การหายใจเข้า ลักษณะของกระบังลมเป็นอย่างไร

เมื่อเราฝึกหายใจเข้าออกลึก ๆ หัวใจจะเต้นช้าลง และออกซิเจนจะเข้าสู่กระแสเลือด พร้อมกับสื่อสารไปที่สมองให้ผ่อนคลาย

การศึกษาในมหาวิทยาลัยพบว่า นักศึกษาที่ได้เข้าคอร์สฝึกการหายใจเข้าออกลึก ๆ จะรู้สึกซึมเศร้าน้อยลง กังวลน้อยลง และดื่มแอลกอฮอล์น้อยลง เมื่อเปรียบเทียบกับเพื่อนกลุ่มอื่น

การหายใจเข้าออกลึก ๆ ยังช่วยกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนเอนดอร์ฟิน ซึ่งสามารถลดความรู้สึกเจ็บปวดได้ แม้การถอนหายใจง่าย ๆ เพียงครั้งเดียวยังช่วยลดความตึงเครียดทางร่างกาย และปรับอารมณ์ให้ดีขึ้นได้

ปรับการทำงานของสมองให้ดีขึ้น
การศึกษาชิ้นหนึ่งได้ขอให้ผู้เข้าร่วมงานวิจัยหายใจเข้าลึก ๆ เป็นเวลา 5 วินาที และหายใจออกยาว ๆ เป็นเวลา 5 วินาที รวมทั้งหมด 10 นาทีต่อวัน สัปดาห์ละ 6 ครั้ง เป็นเวลานาน 6 สัปดาห์

ผลพบว่าผู้เข้าร่วมการศึกษานี้สามารถใช้สมองคิดได้เร็วขึ้น และทำคะแนนได้ดีขึ้น ในการทดสอบคิดเลขเร็ว

การเล่นโยคะและเทคนิคการหายใจบางอย่างก็พิสูจน์แล้วว่าสามารถเพิ่มความสามารถของสมองในการจดจ่อและทำงานอย่างตั้งใจ

การหายใจด้วยกล้ามเนื้อกระบังลม (Diaphragmic breathing)

การหายใจเข้า ลักษณะของกระบังลมเป็นอย่างไร

Credit photo: pixabay.com

การหายใจด้วยกล้ามเนื้อกระบังลม (Diaphragmic breathing) หรือที่นิยมเรียกว่า Belly breathing หรือ Abdominal breathing เป็นการหายใจเข้า-ออก ช้าๆ ด้วยการใช้บังคับใช้กล้ามเนื้อกระบังลม ช่วยให้กระบังลมแข็งแรงขึ้น และเพิ่มประสิทธิภาพในการหายใจ และเมื่อประสิทธิภาพในการหายใจของเราดีขึ้น ร่างกายก็จะได้รับอ๊อกซิเจนมากขึ้น

ประโยชน์ของการหายใจด้วยกล้ามเนื้อกระบังลม

  1. ช่วยให้ร่างกายผ่อนคลาย ลดผลกระทบจากฮอร์โมนเครียด หรือ คอร์ติซอล
  2. ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
  3. ลดความดันโลหิต
  4. ช่วยให้ผู้ที่มีอาการ PTSD (Post Traumatic Stress Disorder) ดีขึ้น
  5. ช่วยให้กล้ามเนื้อบริเวณลำตัวแข็งแรงขึ้น
  6. ช่วยให้ร่างกายมีความอึดในการออกกำลังกายมากขึ้น
  7. ช่วยลดอาการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ
  8. ช่วยลดอัตราการหายใจขณะออกกำลังกาย ทำให้ใช้พลังงานในการออกกำลังกายน้อยกว่าเดิม
  9. ช่วยลดความเครียด ช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกันทำงานได้ดีขึ้น

การหายใจเข้า ลักษณะของกระบังลมเป็นอย่างไร

ในขณะที่หายใจเข้า กระบังลมจะเคลื่อนตัวต่ำลง เพื่อช่วยนำอากาศเข้ามาในปอด และในขณะที่หายใจออกกล้ามเนื้อกระบังลมจะยกตัวสูงขึ้นเพื่อช่วยนำอากาศออกจากปอด

 

ผู้ป่วย COPD (Chronic Obstructive Pulmonary Disease) สามารถใช้การหายใจแบบนี้ในการช่วยให้กล้ามเนื้อกระบังลมแข็งแรงขึ้น และประสิทธิภาพในการหายใจดีขึ้น

 

การหายใจเข้า ลักษณะของกระบังลมเป็นอย่างไร

 

ในกรณีผู้ป่วย COPD หรือหอบหืด (Asthma) ปอดมีความยืดหยุ่นหน้อยกว่าคนปกติ  ดังนั้นกล้ามเนื้อกระบังลมจะไม่ทำงานได้อย่างเต็มที่ในขณะที่หายใจเข้า และออก ดังนั้นร่างกายจึงต้องใช้กล้ามเนื้อส่วนคอ และหน้าอกเข้ามาช่วยในการหายใจ และร่างกายไม่สามารถรับอ๊อกซิเจนเข้ามาได้อย่างเต็มที่ในขณะที่ออกกำลังกาย หรือทำกิจกรรมทางร่างกาย

 

 

การหายใจเข้า ลักษณะของกระบังลมเป็นอย่างไร

การฝึกหายใจด้วยกล้ามเนื้อกระบังลมจะช่วยให้เอาอากาศที่สะสมอยู่ในปอดออกมาได้มากขึ้น ช่วยให้กระบังลมแข็งแรงขึ้น และช่วยเพิ่มปริมาณอ๊อกซิเจนที่หายใจเข้าสู่ร่างกาย

ขั้นตอนการหายใจด้วยกระบังลม

  1. นั่งในท่าที่สบาย หรือนอนหงายรอาบลงกับพื้น
  2. ผ่อนคลายกล้ามเนื้อบริเวณไหล่
  3. เอามือหนึ่งข้างวางบนหน้าอก และอีกข้างหนึ่งวางที่ท้อง
  4. หายใจเข้าทางจมูกประมาณ 2 วินาที เอาอากาศเข้าไปที่ท้อง ท้องจะค่อยๆ ป่องออก ในขณะที่หน้าอกไม่ขยับ (กรณีผู้เริ่มต้น หากไม่ถนัดสามารถใช้การเบ่งท้องช่วยได้)
  5. ค่อยๆ หายใจออกเป็นเวลาเท่ากับหายใจเข้า
    • สำหรับผู้เริ่มต้น ให้ค่อยๆ หายใจออกทางจมูก
    • สำหรับผู้ที่หายใจจนเริ่มคล่องแล้วให้ค่อยๆ หายใจออกทางปากด้วยการทำปากเหมือนกำลังดูดน้ำ (Pursed lip) เพื่อให้อากาศค่อยๆ ไหลออกมาทางปาก วิธีก่รนี้จะช่วยให้ปอดแข็งแรงขึ้น
    • ถ้าทำจนเริ่มคล่องแล้วให้ใช้การหายใจออกทางปากแบบ Pursed lip ให้ยาวขึ้นเป็น 2 เท่า ของเวลาที่หายใจเข้า เช่น ถ้าหายใจเข้า 2 วินาที ให้หายใจออก 4 วินาที
  6. ทำซ้ำไปเรื่อยๆ จนรู้สึกผ่อนคลาย คุณสามารถเพิ่มระยะเวลาการหายใจเข้าเป็น 4 วินาที และการหายใจออกเป็น 8 วินาทีได้ เพื่อให้ปอดได้มีเวลาในการแลกเปลี่ยนก๊าซนานขึ้น

การหายใจเข้า ลักษณะของกระบังลมเป็นอย่างไร

By admin1 การหายใจ bellybellybreathbreathingtechniquebreathworkdiaphragmdiaphragmicbreathfreedivekrunookvictoriousbreathzanookdiveกลั้นหายใจการหายใจครูนุ๊กคู่มือฝึกหายใจนอนไม่หลับประโยชน์ของการหายใจฝึกกลั้นหายใจฝึกหายใจฝึกหายใจเบื้องต้นฟรีไดฟ์วิธีรักษาหอบหืดสอนกลั้นหายใจสอนหายใจหอบหืดหอบหืดหายได้หายใจขัดหายใจไม่สะดวกอารมณ์ดีเครียดเรียนดำน้ำเรียนฟรีไดฟ์

- abdominal breathing �������ö���������͹��Ǣͧ abdomen 㹪�ǧ������� abdomen �оͧ����� ��Ш��غŧ�㹪�ǧ�����͡ �»��Ԩо� abdominal breathing ���ҡ

- costal breathing �������ö���������͹��Ǣͧ��д١����ç �������Ẻ����ѡ��㹪�ǧ����դ����纻Ǵ�ͧ abdomen (�� peritonitis) ��觡������͹��Ǣͧ������㹪�ͧ��ͧ�з��������纻Ǵ������� ��ҧ��¨�����Ẻ costal breathing ᷹ 㹷ҧ��Ѻ�ѹ�����ҧ����դ����纻Ǵ㹺���dz��ͧ͡ (�� pleuritis) ��ҧ��¡���� abdominal breathing ���������ҡ

ลักษณะของการหายใจเข้า เป็นอย่างไร

การหายใจเข้า (Inspiration) กะบังลมจะเลื่อนต่ำลง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ทำให้ปริมาตรของช่องอกเพิ่มขึ้น ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดลดต่ำลงกว่าอากาศภายนอก อากาศภายนอกจึงเคลื่อนเข้าสู่จมูก หลอดลม และไปยังถุงลมปอด

หายใจเข้าผ่านอะไรบ้าง

ระบบทางเดินหายใจแบ่งตามหน้าที่ หลอดลมทำหน้าที่เป็นการลำเลียงอากาศ : มีหน้าที่นำอากาศจากภายนอกเข้าสู่ปอด เป็นทางผ่านเข้าออกของอากาศเท่านั้น ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนแก๊ส ได้แก่ จมูก, คอหอย, กล่องเสียง, หลอดคอ, หลอดลมใหญ่, หลอดลมฝอย และปลายหลอดลมฝอย

ข้อใดคือกําหนดอัตราการหายใจเข้า

สิ่งที่กำหนดอัตราการหายใจเข้าและออก คือ ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด ถ้าปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดต่ำจะทำให้การหายใจช้าลง เช่น เวลานอนหลับ แต่ถ้าปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูงจะทำให้มีการหายใจเร็วขึ้น เช่น เมื่อออกกำลังกาย

การยกตัวและหดตัวของกระบังลมส่งผลอย่างไรกับระบบหายใจ

การที่กล้ามเนื้อกะบังลมหดตัว จะท าให้ กะบังลมลดตัวต่าลงในขณะที่กระดูกซี่โครงจะ ยกตัวขึ้น ส่งผลให้ช่องอกมีปริมาตรเพิ่มขึ้น และความดันภายในช่องอกลดลง อากาศจาก ภายนอกจึงเคลื่อนที่เข้าสู่ปอด เกิดเป็นการ หายใจเข้า Page 11 การหายใจเข้าและการหายใจออก ในทางกลับกันเมื่อกล้ามเนื้อกะบังลมคลายตัว จะท าให้กะบังลมยกตัวสูงขึ้นในขณะ ...