การป้องกันอันตรายขณะทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ทำได้ด้วยวิธีใด

การป้องกันอันตรายขณะทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ทำได้ด้วยวิธีใด

วิธีจัดการกับไฟฟ้ารั่ว

ปัญหาที่มักจะเกิดตามมาหลักจากเกิดน้ำท่วมแล้ว เป็นอะไรไปไม่ได้นอกจากเรื่องของไฟฟ้า น้ำ
ลดแล้วจะกลับเข้าบ้านก็ที่จะถูกไฟฟ้าดูด เพราะไม่รู้ว่าจะมีไฟฟ้ารั่วจากจุดไหนบ้าง
วันนี้เราจะมาบอกถึงวิธีจัดการปัญหาเกี่ยวกับระบบไฟฟ้ารั่ว เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจจะส่งผล
แก่ชีวิต และเพื่อเป็นการให้ความรู้ติดตัวทุกท่านเพื่อไม่ให้ประสบอันตรายได้

กระแสไฟฟ้ารั่ว คืออะไร

กระแสไฟฟ้ารั่ว ก็คือการที่กระแสไฟฟ้าได้รั่วไหลจากวงจรไฟฟ้าไปที่ผิวของสายไฟฟ้า หรือโครงของอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า หรือรั่วไปที่ผิวของโครง หรือผนังของจุดติดตั้งระบบ ไฟฟ้า เช่น เสาโลหะโคมไฟส่องสว่าง เป็นต้น หากเกิดไฟฟ้ารั่วแล้วมีคนไปสัมผัสอาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้

การป้องกันอันตรายขณะทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ทำได้ด้วยวิธีใด

กระแสไฟฟ้ารั่ว เกิดจากอะไร

ขั้นแรกอาจจะเกิดจากการติดตั้งเดินสายไฟที่ไม่ถูกต้องตามมาตรฐาน การขาดการตรวจสอบและบำรุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้า การใช้งานที่ไม่ถูกต้อง ตลอดไปจนถึงการเสื่อมสภาพของฉนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้มาเป็นเวลานาน หรือเสื่อมสภาพ ทำให้ตัวนำ หรือจุดเหล่านั้นมีแรงดันไฟฟ้า ไปสัมผัสกับโครงโลหะของอุปกรณ์ไฟฟ้าจึงเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วขึ้น นอกจากนั้นการที่เกิดน้ำท่วมก็ยังเป็นตัวนำไฟฟ้าได้ด้วยเช่นกัน

อันตรายขนาดไหน
หากมีผู้ที่ไปจับต้อง หรือสัมผัสส่วนที่มีกระแสไฟฟ้ารั่ว จะทำให้ถูก กระแสไฟฟ้าดูด ความเป็นอันตรายของกระแสไฟฟ้าขึ้นอยู่กับ ปริมาณของกระแสไฟฟ้าและระยะเวลาที่ถูกไฟดูด ถึงขั้นเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ โดยผลของกระแสไฟฟ้าสลับที่มีต่อมนุษย์นอกจากนั้นจะทำให้เกิดการสิ้นเปลืองไฟฟ้าโดยเปล่าประโยชน์ เนื่องจาก กระแสไฟฟ้ารั่วจะพยายามไหลไปตามสิ่งที่เป็นสื่อไฟฟ้า เพื่อลงดินและทำให้เสียค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอีกทั้งเป็นเหตุให้เกิดอัคคีภัยขึ้นได้ เนื่องจากบริเวณ หรือจุดที่เกิด กระแสไฟฟ้ารั่ว จะมีกระแสไฟฟ้าไหลจนเกิดความร้อนขึ้นและหากความร้อนสะสมเป็นเวลานาน จะทำให้เกิดการติด ไฟจนเป็นสาเหตุให้เกิดเพลิงไหม้ได้

การป้องกันอันตรายขณะทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ทำได้ด้วยวิธีใด

วิธีการป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้ารั่ว

1.วิธีแรกคือติดตั้งระบบไฟฟ้าที่มีสายดิน ซึ่งสายดินมีความสำคัญและเป็นมาตรการหลักในการที่
จะช่วยป้องกันชีวิตจากอันตรายของกระแสไฟฟ้ารั่ว
2.ติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว ซึ่งใช้เป็นอุปกรณ์ป้องกันสำหรับตัดไฟรั่ว เมื่อถึงค่ากระแสรั่วที่กำหนด
3. เมื่อรู้ว่ามีกระแสไฟฟ้ารั่ว ให้หลีกเลี่ยงการสัมผัส หรือจับต้องอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า
ควรหลีกเลี่ยงอย่างยิ่งในขณะที่ร่างกายเปียกชื้น หรือยืนอยู่บนที่เปียกแฉะ ขณะจับต้องอุปกรณ์
ไฟฟ้า
4. หากจำเป็นต้องสัมผัสกับอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือสิ่งที่เป็นสื่อนำ ไฟฟ้าดังกล่าว โดยสงสัยว่ามีไฟรั่ว หรือไม่ ให้ใช้ไขควงเช็ค ไฟตรวจสอบจุดที่สัมผัสก่อน

ต้องการคุยกับผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างบ้านติดต่อเราได้ที่
– SEACONhome Channels –
FB Messenger : http://m.me/SeaconHome.Ltd
Line : @seaconhome หรือคลิก http://line.me/R/ti/p/%40seaconhome
https://www.seacon.co.th/
Tel : 02-237-2900
.
#ระบบไฟฟ้า #YoudreamWebuild #สร้างได้อย่างที่ฝันสร้างบ้านกับซีคอนโฮม #Seaconhomeรับ

สร้างบ้าน #รับสร้างบ้าน #สร้างบ้าน #ซีคอนโฮมรับสร้างบ้าน




บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

บทความอื่นๆ

เราใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ ท่านสามารถศึกษารายละเอียดการใช้คุกกี้ได้ที่ "นโยบายการใช้คุกกี้" และสามารถเลือกตั้งค่ายินยอมการใช้คุกกี้ได้โดยคลิก "การตั้งค่าคุกกี้" การตั้งค่าคุ๊กกี้ยอมรับคุ๊กกี้ทั้งหมด

  • อบรมความปลอดภัย
    • เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
      • จป บริหาร
      • จป หัวหน้างาน
      • จป เทคนิค
      • คปอ
    • หลักสูตรตามกฎหมาย
      • พนักงานใหม่ 6 ชม.
      • ดับเพลิงขั้นต้น
      • การทำงานในที่อับอากาศ
      • การทำงานกับสารเคมี
      • การทำงานกับปั้นจั่น 4 ผู้
      • การทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
    • การทำงานบนที่สูง
      • ที่สูง ผู้ปฏิบัติงาน
      • ที่สูง เสาส่งสัญญาณ
      • โรยตัวทำงานบนที่สูง
    • หลักสูตรทั่วไป
      • ปฐมพยาบาล
      • การทำงานกับนั่งร้าน
      • การขับรถยก (โฟคลิฟท์)
      • ผู้เฝ้าระวังไฟ
      • อันตรายจากเสียงดัง
  • ตรวจรับรอง
    • ตรวจเครน ปจ.1 ปจ.2
    • ตรวจสอบระบบไฟฟ้า
    • ตรวจระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
    • ตรวจสอบระบบดับเพลิง
    • บริการตรวจสอบอาคารประจําปี
    • ฉีดพ่นฆ่าเชื้อโควิด19
  • สินค้า
  • บริการช่วยเหลือ

  • ลด 50% โดยไม่ต้องสมัครสมาชิก

  • Newsroom

  • Privacy Notice

การป้องกันอันตรายขณะทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ทำได้ด้วยวิธีใด

    แม้ว่าอันตรายจากไฟฟ้าจะพบได้น้อยกว่าอันตรายจากน้ำร้อนลวก หรือ บาดเจ็บจากของร้อน แต่คงปฏิเสธไม่ได้ว่าความรุนแรง และอันตรายจากไฟฟ้านั้นเสี่ยงต่อชีวิตมากจริง ๆ วันนี้เราจึงมาแนะนำ ภัยอันตรายจากไฟฟ้า รวมถึงวิธีปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างไรให้ปลอดภัย เผื่อเกิดเหตุด่วนเหตุร้ายจากไฟฟ้า เราจะได้ช่วยเหลือคนอื่นได้ทัน

         เมื่อมีเหตุเกิดเพลิงไหม้เรามักจะได้ยินข้อสันนิษฐานว่ามีเหตุ มาจากไฟฟ้าลัดวงจร ภาวะหรือสาเหตุการลัดวงจรคือกระแสไฟฟ้าไหลครบวงจรโดยไม่ผ่านเครื่องใช้ ไฟฟ้า (LOAD) การลัดวงจรของไฟฟ้ามีมากมายหลายสาเหตุ สาเหตุหลักเกิดจากการใช้ไฟฟ้าที่ไม่ถูกต้อง หรือไม่ได้มีการตรวจสอบระบบไฟฟ้าให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ไม่ได้มาตรฐาน ปรากฏการณ์ที่พบได้บ่อย คือ

1.1 ฉนวนไฟฟ้าชำรุดและเสื่อมสภาพ อาจเนื่องมาจากอายุการใช้งานนาน สภาพแวดล้อมมีความร้อนสูง
ใช้พลังงานไฟฟ้าเกินพิกัดทำให้เกิดความร้อนภายในสายหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า

1.2 มีสิ่งก่อสร้าง ต้นไม้ หรือสิ่งอื่น ๆ ไปพาดทับหรือสัมผัสสายไฟฟ้า เกิดการขัดสี จนฉนวนชำรุด ลวดตัวนำ ภายในสายสัมผัสกันเองจนเกิดการลุกไหม้

1.3 สายไฟฟ้าหลุด หรือขาดลงพื้น ทำให้กระแสไฟฟ้ากระจายอยู่ในบริเวณนั้น หากพื้นผิวบริเวณนั้นเปียกชื้น อันตรายต่อผู้สัญจรยิ่งสูงตามไปด้วย

         เป็นภาวะที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมีผลทำให้กล้ามเนื้อเกิดการเกร็ง จนไม่สามารถสะบัดให้หลุดได้ ปริมาณของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านร่างกายทำให้เสียชีวิต หรือพิการไฟฟ้าดูดในบางกรณี เป็นการดูดที่ผู้ประสบเหตุไม่ได้สัมผัสกับไฟฟ้าโดยตรงก็ได้ เช่นจับตัว ผู้สัมผัสไฟฟ้า หรือใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าใต้แนวไฟฟ้า แรงสูงก็เคยมีกรณีให้เป็นตัวอย่างมาแล้ว ปกติพื้นดินเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า มีแรงดันทางไฟฟ้าเป็นศูนย์ ดังนั้น เมื่อเราสัมผัส ส่วนใดใดที่มีแรงดันไฟฟ้าขณะที่ร่างกายยืนอยู่บนพื้นดิน กระแสไฟฟ้าก็จะไหลผ่านร่างกายลงดินครบวงจร เราจึงถูกไฟฟ้าดูด การถูกไฟฟ้าดูดจากการสัมผัส สามารถแยกแยะตามลักษณะของการสัมผัสได้เป็น 2 แบบคือ

2.1 การสัมผัสโดยตรง(Direct Contact)คือการที่ส่วนร่างกายสัมผัสถูกส่วนที่มีไฟฟ้าโดยตรง เช่น สายไฟฟ้ารั่ว เพราะฉนวนชำรุดแล้วมีบุคคลเอามือไปจับหรือจากการที่เด็กเอาโลหะหรือตะปูแหย่ เข้าไปในปลั๊ก(เต้ารับไฟฟ้า)

2.2 การสัมผัสโดยอ้อม(Indirect Contact) ลักษณะนี้ บุคคลไม่ได้สัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้าโดยตรง แต่เกิดจากการที่ บุคคลไปสัมผัสกับส่วนที่ปกติไม่มีไฟฟ้า เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า แต่มีไฟฟ้าเนื่องจากเครื่องใช้ไฟฟ้านั้น ๆ รั่ว ไฟฟ้าจึงปรากฏ อยู่บนพื้นผิวของเครื่องใช้ไฟฟ้านั้น ๆ เมื่อบุคคลไปสัมผัสจึงถูกไฟฟ้าดูด

  •  1 mA หรือ น้อยกว่า ไม่มีผลกระทบต่อร่างกาย
  • มากกว่า 5 mA ทำให้เกิดการช็อก และเกิดความเจ็บปวด
  • มากกว่า 15 mA กล้ามเนื้อบริเวณที่ถูกกระแสไฟฟ้าดูดเกิดการหดตัว และร่างกายจะเกิดอาการเกร็ง
  • มากกว่า 30 mA การหายใจติดขัด และสามารถทำให้หมดสติได้
  • 50 ถึง 200 mA ขาดเลือดไปเลี้ยงหัวใจ และอาจจะเสียชีวิตได้ภายในเวลาไม่กี่วินาที
  • มากกว่า 200 mA เกิดการไหม้บริเวณผิวหนังที่ถูกกระแสไฟฟ้าดูด และหัวใจจะหยุดเต้นภายในเวลาไม่กี่วินาที
  • ตั้งแต่ 1A ขึ้นไป ผิวหนังบริเวณที่ถูกกระแสไฟฟ้าดูดถูกทำลายอย่างถาวร และหัวใจจะหยุดเต้นภายในเวลาไม่กี่วินาที

  • ให้หมั่นตรวจสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านอยู่เป็นประจำ ถ้าพบสายไฟฟ้ารั่ว สายไฟฟ้าชำรุด หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ เสียหายจากระบบไฟฟ้ารั่ว ให้เรียกช่างมาซ่อม หรือเลิกใช้เครื่องไฟฟ้าเหล่านั้นทันที
  • อย่าลืมเช็ก ว่ามีเครื่องตัดไฟฟ้าลัดวงจรภายในบ้านหรือไม่ และต่อสายดินเรียบร้อยหรือไม่ด้วยนะ
  • หากมือของเราเปียก ตัวเปียก อย่าสัมผัสกับสวิตช์ไฟ หรือปลั๊กไฟเด็ดขาด
  • หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้กับโครงสร้างของบ้านที่มีวัสดุทำจากเหล็ก โลหะต่าง ๆ ที่เปียกชื้นเวลาฝนตก
  • ไม่อยู่ใกล้แหล่งกำเนิดไฟฟ้าขณะฝนตก เช่น เสาไฟฟ้าแรงสูง หม้อแปลง เป็นต้น
  • ไม่ควรใช้ไฟฟ้าหลายอย่างกับปลั๊กไฟตัวเดียว เพราะอาจทำให้เกิดการชอร์ตได้
  • ไม่ซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าเองโดยไม่มีความรู้ เพราะอาจเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วโดยที่เราไม่รู้ตัวได้
  • อย่าให้เครื่องใช้ไฟฟ้าเปียกน้ำ (ยกเว้นเครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิดที่มีการออกแบบการใช้งานที่สามารถโดนน้ำได้)

  • เคลื่อนย้ายผู้ที่โดนไฟดูดออกจากบริเวณที่ถูกไฟดูด ไฟชอร์ตให้เร็วที่สุด
  • ที่สำคัญที่สุดคือ ต้องป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าดูดผู้ที่จะเข้าไปช่วยเหลือด้วย บ่อยครั้งพบว่าผู้เข้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยที่ไม่ได้ระวังตรงจุดนี้ กลับถูกกระแสไฟฟ้าดูดเสียชีวิตไปด้วย 
  • พยายามตรวจดูให้ละเอียดถึงอาการบาดเจ็บ ที่อาจเกิดร่วมกับผู้ที่โดนไฟดูดได้ เช่น อาจพลัดตกจากที่สูง อาจมีบาดเจ็บที่ศีรษะ หรือ กระดูกส่วนต่าง ๆ เช่น กระดูกคอ กระดูกแขนขา กระดูกสันหลังหักร่วมด้วย
  • ต้องให้ความเอาใจใส่และระมัดระวังในจุดนี้ โดยเฉพาะการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากที่เกิดเหตุ เพราะถ้าทำไม่ถูกต้องอาจ ทำให้ได้รับบาดเจ็บหนักกว่าเดิม
  • ตรวจดูหัวใจว่าหยุดเต้นหรือไม่ เพราะกระแสไฟฟ้าแรงสูงที่ไหลผ่านหัวใจ อาจทำให้คลื่นหัวใจหยุดเต้นได้ โดยใช้นิ้วมือคลำดูจากการเต้นของชีพจรบริเวณคอ ถ้าหัวใจหยุดเต้น ต้องทำการนวดหัวใจไปพร้อม ๆ กับการผายปอด
  • หลังจากช่วยเหลือผู้ที่โดนไฟดูดออกมาได้แล้ว ให้รีบนำส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด

บทความและหลักสูตรที่น่าสนใจ

  • ความปลอดภัยในการทํางานกับไฟฟ้า
  • PM ระบบไฟฟ้าประจำปี บำรุงรักษาระบบไฟฟ้า PMตู้ MDB ตู้ DB
  • มาตรการป้องกันอันตรายและการควบคุม เกี่ยวกับการทำงานบนที่สูง 2564
  • บำรุงรักษาโดยรวม (Total Productive Maintenance)
  • การทำงานบนที่สูงจำเป็นอย่างมากจะได้รับการอบรมก่อน
  • หลักสูตร ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ
  • ส่วนประกอบนั่งร้าน BS

การป้องกันอันตรายขณะทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ทำได้โดยวิธีใด

การป้องกันการสัมผัสโดยตรง การป้องกันสามารถทำได้หลายวิธีดังนี้ - ติดตั้งเครื่องปลดวงจรไฟฟ้าอัตโนมัติเมื่อไฟฟ้ารั่ว ... .
การป้องกันการสัมผัสโดยอ้อม การป้องกันสามารถทำได้หลายวิธีดังนี้ - บริภัณฑ์ไฟฟ้าให้ทำการต่อสายดินและต้องมีเครื่องปลดวงจรไฟฟ้าอัตโนมัติ ... .
ระยะปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า.

วิธีใดบ้างที่สามารถป้องกันอันตรายจากงานไฟฟ้า

วิธีการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า 1.ทำความสะอาดพื้นที่บริเวณคัทเอาท์ หรือปลั๊กไฟ โดยทุกครั้งที่ทำความสะอาด ควรตัดกระแสไฟสม่ำเสมอ เพื่อความปลอดภัย 2.เมื่อพบปลั๊กไฟชำรุด หรือมีรอยไหม้ ให้ทำการเรียกช่างไฟมาเปลี่ยนอุปกรณ์ปลั๊กไฟใหม่ อย่าเสี่ยงใช้งาน 3.การเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง เตรียมพร้อมไว้สำหรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน

ข้อใดคือการปฏิบัติงานซ่อมบำรุงไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่ปลอดภัยที่สุด

1. ควรคำนึงถึงกฏแห่งความปลอดภัยขณะทำงานหรือซ่อมบำรุงเครื่องใช้และอุปกร์ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ทุกครั้ง และอย่าทำงานด้วยความประมาท 2. ก่อนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ต้องถือว่าอุปกรณืไฟฟ้าเหล่านั้นมีไฟฟ้าจ่ายอยู่ ต้องตรวจสอบจนแน่ใจว่าไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้อุปกรณ์ไฟฟ้าแล้ว

วิธีการใดบ้างที่เราสามารถป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าได้(อธิบายมา5ข้อ)

1. หมั่นเช็กสายไฟ และอุปกรณ์ไฟฟ้า ... .
2. กฎเหล็ก “มือเปียกห้ามจับอุปกรณ์ไฟฟ้า” ... .
3. ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าดูด (ที่จำเป็น) ... .
4. ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่รับมาตรฐาน มอก. ... .
5. เก็บสายไฟและอุปกรณ์ไฟฟ้าให้มิดชิด ... .
6. ไม่อยู่ใกล้แหล่งกำเนิดไฟฟ้าขณะฝนตก ... .
7. ไม่ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าเกินกำลัง ... .
8. ห้ามซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าเองโดยที่ไม่มีความรู้.