ข่าวโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยควัน

 "เป็นกฎหมายที่เฉพาะเจาะจงว่าถ้าเราจะจัดการอุบัติภัยจากสารเคมี จะต้องทำอะไรบ้าง อุตสาหกรรมนี้ใช้สารเคมีอะไร ปล่อยสู่สิ่งแวดล้อมปริมาณเท่าไหร่ เคลื่อนย้ายจากไหนไปไหน... ในระยะยาวมันต้องมีระบบนี้ เป็นข้อมูลที่ประชาชน หน่วยงานสาธารณสุข หน่วยงานบรรเทาสาธารณภัยเข้าถึงได้ ไม่ใช่ข้อมูลที่ปิดลับ" ผอ. กรีนพีซประจำประเทศไทย กล่าว

โดยที่ผ่านมา ได้ร้องเรียนไปยังเทศบาลตำบลบ้านนา แต่ไม่มีอะไรคืบหน้า จนสุดท้ายต้องขอความช่วยเหลือจากสื่อมวลชน เนื่องจากไม่สามารถทนทุกข์ทรมานจากการนอนดมกลิ่นเหม็นได้อีกต่อไป


จากการลงพื้นที่ตรวจสอบพบ นายจำปี ผิวอ่อน อายุ 63 ปี ชาวบ้านในพื้นที่ซึ่งได้นำผู้สื่อข่าวไปยังฝายน้ำล้นใต้ถนนหน้าบ้าน พบว่ามีน้ำไหลผ่านลำรางไปยังคลองสาธารณะ ก่อนจะไหลออกสู่คลองประแสร์ ซึ่งน้ำที่ไหลผ่านมีกลิ่นเหม็นตลบอบอวล

ขณะที่สภาพน้ำกลายเป็นสีดำ และจากการนำอุปกรณ์เข้าตรวจสอบน้ำเสียบริเวณดังกล่าวพบค่าสารแขวนลอยสูงถึง 831 พีพีเอ็ม

นายจำปี บอกว่า ตนเองมีอาชีพทำสวนยางและน้ำเสียจำนวนมากได้ไหลผ่านฝายน้ำล้นลงลำรางหน้าบ้านจนส่งกลิ่นเหม็นมานานเกือบ 3 เดือน โดยเฉพาะช่วงกลางคืนที่จะมีกลิ่นเหม็นมากจนต้องปิดประตูและหน้าต่าง

โดยที่ผ่านมา เคยร้องเรียนไปยังเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขเทศบาลตำบลบ้านนา ได้มีการส่งเจ้าหน้าที่เข้าตรวจสอบ และอ้างว่ากลิ่นเหม็นน่าจะมาจากหญ้าเน่า แต่เมื่อมีการลงพื้นที่ตรวจสอบบริเวณทุ่งนาที่มีน้ำเสียไหลผ่านพบว่า สภาพทุ่งหญ้าเป็นสีเขียวขจี และไม่มีหญ้าเน่าแต่อย่างใด


พร้อมยังฝากวอนไปยังสำนักงานอุตสาหกรรม จ.ระยอง รวมทั้งศูนย์ควบคุมมลพิษ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ส่งเจ้าหน้าที่เข้าตรวจสอบปัญาหอย่างจริงจังเพื่อแก้ปัญหากลิ่นเหม็นให้หมดไป

ประกอบกับช่วงนี้เป็นช่วงที่การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในพื้นที่ อ.แกลง ค่อนข้างรุนแรงจนประชาชนไม่กล้าออกจากบ้าน แต่สุดท้ายกลับต้องนั่งดมกลิ่นเหม็นตลอดทั้งวัน






แกลเลอรี

ข่าวโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยควัน

ข่าวโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยควัน

ข่าวโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยควัน

ข่าวโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยควัน

ข่าวโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยควัน

+1

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยควัน

เตือน ปชช.ซอยกิ่งแก้วสวมหน้ากาก เลี่ยงสูดควันไฟโดยตรง เสี่ยงมะเร็งได้

พิษวิทยาจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ประกาศเตือนประชาชนในพื้นที่ซอยกิ่งแก้ว 21 หมู่ที่ 15 ต.บางพลีใหญ่ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ให้สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา เพื่อหลีกเลี่ยงการสูดดมกลิ่นควันไฟโดยตรง จากเหตุโรงงานระเบิด เนื

ข่าวโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยควัน

ยังวุ่นไม่จบ! ประจวบฯ ยังหาที่ทิ้งถาวรไม่ได้ ด้าน ทสจ.ประจวบฯ ลงพื้นที่ตรวจสอบจุดทิ้งขยะชั่วคราว หลังชาวบ้านร้องเรียน

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า  จากปัญหาฝุ่นละออง มลพิษที่พุ่งสูงขึ้น ในวันนี้ เมื่อเวลาประมาณ 07.00 น. ผู้ใช้ทวิตเตอร์   “อ้วนเป็นหมี” @@prdpsssssz     ได้โพสต์ภาพโรงงานอุตสหากรรมใน จังหวัดสมุทรปราการพ่นควันสีดำออกมา พร้อมบรรยายว่า

“แล้วจะลดปริมาณฝุ่นหรือมลพิษทางอากาศได้ยังไงเพราะโรงงานยังปล่อยควันดำออกมาขนาดนี้ พื้นที่อ.เมือง จ.สมุทรปราการครับ”

ข่าวโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยควัน

ทั้งนี้ผู้ที่อยู่ใน จ.สมุทรปราการระบุว่าโรงงานอุตสาหกรรมมักจะปล่อยควันพิษในช่วงเวลาเช้า

รมว.กระทรวงทรัพยากรฯวอนโรงงานโม่หินสระบุรี ลดฝุ่นละออง

ทส.ย้ำ “ฝุ่นละออง PM 2.5” ไม่ร้ายแรงถึงขั้น สั่งปิดเรียน-หยุดงาน

กระทรวงคมนาคม ออกมาตรการเร่งแก้ปัญหาฝุ่นละออง

อย่างไรก็ตามเมื่อวันที่ 23 ม.ค. กระทรวงอุตสาหกรรมได้ลงพื้นที่ตรวจโรงงาน  จำนวน 440 และไม่ปรากฏว่าพบฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน

นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า กระทรวงอุตสาหกรรมได้ออกประกาศ เรื่อง กำหนดให้โรงงานต้องติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษ เพื่อรายงานมลพิษอากาศจากปล่องโรงงาน พ.ศ. 2565 ให้โรงงานขนาดใหญ่ 13 ประเภทที่ระบายมลพิษจากปล่องกว่า 600 โรงงานทั่วประเทศ ต้องติดตั้งระบบตรวจสอบการระบายมลพิษอากาศจากปล่องแบบอัตโนมัติต่อเนื่อง (Continuous Emission Monitoring Systems : CEMS) และเชื่อมโยงข้อมูลไปยังกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) เพื่อควบคุมเฝ้าระวังการระบายมลพิษอากาศจากปล่องแบบ Real time ตลอด 24 ชั่วโมง ตั้งแต่วันที่ 10 มิถุนายน 2566 เป็นต้นไป โรงงานที่ขออนุญาตใหม่ต้องติดตั้ง CEMS ให้แล้วเสร็จก่อนเริ่มประกอบกิจการโรงงาน ส่วนโรงงานเก่าต้องติดตั้งให้แล้วเสร็จภายใน 9 มิถุนายน 2567

“นอกจากเจ้าหน้าที่จะสามารถดูค่าการระบายมลพิษได้ตลอด 24 ชั่วโมงแล้ว ยังเปิดให้ประชาชนเข้าดูค่าการระบายมลพิษจากปล่องผ่านแอปพลิเคชัน POMS เพื่อเป็นการแสดงความจริงใจของภาคอุตสาหกรรมที่จะไม่ระบายมลพิษเกินค่ามาตรฐานที่กำหนด และพร้อมให้ภาคประชาชนตรวจสอบ โดยสามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน POMS ได้ทั้งระบบ ไอโอเอส และแอนดรอยด์”

นายวันชัย พนมชัย อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม กล่าวว่า กรอ. ได้ดำเนินการปรับปรุงประกาศกระทรวงฉบับดังกล่าวแล้วเสร็จ และประกาศในราชกิจจานุเบกษา 10 มิถุนายน 2565แล้ว โดยจะมีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนด 365 วันนับถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป คือวันที่ 10 มิถุนายน 2566 เป็นการขยายพื้นที่บังคับใช้ให้โรงงานติดตั้ง CEMS เพื่อรายงานมลพิษอากาศจากปล่องระบายให้ครอบคลุมทั่วประเทศ จากเดิมบังคับใช้ในจังหวัดระยองแห่งเดียว รวมทั้งปรับปรุงประเภทโรงงาน และชนิดของมลพิษที่ต้องตรวจวัด เพื่อควบคุมกำกับดูแลการระบายมลพิษอากาศในกลุ่มโรงงานขนาดใหญ่ ที่มีการระบายมลพิษสูงหรือกระบวนการผลิตสุ่มเสี่ยงจะมีการระบายสารมลพิษ เช่น โรงไฟฟ้าที่มีกำลังการผลิตต่อหน่วย 10 เมกกะวัตต์(MW) ขึ้นไป  หม้อน้ำที่มีขนาด 30 ตันไอน้ำต่อชั่วโมงขึ้นไป  หน่วยผลิตที่มีการเผาไหม้เชื้อเพลิง 100 ล้านบีทียู (MMBTU) ต่อชั่วโมงขึ้นไป  โรงเหล็ก  โรงกลั่นน้ำมัน  โรงปูนซีเมนต์  โรงกระดาษ  โรงผลิตกรด  เตาเผาขยะ โรงผลิตแก้ว เป็นต้น รวมถึงหน่วยผลิตอื่นที่ถูกกำหนดให้ติดตั้ง CEMS ตามเงื่อนไขรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) โดยกำหนดให้ต้องมีการตรวจวัดค่าความทึบแสง ฝุ่นละออง ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน ไฮโดรเจนซัลไฟด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ปรอท ไฮโดรเจนคลอไรด์ หรือค่าอื่น ๆ ตามที่กฎหมายกำหนด

“โรงงานที่จะต้องติดตั้งระบบ CEMS เมื่อประกาศมีผลบังคับใช้ กว่า 50% เป็นโรงงานที่ทำ EIA และถูกกำหนดให้มีการติดตั้งระบบ CEMS อยู่แล้ว กรอ. เชื่อมั่นว่ามาตรการเฝ้าระวังการระบายมลพิษจากปล่องโรงงานแบบ Real Time จะช่วยส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพในการประกอบกิจการ และเป็นมาตรการหนึ่งในแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติการแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง ที่ทุกภาคส่วนต้องช่วยกัน” อธิบดีกรมโรงงานฯ กล่าวปิดท้าย