ควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี

ควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี
�Ե�Է�ҾѲ�ҡ��������
ควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี
�Ե�Է�ҾѲ�ҡ�������� (Adolescence)
ควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี
�Ե�Է�ҡ�ú����� (Management Psychology)
ควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี
�Ե�Է�Ҿ�鹰ҹ
ควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี
�Ե�Է�ҾѲ�ҡ�������������

�Ե�Է�ҾѲ�ҡ�������� (Adolescence)

�Ѳ�ҡ�÷ҧ�����ԴʵԻѭ��

���������ա����ԭ�Ժⵢͧ��ͧ���ҧ������ �Ѳ�ҡ�÷ҧ��ҹ�����ԴʵԻѭ��������ҧ�Ǵ��������ö��������ͧ����繹�������� �դ����Դ���ҧ�� ��������ǧ�Ҥ����������� �ըԹ��ҡ���ҡ �դ����������㹤����Դ�ͧ�����ҧ�ҡ

�Ѳ�ҡ�÷ҧ�����Դ����ǤԴ�ͧ���਷� (Piaget, 1958 cited in Lefrancois, 1996) �������蹾Ѳ�Ҥ����Դ�ҡ�����ԴẺ�ٻ���� (concrete) �Ҩҡ�����������кǹ��þѲ�Ҥ����ԴẺ���˵ؼ� ���ٻẺ�Ѵਹ (Cognitive thought phase ���� Formal operation period ) ������ѡɳ��蹤�� ����ö�Դ���ҧ���˵ؼ���������ѵ�������� �ա�äԴẺ���á�ҡ���͹䢷���˹� ��äԴẺ���˵ؼ��ԧ�Ѵ��ǹ ��äԴẺ�¡�����������ػ�� ��äԴẺ���˵ؼ���ػ��ͧ����� �Ҵ��ó�͹Ҥ������ͧ��͹ʹյ (������͹ ��ǡѧ���,2538 ; �Ծ���� �ɰ�����Ե, 2541)

�����ԴẺ����ͧ���ٹ���ҧ������� (Adolescent egocentrism) ��ͨФԴ��Ҿĵԡ����ͧ���١����ͧ�ҡ�ؤ����� �������������ҧ�ҡ��ͤ��Ծҡ���Ԩ�ó�ͧ�ؤ����� (The Imagination Audience) ��੾�������ͧ����觡�� �ç�� ����ٻ��ҧ�ͧ�� �������ѡ�Ҵ��ѧ�����觷�赹�ʴ��͡���ʹ� �ͺ �ؤ����蹨е�ͧ����֡�蹹�鹴��� ����������դ����Դ�ѹ �ըԹ��ҡ����ҵ��繤��� (hero) ������š��ǹ��� (The Personal Fable )

�Ѳ�ҡ�ô�ҹ�˵ؼ�����ͧ��Ÿ�������� ( Moral reasoning )
��ɮվѲ�ҡ�ô�ҹ��Ÿ�������Ңͧ����ԡ�� (Kohlberg�s Level of Morality) (Kohlberg 1969 ; 1980 cited in Lefrancois, 1996 ; ������͹ ��ǡѧ���, 2538) �дѺ��þѲ�ҡ�ô�ҹ��Ÿ���������� 3 �дѺ �����дѺ���� 2 ��鹵͹ �ѧ���

  • �дѺ��� 1 ��͹����Ÿ�������� (Preconventional)
    ��鹵͹��� 1 ���Ϳѧ ����觷��� �ӵ����ࡳ�����С��Ƕ١ŧ��
    ��鹵͹��� 2 ����觷��� �ӵ����ࡳ��������ѧ���Ѻ�ҧ�����С�ê�蹪�
  • �дѺ��� 2 ����Ÿ�������� (Conventional)
    ��鹵͹��� 3 ���硴� ���Ѻ�������Ѻ�ҡ�Դ���ô� ��� ��������͹ ����ѧ��
    ��鹵͹��� 4 �ӵ����ࡳ��ͧ�ѧ��
  • �дѺ��� 3 ��ѧ����Ÿ�������� (Postconventional)
    ��鹵͹��� 5 ���˹ѡ�֧�Է�Ԣͧ�ؤ�� ������º ���͡�ࡳ���ҧ � ��ѧ��
    ��鹵͹��� 6 ��ԺѵԵ����ѡ��Ÿ���

ควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี
ควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี
ควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี
ควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี

ควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี

พัฒนาการเด็ก อายุ 1-6 ปี ด้านสติปัญญา

กู๊ด ได้ให้ความหมายของสติปัญญาว่า หมายถึง ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์อย่างรวดเร็ว เป็นความสามารถทางสมองในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์อย่างรวดเร็ว เป็นความสามารถทางสมองในการรวบรวมประสบการณ์ต่างๆเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งความสามารถทางสมองนี้สามารถวัดได้ด้วยเครื่องมือทดสอบทางสติปัญญา

เฮอร์ลอค ได้ให้ความหมายของพัฒนาการไว้ว่า หมายถึง การเปลี่ยนแปลงต่างๆที่มีลำดับขั้นตอนต่อเนื่อง เน้นขบวนการการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ผสมผสานกัน

เพียเจท์ เชื่อว่าพัฒนาการทางสติปัญญานั้นหมายถึง ความสามารถที่จะคิดค้นสิ่งที่เป็นนามธรรมอย่างมีเหตุผล

สุมนา พานิช กล่าวว่า พัฒนาการทางสติปัญญา หมายถึง ความสามารถในการจำ การรู้จักคิด การใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา การที่เด็กจะมีความสามารถดังกล่าวได้ จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาไปตามขั้นตอน เริ่มจากการรับรู้สิ่งต่างๆ ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า คือการจับต้อง การเห็น  การได้ยิน การรู้รส และการได้กลิ่น การกระตุ้นเข้าประสาทสัมผัสทั้งห้าของเด็กทำให้เกิดพัฒนาการทางสติปัญญา

จากความหมายข้างต้นจะเห็นว่า พัฒนาการทางสติปัญญานั้นเป็นความหมายในการสะสมประสบการณ์จากสิ่งแวดล้อมโดยผ่านการรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ซึ่งจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่องและสัมพันธ์กับพัฒนาการด้านต่างๆ สำหรับเด็กปฐมวัยพัฒนาการทางสติปัญญาจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและบุคคลรวมถึงประสบการณ์ที่กระตุ้นให้เด็กเกิดการคิดลักษณะพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กปฐมวัยมีดังนี้

1.พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กวัย 1 ปี

รู้จักเชื่อมโยงคำพูดกับการกระทำ ชอบฟังคำซ้ำๆ เสียงสูงๆต่ำๆ รู้ว่าคำต่างๆเป็นสัญลักษณ์ของวัตถุนั้นๆ เริ่มพูดเป็นคำใหม่ ค้นหาที่ปิดซ่อนจากสายตาได้ รู้จักชื่อตนเอง แสดงความคิด จินตนาการ กล่าวคือพูดเกี่ยวกับการกระทำอยู่ เข้าใจคำพูดง่ายๆ พูดเป็นคำได้มากขึ้น ทักทายโดยใช้เสียงท่าทาง สนใจสำรวจสิ่งรอบตัว หัดขีดเขียนเส้นยุ่งๆได้ มีความสนใจกับของบางอย่างนาน 2-5 นาที ชอบดูหนังสือภาพ ชอบฟังบทกลอน นิทาน เริ่มประโยคคำถาม อยากรู้อยากเห็น ขีดเขียนเส้นตรงเป็นแนวดิ่งได้ วางของซ้อนกันลงได้ 4-6 ชิ้น

2.พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กวัย 2 ปี

ด้านสติปัญญา เป็นวัยที่อยากรู้อยากเห็น สนใจค้นคว้าสำรวจสิ่งต่างๆรอบตัว เรียนรู้สิ่งต่างๆโดยการเลียนแบบผู้ที่อยู่ใกล้ชิดหรือเด็กอื่น มีช่วงความสนใจกับบางอย่างได้นาน3-5 นาที ชอบดูหนังสือภาพ ฟังบทกลอน นิทาน คำคล้องจอง รู้จักซักถามสิ่งที่สงสัยโดยใช้ประโยคคำถาม ว่า “อะไร”

3.พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กวัย 3 ปี

ด้านสติปัญญา เป็นวัยที่อยากรู้อยากเห็นทุกอย่างรอบตัว สำรวจสิ่งต่างๆที่เหมือนกันและต่างกันได้ เรียนรู้จากการสังเกตและเลียนแบบผู้อื่น จำแนกสิ่งต่างๆด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า

4.พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กวัย 4 ปี

ด้านสติปัญญา บอกชื่อและนามสกุลของตนเอง เด็กในวัยนี้เรียนรู้สิ่งต่างๆด้วยการจำแนกด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า สำรวจและทดลองเล่นกับสิ่งของหรือของเล่นต่างๆ ตามคิดของตนเอง พยายามแก้ปัญหาด้วยตนเองหลังจากได้รับคำชี้แนะ

5.พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กระหว่าง 5-6 ปี

ด้านสติปัญญา สามารถฟังเรื่องราวและถ่ายทอดให้ผู้อื่นฟังได้ บอกชื่อ นามสกุล และอายุของตนเอง สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้นและแปลกใหม่ พยายามหาวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเอง

การส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก

        การส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กที่เพิ่มขึ้นอันมีผลมาจากการจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้ลงมือกระทำและเกิดการเรียนรู้ เด็กจะเก็บเกี่ยวประสบการณ์ต่างๆเข้ามารวบรวมและจัดเก็บพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กวัยนี้ ส่วนหนึ่งก็เป็นผลมาจากวุฒิภาวะของเด็ก ถ้าเด็กได้รับประสบการณ์อย่างกว้างกว่าเดิม จากการที่ได้อ่าน การฟัง การท่องเที่ยว การสนทนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์

การฝึกภาษา การเรียนรู้ทางภาษาเกิดจากการที่เด็กได้ฟังและมีโอกาสได้พูดคุยกับผู้อื่น โดยมีสิ่งเร้า เช่น ดูภาพ ฟังเพลง และดูภาพจากหนังสือนิทาน ประสบการณ์ทางภาษาโดยพูดคุยกับลูกตั้งแต่ลูกยังพูดไม่ได้ คิดว่าเป็นสิ่งเหลวไหล แต่ที่จริงแล้วเป็นสิ่งที่ควรกระทำอย่างยิ่งเพราะเมื่อเด็กได้ฟังเพลง ฟังนิทาน ฟังการพูดคุยกับพ่อแม่ เด็กจะมีความสนใจและรู้จักการรับฟัง การตอบคำถามของเด็ก เด็กจะมีพัฒนาการด้านภาษาที่ดี ผู้ใหญ่สามารถสอนสิ่งต่างๆให้เด็กเข้าใจการกระทำต่างๆตามเหตุผล เป็นการวางพื้นฐานของการใช้ภาษาและความคิดอย่างมีเหตุผล ซึ่งมีความสำคัญต่อการเรียนรู้ของเด็กในด้านอื่นๆอย่างยิ่ง

ภาวะแวดล้อมและมีการปฏิสัมพันธ์ พ่อแม่และครูเป็นสิ่งแวดล้อมที่สำคัญแก่เด็ก ฉะนั้นพ่อแม่และครูจึงควรเป็นแบบอย่างที่ดี หากครอบครัวที่มีสิ่งต่อไปนี้คือ

1.ครอบครัวที่มีความสัมพันธ์อันอบอุ่นรักใคร่และพูดคุยกัน

2.พ่อแม่และลูกมีความสามัคคีปรองดองกัน เอื้ออาทรต่อกัน

3.พ่อแม่ยอมรับสภาพและความสามารถของลูกตลอดจนพ่อแม่มีสุขภาพกายและจิตที่ดี

4.พ่อแม่แสดงความรักความเข้าใจต่อลูก ซึ่งจะแสดงได้ทั้งกิริยา แววตา และคำพูด การโอบกอดสัมผัส ซึ่งทุกข้อที่กล่าวมาข้างต้นนี้จะช่วยส่งเสริมให้เด็กได้มีพัฒนาการดำเนินไปด้วยดี

การเลี้ยงดูที่ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัย
พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู ตลอดจนครูควรคำนึงถึงสิ่งต่างๆดังนี้

1.อาหาร นอกจากจะมีความสำคัญต่อพัฒนาการทางด้านร่างกายแล้ว อาหารยังมีความสำคัญอย่างมากต่อพัฒนาการทางด้านสติปัญญา ถ้าเด็กขาดอาหารสมองจะไม่พัฒนา เด็กอายุ 2 ปี สมองจะโตเป็น 75%และเป็น 80 % และ 90% เมื่ออายุ 4 ปี และเมื่ออายุ 6 ปี ตามลำดับในช่วงเวลาดังกล่าว ถ้าเด็กได้รับสารอาหารไม่เหมาะสมหรือได้รับสารพิษ เช่น ตะกั่ว การเติบโตของสมองจะถูกกระทบกระเทือน เช่น ตัวเซลล์ไม่แบ่งตัว ไม่แตกแขนงและสร้างจุดเชื่อมโยงอย่างสมบูรณ์

2.การเล่น การเล่นนอกจากจะส่งเสริมการพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ และสังคม ดังที่กล่าวมาแล้ว การเล่นและการทำกิจกรรมต่างๆ ยังช่วยส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาอีกด้วย การเล่นการทำกิจกรรมต่างๆ ช่วยให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยไม่มีใครสั่งสอนได้ เด็กได้เรียนรู้จากการสัมผัสสิ่งที่ตนเล่น ได้ทดลองผิดถูกครั้งแล้วครั้งเล่า จนสรุปได้ว่าเป็นพื้นฐานให้เกิดสติปัญญา

3.การฟังและการพูด การฟังเป็นกุญแจสำคัญของการเรียนรู้ในช่วง 1-3 ขวบ แม้ว่าเด็กจะยังพูดไม่คล่องก็ตามแต่เด็กก็สามารถฟังเรื่องราวต่างๆ จากผู้ใหญ่พูดให้ฟัง แม้ว่าจะเข้าใจไม่หมด แต่นั่นเป็นการฝึกให้เด็กคิดตามในเรื่องที่ผู้ใหญ่พูด พ่อแม่ผู้ปกครองตลอดจนครูผู้ดูแลเด็ก จึงควรฝึกให้เด็กปฐมวัยนั่งนิ่ง และเงียบเป็นบางครั้งในแต่ละวัน และเริ่มด้วยการให้เด็กฟังเราพูดสักหนึ่งหรือสองนาทีในต่อครั้งที่พูด สังเกตว่าสายตาของเด็กอยู่ที่เรา แล้วถามเกี่ยวกับสิ่งที่พูดไปแล้ว เมื่อเด็กตอบ เราต้องชมเชย ให้กำลังใจและกอดเด็ก เพื่อแสดงความดีใจที่เด็กตอบคำถามได้เป็นการให้กำลังใจในความพยายามในครั้งต่อๆไป ในการฝึกฟังและพูด เป็นการช่วยพัฒนาทางด้านสติปัญญาของเด็กได้เป็นอย่างดีวิธีหนึ่ง

ที่มา

สุวรรณา ไชยะธน, ทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 2548, น.8-10.

ภรณี คุรุรัตนะและคณะ, เด็กปฐมวัยท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลง, วารสารการศึกษาปฐมวัย, 2540, 1, น.23-24.

นิตยา คชภักดี, ขั้นตอนการพัฒนาของเด็กปฐมวัยตั้งแต่ปฏิสนธิถึง 5 ปี, กรุงเทพฯ: สถาบันแห่งชาติเพื่อการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 80.

picture from  nearsay.com

นักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีการพัฒนาทางด้านสติปัญญาที่ดี

วิธีง่าย ๆ ที่จะช่วยรักษาสติปัญญาให้หลักแหลม.
“พี่บดินทร์ครับ เราจะทำอย่างไรกับลูกค้าเคสเมื่อเช้าดีครับ” ... .
1. อ่านหนังสือ ซึมซับความรู้ และสัมผัสวัฒนธรรมใหม่ ๆ ... .
2. เรียนรู้ทักษะหรือกิจกรรมที่ไม่เคยทำมาก่อน ... .
3. กระตุ้นความทรงจำ ไม่ใช่จดเพียงอย่างเดียว ... .
4. ให้เวลาตัวเองได้เลือกรับความรู้ ... .
5. กินดี นอนหลับ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ.

นักเรียนมีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาอย่างไรบ้าง

ด้านสติปัญญา เป็นวัยที่อยากรู้อยากเห็น สนใจค้นคว้าสำรวจสิ่งต่างๆรอบตัว เรียนรู้สิ่งต่างๆโดยการเลียนแบบผู้ที่อยู่ใกล้ชิดหรือเด็กอื่น มีช่วงความสนใจกับบางอย่างได้นาน3-5 นาที ชอบดูหนังสือภาพ ฟังบทกลอน นิทาน คำคล้องจอง รู้จักซักถามสิ่งที่สงสัยโดยใช้ประโยคคำถาม ว่า “อะไร”

ควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อให้มีการพัฒนาทางด้านสังคมที่ดี

เริ่มมีบทบาทความรับผิดชอบของตนเอง แสดงถึงอารมณ์ ความคิด มุมมอง โดยใช้ภาษาท่าทางได้อย่างเหมาะสม แยกแยะได้ว่าเป็นสิ่งเป็นของส่วนตัวหรือสิ่งของส่วนรวม สามารถเล่นหรือทำกิจกรรมที่มีกฎกติกาได้

การเล่นส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาอย่างไร

ของเล่นส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา คือ ของเล่นที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการคิดรูปแบบต่าง ๆ ทั้งการคิดวิเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงพัฒนาภาษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ฯลฯ ของเล่นชนิดนี้จะทำให้เด็กได้ใช้ความคิด ฝึกความจำ และการสังเกต ผ่านการเล่นที่สนุกสนาน เช่น จิ๊กซอว์ เกมที่ต้องอาศัยการแก้ปัญหา ...