วิทยาศาสตร์สอดคล้องกับพระพุทธศาสนาในเรื่องใด

        "ศาสนาในอนาคต จะต้องเป็นศาสนาสากล ศาสนานั้นควรอยู่เหนือพระเจ้าที่มีตัวตน และควรจะเว้นคำสอนแบบสิทธันต์ (คือเป็นแบบสำเร็จรูปที่ให้เชื่อตามเพียงอย่างเดียว) และแบบเทววิทยา(คือพึ่งเทวดาเป็นหลักใหญ่) ศาสนานั้น เมื่อครอบคลุมทั้งธรรมชาติและจิตใจ จึงควรมีรากฐานอยู่บนสามัญสำนึกทางศาสนา ที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ต่อสิ่งทั้งปวง คือ ทั้งธรรมชาติและจิตใจอย่างเป็นหน่วยรวมที่มีความหมาย พระพุทธศาสนาตอบข้อกำหนดนี้ได้....ถ้าจะมีศาสนาใดที่รับมือได้กับความต้องการทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ปัจจุบัน ศาสนานั้นก็ควรเป็นพระพุทธศาสนา"

4. มุ่งความจริงมาตีแผ่ วิทยาศาสตร์นั้นแสวงหาความรู้จากธรรมชาติและจากกฎธรรมชาติที่มีอยู่ภายนอกตัวมนุษย์ (มุ่งเน้นทางวัตถุหรือสสาร) ไม่ได้สนใจเรื่องศีลธรรม เรื่องความดีความชั่ว สนใจเพียงค้นคว้าเอาความจริงมาตีแผ่ให้ประจักษ์เพียงด้านเดียว เช่น วิทยาศาสตร์พบเรื่องการระเบิด แต่ควรระเบิดอะไร ไม่ควรระเบิดอะไร ไม่อยู่ในขอบข่ายของวิทยาศาสตร์ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์จึงมีทั้งคุณอนันต์และมีโทษมหันต์ กระบวนการผลิตทางวิทยาศาสตร์ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม คำสอนทางพระพุทธศาสนานั้น เน้นเรื่องศีลธรรม ความดีความชั่ว มุ่งให้มนุษย์มีความสุข เป็นลำดับขึ้นไปเรื่อย ๆ จนถึงความสงบสุข อันสูงสุดคือนิพพาน ฉะนั้นกระบวนการปฏิบัติธรรมในพุทธศาสนาจึงส่งเสริมให้มนุษย์อนุรักษ์ธรรมชาติ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

�. �ش������¢ͧ�Է����ʵ��Ѻ�ط���ʵ��

�Է����ʵ���ط���ʵ��- ��䢻�ҡ���ó��ҧ� ����Դ���

- ��ͧ������ѡ��ࡳ��ͧ�����ҵ�

- ���㨡�ࡳ������ҵ�㹹���� � ��� �ص�, �ժ, �Ե,
����, �����ҵ�
- ��ͧ��������顮ࡳ�������ԧ�ͧ���Ե������
�. �������� �����ѡ�Է����ʵ�� ��è��������㴵�ͧ���٨�������繨�ԧ���¡�͹ ��һѭ������˵ؼ��繵�ǵѴ�Թ������ԧ ��ѡ�ط���ʹҶ����� ������ԧ�е�ͧ���٨������¡�û�Ժѵ� �ب��ѡ ������ٵ� ��з���˹����ѷ�ҷ���蹨е�ͧ�ջѭ��

�. �����ԴẺ�ط��Ѻ�����ԴẺ�Է����ʵ�����¡ѹ���
�.� �׺������˵ؼŢͧ��ҡ���ó���Тͧ�ء��
�.� �����������Ҥ�����ԧ�ҡ���ʺ��ó� ��µ�� ������Ǹ��� ��� �Դ �� �� ���
�.� ��кǹ�����Դ �մѧ���

�. ��駻ѭ�����Ѵ
�. ��駤Ӷ�����Ǥ������͵ͺ���ͺ
�. �Ǻ���������
�. �������������
�. ��Ҥӵͺ���Ǥ��Ƕ١��駷�ɮ����
�. ��任���ء����ѭ���. �ء��-��ҡ���ó�ҧ�����ҵ�
�. �Ҥӵͺ�ҡ�ѷ��
�. �ͧ��Ժѵ��¤�
�. �Ǻ����š�û�Ժѵ�
�. �Դ������¹ �١����Թ�֧�ش����
�. ���������š
�. �����ʹ���ͧ��Ф���ᵡ��ҧ�����ҧ��оط���ʹҡѺ��ѡ�Է����ʵ��
�.� ��ѡ���ѡɳ� ���͹Ԩ�ѧ (impermanent) �ء�ѧ (conflict) ���͹ѵ�� (no-self)
�.� �������Ѻ�š�������������ѵ�� (Metaphysics) ����Է����ʵ����оط���ʵ������Ѻ�����ѵ�� ������ѡ����»���ҷ�����ʷ�� � ����ը�ԧ �š���鹨ҡ�����ѵ���Է����ʵ���ѧ�������Ѻ����������һ���ҷ������������ͧ����ش���·��е�ͧ�Ѵ�Թ������ԧ
�ط���ʹ�������� �Ѩ��������٧�����ä �� �Ծ�ҹ ����Ҩ���������»���ҷ������ �������»ѭ�Թ�����
�.� ���͸Ժ�¤�����ԧ
�Է����ʵ������� ������ԧ������Ҹ�ó�����ö���٨�����Ѩ�����ҧ�ط� �շ������Ҹ�ó���лѨ�ѵ�ѧ �ǷԵѾ� �ԭ���� - �ѹ�ԭ�٪��о֧�����੾�е�
��ػ������� ����ᵡ��ҧ�����ҧ�ط���ʵ�� �Ѻ �Է����ʵ�����Ӥѭ����Է����ʵ�����ʹ�����ͧ��Ÿ��� �����դ������� �ҧ����繡�ҧ�����ͧ�١�Դ ��ä鹾��ҧ�Է����ʵ�� ����駤س͹ѹ���������ѹ�� ��ǹ���͹�ҧ�ط�-��ʹҹ�� ������ͧ��Ÿ��� ������ �������� ��觷��������������ѧ���դ����آ���ӴѺ����������� ���֧����ʧ��آ�ѹ�٧�ش����������è�������˹

พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ทำไมคนที่เรียนวิทยาศาสตร์จึงไม่ค่อยเชื่อเรื่องพระพุทธศาสนา http://winne.ws/n3507

วิทยาศาสตร์สอดคล้องกับพระพุทธศาสนาในเรื่องใด

โดย Pansasiri

15 พ.ค. 2559 - 17.15 น. , แก้ไขเมื่อ 19 พ.ค. 2559 - 20.12 น.

ไลฟ์ไสตล์

1.4 แสน ผู้เข้าชม

share

Tags :

พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

วิทยาศาสตร์สอดคล้องกับพระพุทธศาสนาในเรื่องใด

    พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

    หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์มีทั้งส่วนสอดคล้องกันและส่วนที่แตกต่างกันดังต่อไปนี้

    1. ความสอดคล้องกัน

    1.1  ในด้านความเชื่อ วิทยาศาสตร์ถือหลักว่าก่อนจะเชื่ออะไรนั้นจะต้องมีการพิสูจน์ให้เห็นจริงได้เสียก่อน วิทยาศาสตร์เชื่อในเหตุผล ไม่เชื่ออะไรลอย ๆ และต้องการหลักฐานมายืนยัน วิทยาศาสตร์ไม่อาศัยศรัทธาแต่อาศัยเหตุผล เชื่อการทดลองว่าให้ความจริงแก่เราได้ แต่ไม่เชื่อการดลบันดาลของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพราะทุกอย่างดำเนินอย่างมีกฎเกณฑ์ มีเหตุผล และวิทยาศาสตร์อาศัยปัญญาและเหตุผลที่ตัวตัดสินความจริง

    พระพุทธศาสนาก็มีหลักความเชื่อเช่นเดียวกับวิทยาศาสตร์ ดังหลักคำสอนที่ปรากฏในการลามสูตร พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ว่า การจะเชื่ออะไรแก่ไหนนั้นจะต้องทดลองพิสูจน์ด้วยตนเอง โดยอาศัยสติ ปัญญาและเหตุผล แต่อย่างเชื่อโดยวิธีดังต่อไปนี้ คือ

    (1)  อย่าเพิ่งปลงในเชื่อเพียงเพราะการฟังตามกันมา

    (2)  อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะการถือสืบ ๆ กันมา

    (3)  อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะการเล่าลือ

    (4)  อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะการอ้างคัมภีร์

    (5)  อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะนึกคิดเอาเอง

    (6)  อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะการคาดคะเนเอา

    (7)  อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะการตรึกตรอง

    (8)  อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะตรงกับความเห็นของตน

    (9)  อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะรูปลักษณะน่าเชื่อ

    (10)  อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะท่านเป็นครูของเรา

    และพระองค์ทรงสอนต่อไปว่า เมื่อใดที่เราอาศัยปัญญาทดสอบด้วยตนเองแล้วเห็นว่าคำสอนใดเป็นคำสอนที่ดีมีคุณประโยชน์แล้วจึงค่อยเชื่อ ทรงสอนมิให้เชื่ออย่างงมงาย แต่เน้นการทดสอบและปฏิบัติ เมื่อทดสอบได้ผลทางปฏิบัติแล้วจึงเชื่อ

    พระพุทธศาสนาสอนเรื่องศรัทธาเหมือนกัน แต่ศรัทธามิใช่วิธีสุดท้ายที่จะตัดสินว่าความจริงคืออะไร ศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นเพียงเครื่องชักจูงให้คนเข้าไปทดสอบความจริง แต่ตัวที่ตัดสินความจริงคือ “ปัญญา” ในคำสอนเรื่องมรรคมีองค์ 8 อันเป็นหนทางที่จะพามนุษย์ไปสู่นิพพาน ซึ่งเป็นความจริงอันสูงสุดนั้น ไม่ปรากฏว่ามีศรัทธาอยู่ด้วย ในการสอนหลักธรรมต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนนั้น หากในหลักธรรมใดมีศรัทธาอยู่อยู่จะต้องมีปัญญากำกับอยู่เสมอ เช่น พละ 5 มีศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา ในหลักอริยทรัพย์มีศรัทธา ศีล หิริโอตตับปะ พาหุสัจจะ จาคะ ปัญญา เป็นต้น

    1.2  ในด้านความรู้ ทั้งวิทยาศาสตร์และพระพุทธศาสนายอมรับความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ “ประสบการณ์” หมายถึง การที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ได้ประสบกับความรู้สึกนึกคิดบางอย่างด้วย เช่น รู้สึกดีใจ รู้สึกอยากได้ เป็นต้น วิทยาศาสตร์เริ่มต้นจากประสบการณ์ คือ จากการที่ได้พบเห็นสิ่งต่าง ๆ แล้วเกิดความอยากรู้อยากเห็นก็แสวงหาคำอธิบาย วิทยาศาสตร์จะไม่เชื่อหรือยึดถืออะไรล่วงหน้าอย่างตายตัว แต่จะอาศัยการทดสอบด้วยประสบการณ์สืบสาวไปเรื่อย ๆ จะไม่อ้างอิงถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใด ๆ ที่อยู่นอกเหนือประสบการณ์และการทดลอง

    พระพุทธองค์ก็ทรงเริ่มคิดจากประสบการณ์ คือ ประสบการณ์ที่ได้เห็นความเจ็บ ความแก่ ความตาย และที่สำคัญที่สุดคือ ความทุกข์ พระองค์มีพระประสงค์ที่จะค้นหาสาเหตุของทุกข์ ในการค้นหานี้พระองค์มิได้เชื่ออะไรล่วงหน้าอย่างตายตัว ไม่ทรงเชื่อว่ามีพระผู้เป็นเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใด ๆ ที่จะให้คำตอบได้ แต่ได้ทรงทดลองโดยอาศัยประสบการณ์ของพระองค์เอง ดังเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้ว พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์มีส่วนหนึ่งที่ต่างกันเพียงเล็กน้อยในเรื่องนี้ คือ วิทยาศาสตร์เน้นความสนใจกับปัญหาที่เกิดจากประสบการณ์ด้านประสาทสัมผัส (ตา หู จมูก ลิ้น กาย) ส่วนพระพุทธศาสนาเน้นความสนใจกับปัญหาที่เกิดจากประสบการณ์ทางจิตใจ

    พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

    วิทยาศาสตร์สอดคล้องกับพระพุทธศาสนาในเรื่องใด
    พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

    2.  ความแตกต่าง

    2.1  มุ่งเข้าใจปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ

    – วิทยาศาสตร์มุ่งเข้าใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ต้องการรู้ว่าอะไรเป็นสาเหตุอะไรเป็นผลที่ตามมา เช่น เมื่อเกิดฟ้าผ่าขึ้น ต้องรู้ว่าอะไรคือสาเหตุของฟ้าผ่า และผลที่ตามมาหลังจากฟ้าผ่าแล้วจะเป็นอย่างไร

    – พระพุทธศาสนาก็มุ่งเข้าใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่นเดียวกัน แต่ต่างตรงที่พระพุทธศาสนาเน้นเป็นพิเศษเกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์มากกว่ากฎเกี่ยวกับสิ่งที่ไร้ชีวิต จุดหมายปลายทางของพระพุทธศาสนาคือสอนให้คนเป็นคนดีขึ้น สมบูรณ์ขึ้น

    2.2  ต้องการเรียนกฎธรรมชาติ

    – วิทยาศาสตร์ต้องการเรียนรู้กฎธรรมชาติและหาทางควบคุมธรรมชาติหรือเอาชนะธรรมชาติ พูดอีกนัยหนึ่ง วิทยาศาสตร์เน้นการควบคุมธรรมชาติภายนอก

    – แต่พระพุทธศาสนาสอนให้คนควบคุมภายในจิตใจตัวเอง ลำดับแต่ความสามารถที่ควบคุมธรรมชาติได้ ไม่อาจทำให้ความสงบสุขเกิดขึ้นในโลกมนุษย์ มนุษย์ต้องรู้จักควบคุมตัวเองให้มีจิตใจดีงามด้วย สันติสุขที่แท้จริงจะเกิดขึ้นได้

    วิทยาศาสตร์มุ่งปรับธรรมชาติ แต่พระพุทธศาสนามุ่งปรับจิตใจคน

    2.3 ยอมรับโลกแห่งสสาร

    – วิทยาศาสตร์ยอมรับโลกแห่งสสารที่รับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ว่ามีจริง โลกที่อยู่พ้นจากนั้นวิทยาศาสตร์ไม่ยอมรับ (ซึ่งความจริงวิทยาศาสตร์มิได้ปฏิเสธ เพียงแต่ยังไม่ยอมรับ เพราะวิทยาศาสตร์เชื่อว่าประสาทสัมผัสเป็นเครื่องมือสุดท้ายที่จะตัดสินความจริง

    – ส่วนพระพุทธศาสนาชี้ว่ามีสัจธรรมสูงสุด (นิพพาน) ซึ่งเป็นสภาวะที่ประสาทสัมผัสของมนุษย์ปุถุชนที่เต็มไปด้วยกิเลสตัณหาไม่สามารถจะรับรู้ได้ พระพุทธศาสนาแบ่งสิ่งที่มีอยู่จริงสองพวกใหญ่ ๆ คือ “สังขตธรรม” (สิ่งที่ปัจจัยปรุงแต่ง) และ “อสังขตธรรม” (สิ่งที่ปัจจัยมิได้ปรุงแต่ง) คือนิพพาน

     วิทยาศาสตร์ยอมรับว่าสังขตธรรมนั้นมีจริง แต่อสังขตธรรมอยู่เหนือการรับรู้ของวิทยาศาสตร์

             ส่วนสัจธรรมสนพระพุทธศาสนานั้น มีทั้งที่สามารถแสดงให้ประจักษ์เป็นสาธารณะได้ และไม่สามารถแสดงให้ประจักษ์เป็นสาธารณะ แต่แสดงโดยการประจักษ์ใจตนเองได้ (หมายถึง มีทั้งที่เราสามารถรับรู้ด้วยตาและรับรู้ด้วยใจ) ความจริงระดับต้น ๆ และรับกลาง ใคร ๆ ก็อาจเข้าใจและเห็นจริงได้ เช่น คนที่โลภมาก ๆ อิจฉาริษยาเขามาก ๆ ไม่มีความสงบสุขแห่งจิตใจอย่างไรบ้าง คนที่มีเมตตาไม่ปรารถนาร้ายต่อใคร ๆ มีความสุขไม่มีเวรไม่มีภัยอย่างไรบ้าง ความจริงเหล่านี้ล้วนสามารถแสดงให้ประจักษ์ได้ชี้ให้ดูตัวอย่างได้ แต่ปรมัตถธรรมอันสูงสุดนั้นผู้ที่ได้พบแล้วยากจะอธิบายให้คนอื่นเข้าใจได้ เป็นสภาวะที่ผู้รู้เองเห็นจะพึงประจักษ์เฉพาะตัว

    2.4  มุ่งความจริงมาตีแผ่ วิทยาศาสตร์นั้นมิได้สนใจเรื่องศีลธรรมเรื่องความดีความชั่ว สนใจเพียงค้นเอาความจริงมาตีแผ่ให้ประจักษ์เพียงอย่างเดียว เช่น วิทยาศาสตร์ค้นพบเรื่องการระเบิด แต่ควรระเบิดอะไร ไม่ควรระเบิดอะไร ไม่อยู่ในขอบข่ายวิทยาศาสตร์ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์จึงมีทั้งคุณอนันต์และโทษมหันต์

    ส่วนคำสอนของพระพุทธศาสนานั้นเน้นเรื่องศีลธรรม ความดีความชั่ว มุ่งให้มนุษย์มีความสุขเป็นลำดับขั้นไปเรื่อง ๆ จนถึงความสงบสุขอันสูงสุดคือนิพพาน

    วิทยาศาสตร์กับพระพุทธศาสนาเชื่อมโยงกันอย่างไร

    หลักการของพระพุทธศาสนา หลักการทางวิทยาศาสตร์ ๑. ยอมรับความจริงทางวัตถุ แต่เชื่อว่ามี ความจริงอื่นนอกจากวัตถุ ๑. เน้นวัตถุนิยม เชื่อว่าสสารและพลังงาน เท่านั้นที่เป็นจริง ความสุขทางวัตถุเป็น สิ่งที่ดีที่สุด ๒. ยอมรับประสาทสัมผัสและให้ความสาคัญ กับการรับรู้ทางจิต ๒. เชื่อว่าความจริงรับรู้ได้ด้วย ประสาทสัมผัส

    หลักการทางพระพุทธศาสนาคืออะไร

    ศาสนาพุทธมุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์ และสอนให้รู้จักทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ให้พ้นจากความไม่รู้ความจริงในธรรมชาติ อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลสทั้งปวงคือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง รวมทั้งเน้นการศึกษาทำความเข้าใจ การโยนิโสมนสิการด้วยปัญญา และพิสูจน์ทราบข้อเท็จจริง เห็นเหตุผลว่าสิ่งนี้มีสิ่งนี้จึงมี จนเห็นตามความเป็นจริง ...

    สัจธรรมคืออะไร ได้เเก่อะไรบ้าง

    พุทธศาสนาอีกส่วนหนึ่ง สูงขึ้นไปเป็นสัจธรรม (Truth) คือ กล่าวถึงความจริงที่ลึกซึ้งเร้นลับนอกเหนือไปกว่าที่คนธรรมดาสามัญจะเห็นได้ ส่วนนี้ได้แก่ความรู้เรื่องความว่างเปล่าของสรรพสิ่งทั้งปวง (สุญญตา) เรื่องความไม่เที่ยง (อนิจจัง) ความเป็นทุกข์ (ทุกขัง) ความไม่ใช้ตัวตน (อนัตตา) หรือเรื่องการเปิดเผยว่าทุกข์เป็นอย่างไร เหตุให้ ...

    กระบวนการคิดตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาที่คล้ายกับกระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร์คือข้อใด

    จะเห็นได้ว่ากระบวนการคิดตาม นัยในพระพุทธศาสนาก็มีความคล้ายคลึงกับ กระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร์ แต่พึงทราบว่า วิธีการคิดแบบนี้ทางพระพุทธศาสนา เรียกว่า คิดแบบเหตุผลหรือคิดแบบอริยสัจ ซึ่งเป็น เพียงวิธีหนึ่งใน ๑๐ วิธีดังนี้

    วิทยาศาสตร์กับพระพุทธศาสนาเชื่อมโยงกันอย่างไร หลักการทางพระพุทธศาสนาคืออะไร สัจธรรมคืออะไร ได้เเก่อะไรบ้าง กระบวนการคิดตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาที่คล้ายกับกระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร์คือข้อใด พระพุทธศาสนา ด้านความแตกต่าง พระพุทธศาสนาด้านความรู้ ข้อสอบ หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์ พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ppt เฉลยใบงาน หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์ หลักการของพระพุทธศาสนาด้านความรู้ พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ pdf การเชื่อถือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา ข้อใดสอดคล้องกับหลักการทางวิทยาศาสตร์