สถาบันการเมืองการปกครอง มีหน้าที่

 ความหมายของสถาบันการปกครอง

   สถาบันการปกครอง  หมายถึง ตำแหน่งหรือองคืการวึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมดูแลประเทศ โดยได้กำหนดไว้เป็นที่แน่นอน และได้รับการยอมรับกันโดยทั่วไป

  องค์ประกอบสถาบันการปกครอง

     1.องค์ประกอบของสถาบันการปกครองโดยทั่วไป ได้แก่

             1.1 ประมุขของประเทศ

              1.2 ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาล

              1.3 ฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา

              1.4 ฝ่ายตุลาการหรือศาล

      2.อำนาจหน้าที่ของสถาบันต่างๆจะมีมากน้อยเพียงไร ย่อมขึ้นอยู่กับระบอบการปกครองของประเทศนั้น

การปกครองของไทยในปัจจุบัน

สถาบันการเมืองการปกครอง มีหน้าที่

      ภายหลังการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 แล้ว ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

      สถาบันการเมืองการปกครองของไทยในปัจจุบัน ประกอบด้วยสถาบันและองค์กรต่างๆดังต่อไปนี้

สถาบันพระมหากษัตริย์

      1.ทรงดำรงตำแหน่งประมุขของประเทศ

      2.ทรงใช้อำนาจอธิปไตยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ

สถาบันการเมืองการปกครอง มีหน้าที่

สถาบันรัฐสภา

      1.รัฐสภา  หมายถึง  ที่ประชุมของผู้แทนประชาชานทั้งประเทศ เพื่อทำหน้าทีแทนประชาชนในการตราพระราชบัญญัติต่างๆ

      2.รูปแบบของรัฐสภา มี 2 แบบ คือ

          2.1 แบบสภาเดียว

          2.2 แบบ 2 สภา ได้แก่

               ก. สภาผู้แทนราษฎร์

               ข.วุฒิสภา  

     3.ที่มาของสมาชิกรับสภา

         3.1 มาจากการเลือกตั้ง เช่น ในกรณีของสมาชิกผู้แทนราษฎร์

         3.2 มาจากการแต่งตั้ง เช่น ในกรณีของสมาชิกวุฒิสภา โดยพระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งผู้ที่พระองค์เห็นสมควรให้เป็นสมาชิกวุฒิสภา

 

สถาบันการเมืองการปกครอง มีหน้าที่

4.อำนาจหน้าที่ของรัฐสภา ได้แก่

      4.1 เสนอชื่อบุคคลที่สมควรเป็นนายกรัฐมนตรี

     4.2 ตราพระราชบัญญัติ

     4.3 ควบคุมรัฐบาลให้บริหารประเทศตามนโยบายที่แถลงไว้ต่อรัฐสภา

     4.4 อำนาจหน้าที่อื่นๆ เช่น

            ก.การแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

            ข.การให้ความเห็นชอบในการประกาศสงคราม

สถาบันรัฐบาล

        1.รัฐบาล หมายถึง คณะบุคคลซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการบริหารประเทศเรียกว่า คณะรัฐมนตรี

สถาบันการเมืองการปกครอง มีหน้าที่

2.หน้าที่ของรัฐบาล คือ

          2.1 กำหนดนโยบายในการบริหารราชกาลแผ่นดิน

          2.2 นำนโยบายและพระราชบัญญัติที่ออกโดยรัฐสภาไปบังคับให้เกิดผล

        3.องค์ประกอบของรัฐบาล ได้แก่ คณะรัฐมนตรีซึ่งประกอบด้วยตำแหน่งต่างๆ ดังนี้

            3.1 นายกรัฐมนตรี

            3.2 รองนายกรัฐมนตรี

            3.3 รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

            3.4 รัฐมนตรีว่าการกระทรวง

            3.5 รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง

            3.6 รัฐมนตรีว่าการทบวง

      4.ที่มาของรัฐบาล รัฐบาลมีที่มา 2 ทาง คือ

          4.1 มาจากการเลือกตั้งของประชาชน

          4.2 มาจากการปฏิวัติหรือรัฐประหาร

       5.อำนาจหน้าที่ของรัฐบาล

           5.1 รักษาเอกราชและความมั่นคงของชาติ

          5.2 รักษากฎหมายและความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ

          5.3 พัฒนาเศรษฐกิจเพื่อความเจริญก้าวหน้า

          5.4 ให้บริหารด้านการศึกษา การแพทย์ การสาธารณสุข ฯลฯ

          5.5 จัดเก็บภาษีอากรเพื่อนำมาใช้ในการบริหารประเทศ

6.ตุลาการ

คือผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาอรรถคดี ตำแหน่งของตุลาการเรียกว่า “ผู้พิพากษา”  ตุลาการกับผู้พิพากษาของไทยในสมัยโบราณนั้นมีอำนาจหน้าที่คนละอย่างกัน ปัจจุบัน ในศาลยุติธรรมนั้น ตุลาการเป็นชื่อข้าราชการประเภทหนึ่ง เรียกว่า “ข้าราชการตุลาการ ส่วนผู้พิพากษาเป็นตำแหน่งของข้าราชการตุลาการ แต่ในศาลปกครองและศาลรัฐธรรมนูญนั้น คำว่า ตุลาการ ใช้เรียกเป็นชื่อข้าราชการและเป็นตำแหน่งด้วย สำหรับศาลยุติธรรมนั้น คำว่า ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม

สถาบันการเมืองการปกครอง มีหน้าที่

แหล่งอ้างอิง:

https://sites.google.com/site/groupsocial55/karmeuxng-kar-pkkhrxng/4-kar-pkkhrxng-khxng-thiy

สถาบันการเมืองการปกครองคืออะไร

สถาบันการเมือง (อังกฤษ: Political Institution) คือ รูปแบบของการบริหารจัดการทางการเมืองที่ถูกจัดตั้งขึ้นในลักษณะที่มีความเป็นทางการ สถาบันการเมืองเป็นมโนทัศน์ (concept) หนึ่งที่มักถูกสอนในวิชาการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ (Compartive Politcs) และวิชาการพัฒนาการเมือง ซึ่งเป็นสาขาวิชาย่อยของวิชารัฐศาสตร์

สถาบันการศึกษามีหน้าที่อะไร

2. บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาตามเจตนารมณ์ของ พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 1) จัดทำนโยบายแผนพัฒนาการศึกษาด้านวิชาการ บุคคล งบประมาณ บริหารทั่วไป 2) จัดตั้ง/รับผิดชอบการใช้จ่ายงบประมาณ 3) พัฒนาหลักสูตร /จัดการเรียนการสอน 4) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ แนวปฏิบัติ 5) กำกับ ติดตามประเมินผลตามแผนงานโครงการ 6) ระดมทรัพยากร ปกครอง ดูแล ...

หน้าที่ของสถาบันเศรษฐกิจมีอะไรบ้าง

3.2 หน้าที่ของสถาบันเศรษฐกิจ 1. สนองความต้องการทางเศรษฐกิจ เช่น ผลิต แบ่งปันวัตถุหรือบริการตามที่มนุษย์ต้องการ 2. ให้ความสะดวกแก่มนุษย์ในการใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เช่น ระบบเงินเชื่อ การใช้เงินตรา ฯ 3. พัฒนาและสร้างความเจริญก้าวหน้าในทางเศรษฐกิจ เพื่อความอุดมสมบูรณ์และความมั่นคงในด้านนี้แก่สมาชิกในสังคม

สถาบันการเมืองการปกครองของไทย มีอะไรบ้าง

เนื้อหา.
1 พระมหากษัตริย์.
2 สภานิติบัญญัติ 2.1 สภาผู้แทนราษฎร 2.2 วุฒิสภา.
3 ฝ่ายบริหาร.
4 ฝ่ายตุลาการ.
5 การปกครองส่วนท้องถิ่น.
6 พรรคการเมือง.
7 พัฒนาการการเมืองไทย 7.1 รัฐธรรมนูญ.
8 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 8.1 การเข้าร่วมองค์การการเมืองระหว่างประเทศ.