คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรียนกี่ปี

วิทยาศาสตร์ชีการแพทย์จบมาทำงานอะไร??

ทางเลือกในสายงานสำหรับผู้ที่จบคณะวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์มีหลากหลาย บางคนคิดว่าจบคณะนี้ไปต้องไปทำงานเป็นนักวิจัยอยู่ในห้องแล็บเพียงอย่างเดียว แต่จริงๆแล้ววิชาความรู้ที่ได้จากการเรียนคณะนี้ สามารถนำไปต่อยอดในการทำงานสายอื่นๆได้อีกมากมาย และเป็นที่ต้องการขององค์กรต่างๆอีกมาก ดังนั้นเรามาดูกันว่าเรียนจบคณะวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์จบมา จะทำงานอะไรได้บ้าง

นักวิจัย

อาชีพนักวิจัยเป็นอาชีพสายตรงของผู้ที่เรียนจบคณะวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ โดยสามารถทำงานได้ทั้งหน่วยงานของทางรัฐบาลและเอกชนได้เช่น งานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาล และสถาบันวิจัยต่างๆ เป็นต้น ลักษณะงานที่ทำ เช่น การตัดต่อยีนส์ (สารพันธุกรรม) การทำ GMO การโคลนนิ่ง การผสมเทียมเพื่อช่วยเหลือผู้มีบุตรยาก การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ การทดสอบสารก่อการกลายพันธุ์ การคิดค้นยากลุ่มใหม่ๆ การทดสอบสารพิษต่อร่างกายและสิ่งแวดล้อม การตัดและพิสูจน์ชิ้นเนื้อทางนิติเวชวิทยา และการทดสอบจุลินทรีย์เพื่อวงการแพทย์และอุตสาหกรรม เป็นต้น

นักวิชาการ/อาจารย์มหาวิทยาลัย

ผู้ที่เรียนจบในคณะวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ สามารถเลือกศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นจะสามารถเป็นนักวิชาการหรืออาจารย์ในมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐบาลและเอกชน เพื่อสอนวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (กายวิภาคศาสตร์ ชีวเคมี จุลชีววิทยา พยาธิวิทยา เภสัชวิทยาและพิษวิทยา และสรีรวิทยา) ให้กับนักศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพทุกสาขา ซึ่งนับเป็นสาขาอาชีพขาดแคลนในระดับประเทศ

บริษัทเครื่องมือแพทย์ บริษัทยา วิจัยยา ​ ขึ้นทะเบียนยา นักประชาสัมพันธ์ ​เลขานุการทางการแพทย์ งานเอกสารทางการแพทย์​

นักวิจัยอาหาร และผลิตภัณฑ์ แลปพิเศษ​ นักธุรกิจ /ประกอบอาชีพส่วนตัว​ ผู้แทนจำหน่ายเครื่องมือแพทย์ หรือผู้นำเข้า​

งานสารบรรณทางการแพทย์​

“นักวิทยาศาสตร์การแพทย์”​

​ห้องปฎิบัติการภายในโรงพยาบาล ศูนย์/สถาบันวิจัย เพื่อศึกษา ค้นคว้าและวิจัย ในการหาสาเหตุ การป้องกัน และการรักษาโรคต่างๆ เช่นการทำงานเกี่ยวกับ การตัดชิ้นเนื้อเยื่อ การผลิตวัคซีน งานวิจัยทางแพทย์ เป็นต้น​

ห้องปฎิบัติการภายในโรงงานอุตสาหกรรม อาหาร เครื่องดื่ม เครื่องสำอาง ยาและสารเคมีเพื่อตรวจตอบคุณภาพและปนเปื้อนของผลิตภัณฑ์​

ห้องปฎิบัติการเทคโนโลยีทางการแพทย์ หน่วยมีบุตรยาก การตัดต่อพันธุกรรมและหน่วยเพาะเลื้ยงเซลล์​

นักวิทยาศาสตร์การแพทย์หน่วยต่างๆ ระบาดวิทยา​ Stem cell​ นิติวิทยาศาสตร์ เภสัชพันธุ์ศาสตร์ ศูนย์เครื่องมือ ศูนย์เครื่องมือ รับราชการ ตามสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร กรมการแพทย์ทหาร นักวิจัยหรือทำหน้าที่ตรวจเชื้อต่างๆ

รงพยาบาลรัฐและเอกชน เช่น แผนก Pathology , แผนกรังสีวิทยา

ผู้ช่วยวิจัยตามโรงพยาบาลต่างๆ เช่น รพ. ศิริราช

นักวิเคราะห์ค้นคว้าทางด้านงาน Genetic Engineering ตาม บริษัทต่างๆ เช่น ปตท.หรือตาม-โรงพยาบาลต่างๆ

วิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์จบมาทำอะไรบ้าง จากพี่ๆศิษย์เก่า

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรียนกี่ปี

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรียนกี่ปี

หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ระดับปริญญาตรี)

ชื่อหลักสูตร  ชื่อย่อ  ภาคปกติ  ภาคพิเศษ
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา  วท.บ.(จุลชีววิทยา)  
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรียนกี่ปี
วิทยาาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์  วท.บ.(วิทยาศาสตร์การแพทย์)  
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรียนกี่ปี
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยากายวิภาค  วท.บ.(พยาธิวิทยากายวิภาค)  
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรียนกี่ปี
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล  วท.บ.(ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล)  
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรียนกี่ปี

การจัดการเรียนการสอนแบบปริญญาตรีต่อเนื่องปริญญาโท

ชื่อหลักสูตร  ชื่อย่อ  ภาคปกติ  ภาคพิเศษ
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ต่อเนื่อง หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์ หรือสาขาจุลชีววิทยา หรือสาขาวิชาชีวเคมี หรือสาขาวิชาปรสิตวิทยา หรือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือสาขาวิชาสรีรวิทยา วท.ม.(กายวิภาคศาสตร์ หรือ จุลชีววิทยา หรือ ชีวเคมี หรือปรสิตวิทยา หรือวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือ สรีรวิทยา)
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรียนกี่ปี
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล ต่อเนื่อง หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาชีวเคมี วท.ม.(ชีวเคมี)
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรียนกี่ปี

ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต  
ลำดับ  หลักสูตร/สาขาวิชา  ค่าใช้จ่าย
ตลอดหลักสูตร
ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 ชั้นปีที่ 5
ภาคต้น ภาคปลาย ภาคต้น ภาคปลาย ภาคฤดูร้อน ภาคต้น ภาคปลาย ภาคฤดูร้อน ภาคต้น ภาคปลาย ภาคฤดูร้อน ภาคต้น ภาคปลาย
1 จุลชีววิทยา  160,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000
2 วิทยาศาสตร์การแพทย์  160,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000
3 พยาธิวิทยากายวิภาคศาสตร์  160,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000
4 ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล (ตรีต่อเนื่องโท)  210,000 20,000 20,000 20,000 20,000 10,000 20,000 20,000 10,000 20,000 14,000 7,000 14,500 14,500
5 วิทยาศาสตร์การแพทย์ (ตรีต่อเนื่องโท)  210,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 10,000 20,000 20,000 20,000 20,000
*** หมายเหตุ ***
1. หลักสูตรลำดับที่ 4 และ 5 : กรณีนิสิตไม่สามารถเรียนระดับปริญญาโทได้สำเร็จ หรือประสงค์จะยุติแผนการเรียนปริญญาโท และขอสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเท่านั้น
2. กรณีหลักสูตรลำดับที่ 4 และ 5 นิสิตเรียนครบตามแผนการเรียน (5ปี) ให้เก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาเป็นไปตามที่กำหนดไว้ (ค่าธรรมเนียมตลอดหลักสูตร 210,000.-บาท)
3. นิสิตแผนการเรียนตรีต่อเนื่องโท เมื่อศึกษาครบตามแผนการเรียน จะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ในภาคเรียนต้น ชั้นปีที่ 4 และจะเข้าสู่แผนการเรียนระดับปริญญาโท ในภาคต้น

23,709 total views, 11 views today

นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรียนกี่ปี

_____________________________________________________________________________________________________ ถาม : คณะวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์เรียนกี่ปี ตอบ : ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 4 ปี

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์จบมาทำงานอะไรได้บ้าง

แนวทางการประกอบอาชีพ 1. นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ และผู้ช่วยวิจัยทางการแพทย์ ประจำสถาบันการศึกษา โรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน บริษัท ศูนย์วิจัย หรือสถาบันวิจัยต่างๆ 2. เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์, จุลชีววิทยา, อณูวิทยา และนิติวิทยาศาสตร์ 3. เจ้าหน้าที่ประจำงานตรวจสอบคุณภาพ (Q.C.)

นักวิทยาศาสตร์การแพทย์คืออะไร

สายงานนี้คลุมถึงตำแหน่งต่างๆ ที่ปฏิบัติงานวิชาการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ซึ่งมี ลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจชันสูตรโรค พิสูจน์ยืนยันเชื้อทางห้องปฏิบัติการในสาขาต่างๆ เช่น บัคเตรีวิทยา ไวรัสวิทยา พาราสิตวิทยา โลหิตวิทยา ฯลฯ การเพาะเลี้ยงเชื้อ แยกเชื้อ ทั้งเชื้อ บัคเตรีและไวรัส ผลิตแอนติเจน แอนติเซรุ่ม วัคซีน อ๊อก ...

วิทย์แพทย์ เรียนเกี่ยวกับอะไร

วิทยาศาสตร์การแพทย์ (อังกฤษ: Medical Sciences) เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่ศึกษาครอบคลุมในศาสตร์ต่าง ๆ ทางการแพทย์ที่ข้องกับสุขภาพของมนุษย์ ซึ่งนำไปสู่ความเข้าใจเชิงลึกเกี่ยวกับร่างกาย สุขภาพ การตรวจวินิจฉัย ป้องกันและเฝ้าระวังโรค การส่งเสริมสุขภาพ การตรวจพิสูจน์หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์และนิติเวชศาสตร์ ช่วยเสริม ...