คำประพันธ์ในข้อใด

คำประพันธ์ในข้อใด

ประเภทของคำประพันธ์ไทย

คำประพันธ์ในข้อใด
- คำประพันธ์ที่ส่วนใหญ่นำมาใช้ในการเรียนการสอนปัจจุบัน มี ๔ ประเภท ดังนี้
คำประพันธ์ในข้อใด
- คำประพันธ์ประเภทกลอน 
คำประพันธ์ในข้อใด
- คำประพันธ์ประเภทโคลง 
คำประพันธ์ในข้อใด
- คำประพันธ์ประเภทกาพย์ 
คำประพันธ์ในข้อใด
- คำประพันธ์ประเภทฉันท์
คำประพันธ์ประเภท "กลอน"
คำประพันธ์ในข้อใด
กลอน คือ ลักษณะคำประพันธ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะบังคับคณะและสัมผัส แต่ไม่บังคับ เอกโท และ ครุ-ลหุ        กลอนสองวรรคเท่ากับหนึ่งบาท กลอนสี่บาทเท่ากับหนึ่งบท วรรคทั้งสี่ของกลอนยังมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันอีก คือ
คำประพันธ์ในข้อใด
๑. วรรคแรก หรือ วรรคสดับ คำสุดท้ายของวรรคนิยมใช้เสียงเต้น (คือนอกจากเสียงสามัญ) จะทำให้เกิดความไพเราะ แต่ถ้าจะใช้เสียงสามัญก็ไม่ห้าม
คำประพันธ์ในข้อใด
๒. วรรคสอง หรือ วรรครับ คำสุดท้ายของวรรคนิยมเสียงจัตวา จะใช้เสียงเอก เสียงโทบ้างก็ได้ แต่ไม่ควรใช้เสียงสามัญหรือเสียงตรี ถ้าจะใช้เสียงเอก คำสุดท้ายของวรรครองควรเป็นเสียงตรี 
คำประพันธ์ในข้อใด
๓. วรรคสาม หรือ วรรครอง คำสุดท้ายของวรรคนิยมใช้เสียงสามัญ ไม่ควรใช้ คำตายและคำที่มีรูปวรรณยุกต์
คำประพันธ์ในข้อใด
๔. วรรคสี่ หรือ วรรคส่ง คำสุดท้ายของวรรคนิยมใช้เสียงสามัญ ห้ามใช้คำตายและคำที่มีรูปวรรณยุกต์ จะใช้คำตายเสียงตรีบ้างก็ได้
คำประพันธ์ในข้อใด
      ในที่นี้เราจะมาเรียนรู้รูปแบบฉันทลักษณ์ในการแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอน ๓ ประเภท ด้วยกัน คือ
คำประพันธ์ในข้อใด
         - กลอนสุภาพ
คำประพันธ์ในข้อใด
         - กลอนสักวา
คำประพันธ์ในข้อใด
         - กลอนดอกสร้อย
คำประพันธ์ประเภท " โคลง "
คำประพันธ์ในข้อใด
โคลงสี่สุภาพ เป็นคำประพันธ์ประเภทร้อยกรองชนิดหนึ่ง ซึ่งมีปรากฏในวรรณคดีไทยมานานแล้ว วรรณคดีไทยฉบับที่เก่าและมีชื่อเสียงมากฉบับหนึ่งคือ "ลิลิตพระลอ" มีโคลงสี่สุภาพบทหนึ่งถูกยกมาเป็นบทต้นแบบที่แต่งได้ถูกต้องตามลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพ คือนอกจากจะมีบังคับสัมผัสตามที่ต่าง ๆ แล้ว ยังบังคับให้มีวรรณยุกต์เอกโทในบางตำแหน่งการประพันธ์โคลงสี่สุภาพ 

ลักษณะโคลงสี่สุภาพ

คำประพันธ์ในข้อใด
คณะของโคลงสี่สุภาพ คือ บทหนึ่ง มี ๔ บาท (เขียนเป็น ๔ บรรทัด) ๑ บาทแบ่งออกเป็น ๒ วรรค โดยวรรคแรกกำหนดจำนวนคำไว้ ๕ คำ ส่วนวรรคหลัง ในบาทที่ ๑,๒ และ ๓ จะมี ๒ คำ (ในบาทที่ ๑ และ ๓ อาจเพิ่มสร้อยได้อีกแห่งละ ๒ คำ) ส่วนบาทที่ ๔ วรรคที่ ๒ จะมี ๔ คำ รวมทั้งบท มี ๓๐ คำ และเมื่อรวมสร้อยทั้งหมดอาจเพิ่มเป็น ๓๔ คำ
ส่วนที่บังคับ เอก โท (เอก ๗ โท ๔) ดังนี้
คำประพันธ์ในข้อใด
บาทที่ ๑ (บาทเอก) วรรคแรก คำที่ ๔ เอก และคำที่ ๕ โท
คำประพันธ์ในข้อใด
บาทที่ ๒ (บาทโท) วรรคแรก คำที่ ๒ เอก วรรคหลัง คำแรก เอก คำที่ ๒ โท
คำประพันธ์ในข้อใด
บาทที่ ๓ (บาทตรี) วรรคแรก คำที่ ๓ เอก วรรคหลัง คำที่ ๒ เอก
คำประพันธ์ในข้อใด
บาทที่ ๔ (บาทจัตวา) วรรคแรก คำที่ ๒ เอก คำที่ ๕ โท วรรคหลัง คำแรก เอก คำที่ ๒ โท

แผนผังโคลงสี่สุภาพ

คำประพันธ์ในข้อใด

       เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ

คำประพันธ์ประเภท "กาพย์"

คำประพันธ์ในข้อใด
กาพย์ เป็นคำประพันธ์ชนิดหนึ่งที่บังคับจำนวนคำและสัมผัส จัดวรรคต่างจากกลอนและไม่บังคับเสียงวรรณยุกต์ท้ายวรรค ไม่มีบังคับเอก-โท หมือนโคลง และไม่มีบังคับครุและลหุเหมือนฉันท์ กาพย์เป็นคำประพันธ์ที่ปรากฏมาตั้งแต่ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีทั้งที่แต่งเป็นหนังสืออ่านเล่น แต่งเป็นหนังสือสวด หรือเป็นนิทาน กระทั่งเป็นตำราสอนก็มี กาพย์มีด้วยกันหลายชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกัน ในที่นี้ขออธิบายรูปแบบ
คำประพันธ์ในข้อใด
ฉันทลักษณ์ในการแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ ๓ ชนิดด้วยกัน ดังนี้
คำประพันธ์ในข้อใด
- กาพย์ยานี ๑๑
คำประพันธ์ในข้อใด
- กาพย์ฉบัง ๑๖
คำประพันธ์ในข้อใด
- กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘

คำประพันธ์ประเภท "ฉันท์"

คำประพันธ์ในข้อใด
ฉันท์ คือลักษณะถ้อยคำที่กวีได้ร้อยกรองขึ้น เพื่อให้เกิดความไพเราะ โดยกำหนดครุ ลหุและสัมผัสเป็นมาตรฐาน ฉันท์เป็นคำประพันธ์ที่ได้แบบอย่างมาจากอินเดีย เดิมแต่งเป็นภาษาบาลี และสันสกฤตไทยนำเปลี่ยนแปลงลักษณะบางอย่างเพื่อให้สอดคล้องกับความนิยมในคำประพันธ์ไทย 

แผนผังอินทรวิเชียรฉันท์

คำประพันธ์ในข้อใด

        โขดเขินศิรขรเขา ณ ลำเนาพนาลัย
สูงลิ่วละลานนั - ยนพ้นประมาณหมาย
ยอดมัวสลัวเมฆ รุจิเรขเรียงราย
เลื่อมเลื่อมศิลาลาย ก็สลับระยับสี

คำประพันธ์ในข้อใด

               https://sites.google.com/site/ssruthai๐20/laksna-kha-praphanth-thiy

คำประพันธ์ในข้อใด