability to multitask ความสามารถในการทำงานหลายๆอย่างได้พร้อมกัน

  • Perform to a deadline ทำงานภายใต้ระยะเวลาจำกัด

  • Solve problems แก้ไขปัญหา

  • Communicate well สื่อสารได้ดี

  • Work in an international environment and with people from all over the world ทำงานในสิ่งแวดล้อมที่มีความเป็นนานาชาติกับคนจากทั่วโลก

  • Speak foreign languages พูดภาษาต่างประเทศได้

  • Enthusiasm กระตือรือล้น

ใช้สำนวนอย่าง: I’m good at/I’m skilled at multitasking/working under pressure/working to a deadline, หรือ My strength is/are my ability to problem solve/be enthusiastic/speak fluent English ฯลฯ

บรรยายประสบการณ์

ถ้าเคยทำงานมาก่อนแสดงว่าคุณมีประสบการณ์อันมีค่าที่สามารถนำมาใช้ในตำแหน่งนี้ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของงานที่สมัคร การศึกษาอาจเป็นสิ่งน่าพูดถึงด้วย พวกนี้เป็นสำนวนที่ใช้ได้:

  • I have five years’ experience as a waitress/in retail/as a teacher ฉันมีประสบการณ์ในการเป็นพนักงานเสิร์ฟ/พนักงานขาย/ครูมา 5 ปี

  • I worked in retail for seven years and was promoted to manager in my second year ฉันทำงานเป็นพนักงานขายมา 7 ปี และได้เลื่อนตำแหน่งเป็นผู้จัดการในปีที่สองของการทำงาน

  • I studied at the University of Queensland ฉันเรียนจบจากมหาวิทยาลัยควีนส์แลน

  • I worked for Anderson and Assoc. as a lawyer ฉันทำงานให้บริษัทแอนเดอร์สันในฐานะทนายความ

เตรียมตัวให้พร้อมที่จะอธิบายประเด็นหลักในใบซีวีของคุณ ใช้โอกาสนี้ในการขยายความสิ่งที่อยู่บนซีวีและให้รายละเอียดเพิ่มเติม

บรรยายเป้าหมายในอนาคต และทำไมถึงต้องการงานนี้

นี่เป็นโอกาสที่จะบอกผู้สัมภาษณ์ว่าทำไมถึงอยากได้งานตำแหน่งนี้ บางทีคุณอาจจะอยากเพิ่มประสบการณ์ในสายงานนี้ เรียนรู้ทักษะบางอย่าง คุณมั่นในว่าจะเข้ากับบริษัทนี้ได้ดี หรือนับถือตัวบริษัทในอุตสาหกรรมนี้ สำนวนเหล่านี้ช่วยได้:

  • I’m looking to further my skills as a barista/in hospitality, as a childcare worker/in early childhood education ฉันกำลังอยากพัฒนาทักษะในการเป็นนักชงกาแฟ/การโรงแรม/การดูแลเด็ก/การศึกษาเด็กเล็ก

  • I’m want to further my career in physiotherapy/as a physiotherapist, in administration/as an administrator, in retail/as a branch manager ฉันอยากก้าวหน้าในสายงานนักกายภาพบำบัด/งานเสมียณ/ผู้จัดการสาขา

  • I believe your company is an important player in its industry ฉันเชื่อว่าบริษัทของคุณเป็นผู้เล่นคนสำคัญในอุตสาหกรรมนี้

  • I feel my skills set is a perfect fit for your team and I can contribute by… ฉันรู้สึกว่าทักษะของฉันจะเข้ากับทีมของคุณได้ดีเยี่ยม และฉันจะช่วยด้วยการ…

จุดสุดท้ายนี้สำคัญมาก – คุณต้องทำให้ผู้สัมภาษณ์เชื่อให้ได้ว่าคุณต้องการงานนี้จริงๆ อย่าทำให้เกินพอดี แต่ก็ทำให้แน่ใจว่าคุณพูดจุดนี้ได้ชัดเจน

รอบคอบ หมายถึง การถ้วนถี่, เช่น พิจารณาอย่างรอบคอบ, ระวังเหตุการณ์ข้างหน้าข้างหลังเสมอ, ไม่เผอเรอ, เช่น ดูแลให้รอบคอบ (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542)
ในการศึกษาดูงานในวันที่ 6 สิงหาคม ที่ผ่านมานี้ เป็นลักษณะของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่นและมหาวิทยาลัยศิลปากร ไ้ด้มีการพูดถึงเรื่องระับบพี่เลี้ยงของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในงาน Catalog จากปัญหาที่พี่เลี้ยงพบส่วนใหญ่ คือ เรื่องขาดความรอบคอบ บางครั้งผิดแล้วผิดอีก บางครั้งเป็นเรื่องเล็กๆ น้อยๆ แต่ก็ยังพลาด เผอเรอ ซึ่งเรื่องการทำงานเราต้องมีความละเอียดรอบคอบ ใส่ใจในงานที่ปฏิบัติรวมไปถึงเรื่องความเข้าใจในงาน และเรื่องความจำ เพราะเรื่องความเข้าใจและการจำมีบทบาทอย่างมากในการทำงาน ในเรื่องของความรอบคอบไม่ใช่เพียงงาน Catalog เท่านั้น แต่รวมถึงทุกๆ งานที่คนเรานั้นทำเป็นอาชีพ หากเราเกิดความผิดพลาดบ่อยครั้งจะส่งผลเสีย ไม่มากก็น้อยแล้วแต่ลักษณะงาน แต่ที่เสียแน่ๆ คือ เวลา ในการเสียเวลาก็จะทำให้เราได้ปริมาณงานที่น้อยลง
ที่กล่าวมานี้ ไม่ได้หมายความว่า เราต้องทำงานถูกต้องเสมอ ผิดพลาดไม่ได้ มิใช่อย่างนั้น แต่เพียงกล่าวถึงความรอบคอบต่องานที่เราทำ จากที่รอบคอบน้อย ไม่ค่อยระวังเกิดความผิดพลาด ถ้าเรามีสติ จดจ่่อในงานที่ทำ ใส่ใจสิ่งที่ปฏิบัติอยู่นั้น เชื่อได้ว่าความผิดพลาดในงานก็จะลดน้อยลงไป

ขาดความรอบคอบหมายถึงอะไร

ว. อาการที่ขาดความระวังหรือไม่รอบคอบในสิ่งที่ควรกระทำ เช่น นาย ก ทำงานเลินเล่อ มีข้อผิดพลาดมาก. หลวม โดยปริยายหมายความว่า ไม่กระชับ, ไม่รัดกุม, เช่น สำนวนหลวมไป เหตุผลยังหลวมอยู่, ไม่รอบคอบ เช่น สัญญาฉบับนี้ทำไว้หลวมเกินไป. หละหลวม

ละเอียดรอบคอบ เขียนยังไง

[røpkhøp] (v) EN: be cautious ; be circumspect ; be careful ; be discreet FR: être prudent. รอบคอบ

สับเผ้าแปลว่าอะไร

(-เพฺร่า) . อาการที่ทำอย่างหวัด ๆ ลวก ๆ, ขาดความรอบคอบ, ไม่ถี่ถ้วน, ไม่เรียบร้อย, เช่น เขียนหนังสือสะเพร่าตก ๆ หล่น ๆ ล้างแก้วสะเพร่า ไม่สะอาด.

เผลอเรอหมายถึงอะไร

คำว่า เผอเรอ เผอ เขียน สระเอ ผ ผึ้ง อ อ่าง ส่วนคำว่า เรอ เขียน สระเอ ร เรือ อ อ่าง เผอเรอ แปลว่า เลินเล่อ ขาดความเอาใจใส่ไม่รอบคอบในสิ่งที่ทำ จึงมักทำให้เกิดข้อบกพร่องหรือความผิดพลาดเสมอ เผอเรอ เป็นลักษณะปรกติที่เป็นอุปนิสัยประจำของคน เช่น เพราะเธอเผอเรอไม่เอาใจใส่กับงานที่พิมพ์ จึงพิมพ์ตกไปหลายบรรทัด.