การปฏิบัติตนที่ ถูก ต้อง เหมาะสมต่อพระภิกษุ ก่อ ให้เกิด ประโยชน์ อย่างไร

การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุสงฆ์ ระเบียบปฏิบัติการแสดงความเคารพพระสงฆ์การลุกขึ้นยืนรับพระสงฆ์         ๑. ถ้านั่งเก้าอี้อยู่หากพระสงฆ์เดินมานิยมลุกขึ้นยืนรับ เมื่อท่านเดินผ่านมาตรงหน้า นิยมน้อมตัวลงยกมือไหว้ เมื่อท่านนั่งเรียบร้อยแล้วจึงนั่งลงตามเดิม         ๒. ถ้าคฤหัสถ์ (อุบาสก-อุบาสิกา) นั่งกับพื้น ไม่นิยมลุกขึ้นยืนรับเมื่อท่านเดินผ่านมาเฉพาะหน้า นิยมยกมือไหว้หรือกราบตามความเหมาะสมแก่สถานที่นั้นการให้ที่นั่งแก่พระสงฆ์นิยมจัดอาสนะสงฆ์หรือเก้าอี้ไว้ต่างหากจากฆราวาส หรืออุบาสก-อุบาสิกาถ้าสถานที่ชุมชนนั้นจัดให้นั่งเก้าอี้ที่ไม่ได้จัดเตรียมไว้เฉพาะพระสงฆ์ หากท่านมาต้องลุกหลีกไป ให้โอกาสแก่พระสงฆ์นั่งเก้าอี้แถวหน้าหากชายจำเป็นต้องนั่งแถวเดียวกับพระสงฆ์ นิยมนั่งด้านซ้ายของพระสงฆ์สตรีเพศ (อุบาสิกา) ไม่นิยมนั่งแถวเดียวกันหรืออาสนะยาวเดียวกัน เว้นแต่กรณีจำเป็น ต้องมีบุรุษคั่นอยู่การตามส่งพระสงฆ์ ถ้านั่งเก้าอี้ นิยมลุกขึ้นยืนส่งท่าน เมื่อท่านเดินผ่านมาถึงเฉพาะหน้า นิยมน้อมตัวลงยกมือไหว้ ถ้านั่งกับพื้น นิยมไม่ต้องยืนส่ง เมื่อท่านเดินผ่านมาถึงเฉพาะหน้านิยมกราบหรือยกมือไหว้ตามควรแก่กรณีเจ้าภาพหรือประธานพิธี ต้องตามไปส่งท่านจนพ้นบริเวณงานหรือจนกว่าท่านจะขึ้นรถพ้นออกไปจากบริเวณงานแล้ว ก่อนที่ท่านจะจากไปนิยมน้อมตัวลงไหว้เมื่อพระสงฆ์เดินตามหลังมา๑. หลีกทางชิดข้างทางด้านซ้ายมือของพระสงฆ์๒. ยืนตรง มือทั้งสองต้องประสานกันไว้ข้างหน้า หันหน้ามามองท่าน๓. เมื่อพระสงฆ์เดินมาถึงเฉพาะหน้า นิยมน้อมตัวลงยกมือไหว้๔. ถ้าท่านพูดด้วยนิยมประนมมือพูดกับท่าน ถ้าไม่พูดด้วยก็อยู่ในท่าปกติ วิธีเดินตามหลังพระสงฆ์เดินตามไปเบื้องหลัง โดยให้เยื้องไปทางซ้ายของท่านระยะห่างจากท่าน ๒-๓ ก้าวกิริยาเดินตามหลัง ต้องสำรวมเรียบร้อยนิยมไม่แสดงความเคารพผู้อื่นขณะเดินตามหลังท่าน นิยมไม่พูดคุยทักทายปราศัยกับผู้อื่น คำพูดกับ แทนตัวท่าน ชาย หญิง คำแทนตัวผู้พูด คำรับ คำแทนตัวผู้พูด (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({}); คำรับ ๑. สมเด็จพระสังฆราช ฝ่าพระบาท หรือฝ่าบาท เกล้ากระหม่อม หรือกระหม่อม พ่ะย่ะค่ะ กระหม่อมฉัน หรือหม่อมฉัน เพคะ ๒. สมเด็จพระราชาคณะและ พระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป (จะมีคำว่า ราช, เทพ, ธรรม, หรหมหรือสมเด็จนำหน้าเป็น เครื่องสังเกตง่าย ๆ) พระเดชพระคุณ หรือใต้เท้า เกล้าหรือ เกล้ากระผม ครับกระผม หรือ ขอรับกระผม หรือครับผม ดิฉัน หรือ อิฉัน เจ้าค่ะ ๓. - พระราชาคณะชั้น   สามัญลงมา - พระราชาคณะ - พระครูสัญญาบัตรและ   พระครูฐานานุกรม - พระเปรียญ - พระอันดับธรรมดา - พระผู้เฒ่า - พระสงฆ์ผู้เป็นญาติ ท่านเจ้าคุณหรือท่าน ท่านพระครูหรือท่านท่านมหาหรือท่าน พระคุณเจ้าหรือท่าน หลวงพ่อหรือหลวงปู่ ใช้ตามฐานะเดิมที่เป็น เช่น หลวงลุง หลวงอา หลวงน้า หลวงพี่ ฯลฯ กระผม หรือ ผม ครับ (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({}); ดิฉัน หรือ อิฉัน เจ้าค่ะ หรือ ค่ะ ๔. คำพูดกับพระธรรมทั่วไป ไม่รู้จักไม่ทราบสมณศักดิ์ ควรใช้คำพูดกลาง ๆ พระคุณเจ้าหรือท่าน กระผมหรือผม ครับ ดิฉัน หรือ อิฉัน เจ้าค่ะ หรือ ค่ะ

Show

ระเบียบปฏิบัติการแสดงความเคารพพระสงฆ์

การลุกขึ้นยืนรับพระสงฆ์

๑. ถ้านั่งเก้าอี้อยู่หากพระสงฆ์เดินมานิยมลุกขึ้นยืนรับ เมื่อท่านเดินผ่านมาตรงหน้า นิยมน้อมตัวลงยกมือไหว้ เมื่อท่านนั่งเรียบร้อยแล้วจึงนั่งลงตามเดิม

๒. ถ้าคฤหัสถ์ (อุบาสก-อุบาสิกา) นั่งกับพื้น ไม่นิยมลุกขึ้นยืนรับเมื่อท่านเดินผ่านมาเฉพาะหน้า นิยมยกมือไหว้หรือกราบตามความเหมาะสมแก่สถานที่นั้น

การปฏิบัติตนที่ ถูก ต้อง เหมาะสมต่อพระภิกษุ ก่อ ให้เกิด ประโยชน์ อย่างไร

การให้ที่นั่งแก่พระสงฆ์

  • นิยมจัดอาสนะสงฆ์หรือเก้าอี้ไว้ต่างหากจากฆราวาส หรืออุบาสก-อุบาสิกา
  • ถ้าสถานที่ชุมชนนั้นจัดให้นั่งเก้าอี้ที่ไม่ได้จัดเตรียมไว้เฉพาะพระสงฆ์ หากท่านมาต้องลุกหลีกไป ให้โอกาสแก่พระสงฆ์นั่งเก้าอี้แถวหน้า
  • หากชายจำเป็นต้องนั่งแถวเดียวกับพระสงฆ์ นิยมนั่งด้านซ้ายของพระสงฆ์
  • สตรีเพศ (อุบาสิกา) ไม่นิยมนั่งแถวเดียวกันหรืออาสนะยาวเดียวกัน เว้นแต่กรณีจำเป็น ต้องมีบุรุษคั่นอยู่

การตามส่งพระสงฆ์

  • ถ้านั่งเก้าอี้ นิยมลุกขึ้นยืนส่งท่าน เมื่อท่านเดินผ่านมาถึงเฉพาะหน้า นิยมน้อมตัวลงยกมือไหว้
  • ถ้านั่งกับพื้น นิยมไม่ต้องยืนส่ง เมื่อท่านเดินผ่านมาถึงเฉพาะหน้านิยมกราบหรือยกมือไหว้ตามควรแก่กรณี
  • เจ้าภาพหรือประธานพิธี ต้องตามไปส่งท่านจนพ้นบริเวณงานหรือจนกว่าท่านจะขึ้นรถพ้นออกไปจากบริเวณงานแล้ว ก่อนที่ท่านจะจากไปนิยมน้อมตัวลงไหว้

เมื่อพระสงฆ์เดินตามหลังมา

๑. หลีกทางชิดข้างทางด้านซ้ายมือของพระสงฆ์

๒. ยืนตรง มือทั้งสองต้องประสานกันไว้ข้างหน้า หันหน้ามามองท่าน

๓. เมื่อพระสงฆ์เดินมาถึงเฉพาะหน้า นิยมน้อมตัวลงยกมือไหว้

๔. ถ้าท่านพูดด้วยนิยมประนมมือพูดกับท่าน ถ้าไม่พูดด้วยก็อยู่ในท่าปกติ

วิธีเดินตามหลังพระสงฆ์

  • เดินตามไปเบื้องหลัง โดยให้เยื้องไปทางซ้ายของท่านระยะห่างจากท่าน ๒-๓ ก้าว
  • กิริยาเดินตามหลัง ต้องสำรวมเรียบร้อย
  • นิยมไม่แสดงความเคารพผู้อื่นขณะเดินตามหลังท่าน
  • นิยมไม่พูดคุยทักทายปราศัยกับผู้อื่น

คำพูดกับ

แทนตัวท่าน

ชาย

หญิง

คำแทนตัวผู้พูด

คำรับ

คำแทนตัวผู้พูด

คำรับ

๑.

สมเด็จพระสังฆราช

ฝ่าพระบาท
หรือฝ่าบาท

เกล้ากระหม่อม
หรือกระหม่อม

พ่ะย่ะค่ะ

กระหม่อมฉัน
หรือหม่อมฉัน

เพคะ

๒.

สมเด็จพระราชาคณะและ
พระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป
(จะมีคำว่า ราช, เทพ, ธรรม, หรหมหรือสมเด็จนำหน้าเป็น
เครื่องสังเกตง่าย ๆ)

พระเดชพระคุณ
หรือใต้เท้า

เกล้าหรือ
เกล้ากระผม

ครับกระผม
หรือ
ขอรับกระผม
หรือครับผม

ดิฉัน
หรือ
อิฉัน

เจ้าค่ะ

๓.

- พระราชาคณะชั้น
สามัญลงมา
- พระราชาคณะ
- พระครูสัญญาบัตรและ
พระครูฐานานุกรม
- พระเปรียญ
- พระอันดับธรรมดา
- พระผู้เฒ่า
- พระสงฆ์ผู้เป็นญาติ

ท่านเจ้าคุณหรือท่าน
ท่านพระครูหรือท่าน

ท่านมหาหรือท่าน
พระคุณเจ้าหรือท่าน
หลวงพ่อหรือหลวงปู่
ใช้ตามฐานะเดิมที่เป็น
เช่น หลวงลุง หลวงอา
หลวงน้า หลวงพี่ ฯลฯ

กระผม
หรือ
ผม

ครับ

ดิฉัน
หรือ
อิฉัน

เจ้าค่ะ
หรือ
ค่ะ

๔.

คำพูดกับพระธรรมทั่วไป
ไม่รู้จักไม่ทราบสมณศักดิ์
ควรใช้คำพูดกลาง ๆ

พระคุณเจ้าหรือท่าน

กระผมหรือผม

ครับ

ดิฉัน
หรือ
อิฉัน

เจ้าค่ะ
หรือ
ค่ะ

ชาวพุทธควรปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์อย่างเหมาะสมอย่างไรบ้าง

๑. หลีกทางชิดข้างทางด้านซ้ายมือของพระสงฆ์ ๒. ยืนตรง มือทั้งสองต้องประสานกันไว้ข้างหน้า หันหน้ามามองท่าน ๓. เมื่อพระสงฆ์เดินมาถึงเฉพาะหน้า นิยมน้อมตัวลงยกมือไหว้ ๔. ถ้าท่านพูดด้วยนิยมประนมมือพูดกับท่าน ถ้าไม่พูดด้วยก็อยู่ในท่าปกติ

การปฏิบัติตนได้ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องการปฏิสันถารพระสงฆ์มีผลดีอย่างไร

การสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่างนี้ ทางพระพุทธศาสนาเรียกว่า “ปฏิสันถาร” แปลว่า การอุดรูรั่วต่างๆ ระหว่างตนกับคนอื่น ก่อให้เกิดสามัคคีธรรมขึ้นระหว่างเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ลบล้างรอยแตกแยกความร้าวฉานให้หมดสิ้นไป มีความคิดเห็นตรงกันแม้จะมีฐานะต่างกันก็อยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสงบสุข

ควรปฏิบัติตนต่อพระรัตนตรัยอย่างไรให้ถูกต้องและดีงาม

ดังนั้น พระรัตนตรัย เป็นสิ่งที่ควรเคารพบูชาสูงสุดในพระพุทธศาสนา ชาวพุทธทุกคนจึงควรปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อพระรัตนตรัย ดังนี้ 1. มีความเลื่อมใสศรัทธาในคุณพระรัตนตรัย 2. ระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า และแสดงความเคารพ โดยการกราบไหว้ และบูชาพระพุทธรูปด้วยดอกไม้ ธูป เทียน 3. ระลึกถึงพระธรรม และแสดงความเคารพต่อหนังสือธรรมะ ...

เราควรปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ทางกายทางวาจาและทางใจอย่างไร

๒.๑ การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุทางกาย วาจา และใจที่ประกอบด้วยเมตตา ๒. ทางวาจา คือ พูดกับพระสงฆ์ด้วยเมตตา มีความปรารถนาดีเป็นที่ตั้งต่อหน้าและลับหลัง เช่น พูดไพเราะ ไม่กระโชกโฮกฮาก เสียดสี แดกดันหรือทำนองดูหมิ่น ใช้คำพูดถูกต้องเหมาะสมแก่สถานภาพของตนและพระสงฆ์