จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ มีความ สํา คั ญ อย่างไร ในการ ตีความ ทางประวัติศาสตร์ ของ กรุงศรีอยุธยา

จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ มีความ สํา คั ญ อย่างไร ในการ ตีความ ทางประวัติศาสตร์ ของ กรุงศรีอยุธยา

จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ มีความ สํา คั ญ อย่างไร ในการ ตีความ ทางประวัติศาสตร์ ของ กรุงศรีอยุธยา
ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ (ฝรั่งเศส: Simon de La Loubère; 21 เมษายน พ.ศ. 2185-26 มีนาคม พ.ศ. 2272) เป็นราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ได้เดินทางมาประเทศไทยในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับไทย โดยเดินทางมาที่กรุงศรีอยุธยาพร้อมกับเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) และทหารของฝรั่งเศสจำนวนประมาณ 600 อัง
จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ มีความ สํา คั ญ อย่างไร ในการ ตีความ ทางประวัติศาสตร์ ของ กรุงศรีอยุธยา
เดอ ลา ลูแบร์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าคณะทูตฝรั่งเศสร่วมกับโกลด เซเบอแร ดูว์ บูแล (Claude Céberet du Boullay) เดินทางมาอยุธยาเพื่อเจรจาเรื่องศาสนาและการค้าของฝรั่งเศสในอาณาจักรอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2230 ในการเจรจานั้นอยุธยาไม่สู้จักยินยอมรับข้อเสนอของฝรั่งเศส ทำให้เสียเวลาในการเจรจาหลายสัปดาห์ ในที่สุดฝ่ายไทยก็ยินยอมรับข้อเสนอตามความประสงค์ของฝรั่งเศสและทั้งสองฝ่ายได้ลงนามในสัญญาการค้าที่เมืองลพบุรีเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม
จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ มีความ สํา คั ญ อย่างไร ในการ ตีความ ทางประวัติศาสตร์ ของ กรุงศรีอยุธยา
นอกจากจะเป็นหัวหน้าคณะทูตจากฝรั่งเศสแล้ว เดอ ลา ลูแบร์ ยังได้รับคำสั่งให้สังเกตเรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับอาณาจักรอยุธยาและบันทึกข้อสังเกตทั้งหลายเหล่านั้นกลับไปรายงานให้ราชสำนักของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ได้รับทราบด้วย จดหมายเหตุเหล่านี้ได้กลายเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่าต่อแวดวงวิชาประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยา เพราะกล่าวถึงชีวิตความเป็นอยู่ สังคม ประเพณี ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม หลายสิ่งหลายอย่างของคนในสมัยกรุงศรีอยุธยา จึงนับได้ว่าเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีจารึกเป็นลายลักษณ์อักษร

จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ มีความ สํา คั ญ อย่างไร ในการ ตีความ ทางประวัติศาสตร์ ของ กรุงศรีอยุธยา

ภาพจากจดหมายเหตุลา ลูแบร์ พ.ศ. 2236
ที่มาภาพ : https://th.wikipedia.org/wiki/ซีมง_เดอ_ลา_ลูแบร์

จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ มีความ สํา คั ญ อย่างไร ในการ ตีความ ทางประวัติศาสตร์ ของ กรุงศรีอยุธยา

https://th.wikipedia.org/wiki/ซีมง_เดอ_ลา_ลูแบร์

จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ มีความ สํา คั ญ อย่างไร ในการ ตีความ ทางประวัติศาสตร์ ของ กรุงศรีอยุธยา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ มีความ สํา คั ญ อย่างไร ในการ ตีความ ทางประวัติศาสตร์ ของ กรุงศรีอยุธยา

จดหมายเหตุลาลูแบร์ (ฝรั่งเศส: Du Royaume de Siam แปลตามตัวคือ "ว่าด้วยราชอาณาจักรสยาม") เป็นจดหมายเหตุบันทึกเป็นภาษาฝรั่งเศส เอกสารชิ้นนี้กล่าวถึงราชอาณาจักรสยามในปลายรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ. 2230 ผู้บันทึก คือ ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ อัครราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ซึ่งเข้ามาทูลพระราชสาส์น ณ ประเทศสยาม

เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์นี้พรรณนาถึงกรุงศรีอยุธยาไว้อย่างกว้างขวาง แม้ว่าลา ลูแบร์ จะปฏิบัติภารกิจในกรุงศรีอยุธยาเพียง 3 เดือน 6 วัน แต่บันทึกดังกล่าวมีที่มาจากการเรียบเรียงและค้นคว้าเพิ่มเติมจากหนังสือที่ชาวตะวันตกมากรุงสยามแต่ก่อนแต่งไว้ อย่างไรก็ตาม ข้อสังเกตของนักประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน มองว่า เนื้อความบางส่วนในเอกสารนี้ บางเรื่องคลาดเคลื่อนบ้าง บางเรื่องบันทึกจากการสอบถามจากคนที่ไม่มีความรู้บ้าง ฟังจากคำบอกเล่าซึ่งจริงบ้างไม่จริงบ้าง บางเรื่องผู้เขียนก็คาดเดาหรือใส่ความเห็นลงไปด้วย

เนื้อหา[แก้]

ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ ได้ออกเดินทางจากท่าเรือเมืองแบร็สต์ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2230 ถึงกรุงศรีอยุธยาเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2230 เดินทางกลับเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2231 ขึ้นบกที่ท่าเรือแบร็สต์มื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2231[1]

ความมุ่งหมายในการเขียนในลักษณะสารานุกรม ที่ประกอบไปด้วยหัวเรื่องย่อยจำนวนมาก โดยพรรณนาเรื่องความอุดมสมบูรณ์ คุณภาพของดินในการกสิกรรม ภูมิอากาศเป็นประการแรก ต่อมาเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีโดยทั่ว ๆ ไป รวมถึงคำศัพท์หรือสรรพนามเรียกขานบุคคลต่าง ๆ ที่ผู้คนในกรุงสยามใช้กันในขณะนั้นด้วย โดยแบ่งเรื่องเป็นหมวดหมู่ต่าง ๆ และเฉพาะเรื่องเฉพาะรายละเรื่องเกี่ยวกับรัฐบาลและศาสนาจะกล่าวในตอนท้าย และได้รวบรวมบันทึกความทรงจำเกี่ยวกับประเทศนี้ที่เจ้าตัวได้นำติดตัวมาด้วยไปผนวกไว้ตอนท้าย และเพื่อให้ผู้อ่านได้รู้จักชาวสยามโดยแจ่มชัด จึงได้เอาความรู้เกี่ยวกับอินเดียและจีนหลายประการมาประกอบด้วย

นอกจากนั้นยังได้แถลงว่าจะต้องสืบเสาะให้รู้เรื่องราว พิจารณาสอบถาม ศึกษาให้ถึงแก่นเท่าที่จะทำได้ ก่อนเดินทางไปถึงประเทศสยาม ได้อ่านจดหมายเหตุทั้งเก่าและใหม่ บรรดาที่มีผู้เขียนขึ้นไว้เกี่ยวกับประเทศต่าง ๆ ในภาคพื้นตะวันออก ถ้าไม่มีสิ่งดังกล่าว ลาลูแบร์อาจใช้เวลาสักสามปี ก็คงไม่ได้ข้อสังเกตและรู้จักประเทศสยามดี

การแปล[แก้]

บันทึกของลาลูแบร์ได้รับการแปลเป็นภาษาไทยครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2457 โดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงแปลจากต้นฉบับภาษาอังกฤษ เรื่อง " A new historical relation of the kingdom of Siam by Monsieur Fe La Loubere" ซึ่งแปลมาจากต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสอีกทอดหนึ่ง โดยใช้ชื่อว่า "จดหมายเหตุลาลูแบร์ พงศาวดารสยามครั้งกรุงศรีอยุธยา แผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช"

ต่อมา สันต์ ท.โกมลบุตร แปลเป็นภาษาไทย เมื่อ พ.ศ. 2509 จากต้นฉบับภาษาฝรั่งเศส ใช้ชื่อว่า "ราชอาณาจักรสยาม โดย มร. เดอะ ลา ลู แบรฺ อัครราชทูต ผู้มีอำนาจเต็มแห่งองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไปสู่พระเจ้ากรุงสยาม" จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ก้าวหน้า เมื่อ พ.ศ. 2510 และพิมพ์ปรับปรุงแก้ไขหลายครั้ง ในชื่อ "จดหมายเหตุลาลูแบร์ : ราชอาณาจักรสยาม"

พ.ศ. 2557 สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร จัดตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิชำระและจัดพิมพ์เผยแพร่หนังสือประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 13 - 14 และ 16 - 20 โดยเลือก "จดหมายเหตุลาลูแบร์" มาชำระและตีพิมพ์ใหม่ลงในประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 17 ในปี พ.ศ. 2564 โดยฉบับนี้เป็นการชำระฉบับแปลของสันต์ ท.โกมลบุตร ฉบับ พ.ศ. 2510 และ พ.ศ. 2530 และชำระเปรียบเทียบกับต้นฉบับภาษาฝรั่งเศส โดยคงสำนวนสันต์ ท.โกมลบุตร เอาไว้ ฉบับแปลนี้ใช้ชื่อว่า "จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์" แบ่งเนื้อหาออกเป็น 2 ภาค

อ้างอิง[แก้]

  1. บทวิจารณ์หนังสือ: จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม เก็บถาวร 2013-08-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร สำนักพิมพ์ศรีปัญญา. 2552, 685 หน้า

  • Du Royaume de Siam, 1691 Full text
  • จดหมายเหตุลาลูแบร์ พงศาวดารสยามครั้งกรุงศรีอยุธยา แผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กรมหมื่นนราธิปประพันธ์พงศ์, ผู้แปล
  • ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 17. กรุงเทพฯ: สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. 2564.
  • ความรู้เรื่องเมืองสยาม เก็บถาวร 2007-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์
  • ภาพสแกนจากฉบับแปลภาษาอังกฤษของจดหมายเหตุลาลูแบร์ จากเว๊บไซต์ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยคอร์เนล
  • Big Picture คิดสลับสี 20 03 61 เบรก 1 จากฟ้าวันใหม่

การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยอยุธยาจดหมายเหตุลาลูแบร์ถือเป็นหลักฐานประเภทใด

สิ่งที่สำคัญของลา ลูแบร์ ก็คือ จดหมายเหตุลา ลูแบร์บอกถึงชีวิตความเป็นอยู่ สังคม ประเพณี ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม หลายสิ่งหลายอย่างของคนในสมัยกรุงศรีอยุธยาจึงนับได้ว่าเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีจารึกเป็นลายลักษณ์อักษรอีกด้วย

ข้อใดคือลักษณะของบันทึกหรือจดหมายเหตุลาลูแบร์

ลักษณะเด่นของหนังสือเล่มนี้ คือ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมสยามในขณะนั้น (เมื่อ 3 ศตวรรษที่แล้ว) อย่างละเอียด หลายเรื่อง หาไม่ได้ในเอกสารอื่น หลักฐาน ประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยาหลายเรื่องได้อาศัยหนังสือเล่มนี้เป็นหลัก บางเรื่อง ไม่มีในเอกสารไทย แต่มีในเอกสารจีนซึ่งตรงกับที่ลา ลูแบร์บันทึกไว้ และหลายเรื่อง มีปรากฏในหลักฐาน ...

ลาลูแบร์เดินทางเข้ามาในอยุธยาด้วยจุดประสงค์ใด

เดอ ลา ลูแบร์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าคณะทูตฝรั่งเศสร่วมกับโกลด เซเบอแร ดูว์ บูแล (Claude Céberet du Boullay) เดินทางมาอยุธยาเพื่อเจรจาเรื่องศาสนาและการค้าของฝรั่งเศสในอาณาจักรอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2230 ในการเจรจานั้นอยุธยาไม่สู้จักยินยอมรับข้อเสนอของฝรั่งเศส ทำให้เสียเวลาในการเจรจาหลายสัปดาห์ ในที่สุดฝ่ายไทยก็ยินยอม ...

ลาลูแบร์ มีบทบาทในการสร้างสรรค์ชาติไทยอย่างไรบ้าง

นอกจากจะเป็นหัวหน้าคณะทูตจากฝรั่งเศสแล้ว เดอ ลา ลูแบร์ ยังได้รับคำสั่งให้สังเกตเรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับอาณาจักรอยุธยาและบันทึกข้อสังเกตทั้งหลายเหล่านั้นกลับไปรายงานให้ราชสำนักของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ได้รับทราบด้วย จดหมายเหตุเหล่านี้ได้กลายเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่าต่อแวดวงวิชาประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยา ...