สํา น วน ที่มาจาก วรรณคดี การละเล่น พื้นบ้าน

������ӹǹ���դ����͡����Ҩҡ��Ժ��ѧ������Ѳ������·����� ����Ǵ�����ѧ����ǹ�� �Ѻ���������ҵ� �ĵԡ������͡����Ңͧ������ �����е�ҧ�ͧ��ҧ��� ����ͧ���������������á�áԹ 㹪��Ե��Ш��ѹ ẺἹ���ླ�����Ѳ����� ��ʹ� �Էҹ �ӹҹ ��ó�����л���ѵ���ʵ�� ��� ����� ������С���觢ѹ �������ӹǹ�ºҧ�ӹǹ���ѧ�շ���Ҩҡ��ҧ����ȴ��� �յ�����ҧ���ѧࢻ �ѧ���

ภาษิตพื้นบ้าน หมายถึง คำกล่าวที่สืบทอดกันมาตามประเพณีและมีความหมายค่อนข้างกว้าง กล่าวคือ รวมหมายถึงทั้งที่สุภาษิตและคำพังเพยไว้ด้วย

คำพังเพย หมายถึง คำที่กล่าวแล้วตีความอาจจะเป็นคำสั่งสอนหรือไม่เป็นก็ได้ขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้ในแต่ละสถานการณ์

สำนวน หมายถึง ถ้อยคำที่เป็นชั้นเชิงชวนให้คิด ไม่แปลตรงตัว คือไม่สามารถแปลความหมายได้จากคำ แต่เป็นที่เข้าใจกันถึงความหมาย เช่น เฒ่าหัวงู ลูกขุนพลอยพยับ บ้านแตกสาแหรกขาด

ภาษิตบางบทไม่อาจกำหนดแน่นอนตายตัวได้ว่าเป็นสุภาษิตหรือคำพังเพย เช่น ชักใบให้เรือเสีย

ปลาหมอตายเพราะปาก รักดีหามจั่วรักชั่วหามเสา น้ำนิ่งไหลลึก จะขึ้นอยู่กับสถานการณ์ว่าผู้ใช้ประสงค์ใช้ในการสั่งสอนเป็นสุภาษิต หากกล่าวให้ตีความโดยที่มิได้มุ่งการสั่งสอน ก็ถือว่าเป็นคำพังเพย

ที่มาของภาษิตหรือสำนวนไทย

ภาษิตหรือสำนวนไทยมีมูลเหตุที่เกิดจากค่านิยม ความเป็นอยู่ตลอดจนเป็นคนช่างสังเกต ของคนไทย การเป็นเจ้าของสำนวนชอบกระทบกระเทียบเปรียบเปรย และนำสิ่งแวดล้อมที่อยู่ใกล้ตัวมาเปรียบเปรย เป็นต้นว่า จากธรรมชาติ จากการกระทำ ความประพฤติ จากการเป็นอยู่ของสังคม จากแบบแผนประเพณีและวัฒนธรรม ตำนานหรือประวัติศาสตร์ และมูลเหตุอื่นๆที่พอสรุปได้เป็นประการสำคัญดังต่อไปนี้

สำนวนใดที่มาจากการละเล่น

8. สำนวนที่มาจากการละเล่น เช่น สำนวน “สู้จนเย็บตา” หรืออีกสำนวนว่า “สายป่านสั้น” เป็นสำนวนที่มาจากการเล่นว่าวจุฬาคว้าปักเป้า ซึ่งว่าวจุฬาต้องมีสายป่านยาวจึงจะคว้าสะดวก และเมื่อติดปักเป้าแล้วจะผ่อนสายเล่นคลุกปักเป้าให้เสียท่าอย่างไรก็ได้ ถ้า สายป่านสั้นก็จะทำอะไรเช่นนี้ไม่ได้ เปรียบเทียบถึงการมีเงินน้อยทุนน้อย

สํานวนในข้อใดมีที่มาจากวรรณคดี

กกขนาก, ศรปักอกเหมือนกกขนาก -- กระต่ายตื่นตูม -- กล่องดวงใจ -- กลิ้งฑูต -- กากี -- กาตาแววเห็นธนู -- กิ้งก่าได้ทอง -- กินจนพุงแตก, กินจนท้องแตกตาย -- กุมภกรรณทดน้ำ -- ขอมดำดิน -- ขึ้นต้นงิ้ว -- ขึ้นสวรรค์ทั้งเป็น --เข็นครกขึ้นภูเขา -- เขียวเหมือนพระอินทร์ -- จองถนน -- ใจเป็นแม่พระคงคา -- ชักแม่น้ำทั้งห้า -- ช้างงารี -- ...

สํานวนไทยมีที่มาจากอะไร

ที่เกิดสำนวนไทยมีมูลเหตุจากหลายทางด้วยกัน เป็นต้นว่า เกิดจากธรรมชาติ เกิดจากการ กระทำ ความประพฤติ การกินอยู่ของคน เกิดจากแบบแผนประเพณีและวัฒนธรรม เกิดจาก ศาสนา เกิดจากนิยาย นิทาน ตำนานหรือประวัติวัติศาสตร์ เกิดจากกีฬา การละเล่นหรือการ แข่งขันละมูลเหตุอื่นๆอีกซึ่งพอสรุปประการสำคัญ ๆ เป็นตัวอย่างได้ดังนี้

สํานวนภาษาไทยมีอะไรบ้าง

รวม 30 สํานวนไทย พร้อมความหมาย ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน.
สุกเอาเผากิน การทำงานหรือทำอะไรสักอย่างแบบลวกๆ ให้พอเสร็จสิ้นและผ่านพ้นไป.
ผักชีโรยหน้า ... .
งมเข็มในมหาสมุทร ... .
หัวล้านนอกครู ... .
ไม่เอาถ่าน ... .
ช้าๆ ได้พร้าเล่มงาม ... .
รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง ... .
คนล้มอย่าข้าม.