วิชา พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ข้ามไปยังเนื้อหา

การนำเสนองานผ่านสื่อ PowerPoint 20 คะแนน (หมดเวลาส่งแล้วนะครับ)

นิสิตรายชื่อต่อไปนี้ ทำผิดกฏ ด้วยการ Copy งานมาส่ง
1.พระอธิวัฒน์ อชิโต กับ พระสุพรม สุนฺทโร
2.พระพงษ์ศิริ มหาวีโร(โคตรศรีวงษ์) กับ พระวีระศักดิ์ สกฺโก กับ พระสำเนาว์ อคฺควณฺโณ กับ พระเสถียร จารุธมฺโม กับ พระธนิต ธมฺมิโก

จะได้เกรด I นะครับ
(เตือนแล้ว ทำไมไม่ฟัง)

เนื้อหาโดยสังเขป
1.    ความหมายของคอมพิวเตอร์
2.    ลักษณะที่สำคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์
3.    พัฒนาการของคอมพิวเตอร์
4.    ยุคของคอมพิวเตอร์
5.    ชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์
6.    องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
7.    ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูล
สาระสำคัญ
คอมพิวเตอร์ มีวิวัฒนาการมาจากเครื่องช่วยคำนวณเพื่อให้ได้คำตอบทางคณิตศาสตร์ โดยมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง มีส่วนประกอบที่สลับซับซ้อนขึ้น และมีบทบาทมากมายในชีวิตประจำวันของมนุษย์ การทำงานของคอมพิวเตอร์นั้นจะทำงานตามขั้นตอนตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่มนุษย์ได้สั่งการไว้ ดังนั้น หากมีข้อผิดพลาดในการทำงานนั้น ผู้ใช้ต้องศึกษาและทำความเข้าใจในระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ ทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ก่อนลงมือปฏิบัติจริง
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.    บอกความหมาย และความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ได้
2.    อธิบายถึงโครงสร้างของระบบคอมพิวเตอร์ได้
3.    บอกลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประเภทต่างๆ ได้
4.    อธิบายถึงโครงสร้างของข้อมูลได้
5.    สามารถเลือกใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

หนังสืออ่านประกอบ

นางสาว เบญจมาภรณ์ คงชนะ

เข้าสู่ระบบเมื่อ 5 วัน ที่แล้ว

ความรู้เบื้องต้นของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์และการสื่อสารระบบดิจิทัล ระบบคอมพิวเตอร์ระดับความสามารถและรูปแบบต่างๆ องค์ประกอบและสถาปัตยกรรมทางฮาร์ดแวร์โดยเน้นไมโครคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบซอฟต์แวร์ ข้อมูลและการบริหารข้อมูล การสื่อสารและเครือข่าย เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและบริการ ระบบประมวลผลและระบบสารสนเทศทางธุรกิจ จริยธรรมและมิติทางสังคม ความมั่นคงของระบบ ภาคปฏิบัติศึกษาการตรวจสอบการทำงานของไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง การติดตั้งระบบปฏิบัติการ การบำรุงรักษาและการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม


ClassStart ให้บริการฟรีโดย บริษัท ปิยะวัฒนา จำกัด
เราเป็นกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)

สนับสนุนโดย
ผู้ไม่ประสงค์ออกนามท่านหนึ่ง (2563-2565)
มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ (2561-2563)
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (2557-2558)
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2557)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2554-2558)



พ้นฐานคอมพวเตอร์

และเทคโนโลยีสารสนเทศ

DO NOT COPY

Introduction to computer and


ื้
Information Technology

สารบัญ

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ 1


บทที่ 2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร 29
บทที่ 3 แพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์ 49

บทที่ 4 ระบบดิจิทัล 79

บทที่ 5 การวิเคราะห์ออกแบบและพัฒนาระบบ 107

บทที่ 6 เทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร 133

บทที่ 7 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการ 165

บทที่ 8 การจัดการฐานขอมูล 183

บทที่ 9 อินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์ 211

บทที่ 10 ภัยคุกคาม ความมั่นคงของระบบ และจริยธรรมในสังคมออนไลน์ 237

บทที่ 11 การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ 257

บทที่ 12 การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคดิจิทัล 283


บทท่ 1
พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

DO NOT COPY

วัตถุประสงค์การเรียนประจ�าบท

เมื่อได้ศึกษาเนื้อหาในบทนี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
1.1 บอกความหมายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารได้

1.2 อธิบายพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ได้
1.3 บอกความส�าคัญของคอมพิวเตอร์ได้

1.4 บอกลักษณะส�าคัญของคอมพิวเตอร์ได้
1.5 อธิบายบทบาทของคอมพิวเตอร์ต่อวิถีชีวิตได้
1.6 อธิบายเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ได้

ขอบข่ายเนื้อหา

• ความน�า
• ความหมายของคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
• พัฒนาการของคอมพิวเตอร์

• ความส�าคัญของคอมพิวเตอร์
• ลักษณะส�าคัญของคอมพิวเตอร์

• บทบาทของคอมพิวเตอร์ต่อวิถีชีวิต
• เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

2 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.1 ความน�า
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของเราแทบทุกด้าน

ทุกกิจกรรม นับตั้งแต่ตื่นนอน การด�าเนินชีวิตประจ�าวัน การท�างาน การติดต่อสื่อสาร การศึกษาเรียนรู้





การทางานระดับพ้นฐานจนถึงงานท่มีความซับซ้อน ถ้าบุคคลผู้ใดไม่ปรับตัวต่อการเปล่ยนแปลงน้ หรือ
DO NOT COPY
ไม่พยายามศึกษาเรียนรู้ที่จะน�าไปใช้ ย่อมจะเสียเปรียบในด้านการแข่งขันในด้านธุรกิจการงาน ทั้งส่วน
ตน ส่วนรวม หรือระดับองค์กร และประเทศชาติได้ เพราะบรรดาข้าราชการ พ่อค้า นักธุรกิจ นักลงทุน
ท้งหลาย มักจะมองถึงระบบพ้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศผ่านนักเรียน นิสิต




นักศึกษา คนทางานและโครงสร้างพ้นฐานท่รัฐน้นวางไว้พร้อมท่จะตอบสนองต่อธุรกิจของเขาหรือไม่ แต่



ถ้ามีความรู้ ความเข้าใจ สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศได้ การทางานก็จะรวดเร็ว

ท�าให้ประหยัดทรัพยากร บุคลากร งบประมาณเวลาและสามารถเผยแพร่ไปสู่สาธารณะได้อย่างรวดเร็ว
ดังมีผู้กล่าวไว้ว่า “ชนใดไม่รู้เทคโนโลยี คนทั่วปฐพีเย้ยหยัน ชนใดไม่เห็นส�าคัญ ชนนั้นเสียเปรียบร�่าไป”

ในบทน้จะกล่าวถึงความหมายของคอมพวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาการของคอมพิวเตอร์

ลักษณะส�าคัญของคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ บทบาทของคอมพิวเตอร์ต่อวิถีชีวิต และ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ

1.2 ความหมายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

ภาพที่ 1.1 ตัวอย่างคอมพิวเตอร์รุ่นต่าง ๆ ในปัจจุบัน

ที่มา //www.xpahntbru.com/product_detail.php?

คอมพิวเตอร์ หรือ Computer มาจากภาษาละตินว่า Computare หมายถึง การนับ หรือการ

ค�านวณ

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ว่าเป็น เคร่อง
อิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ท�าหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้ส�าหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดย

วิธีทางคณิตศาสตร์ 1

1 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, (กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์,
2556).

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3




คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เคร่องแรกถูกพัฒนาข้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษท่ 20 (ค.ศ. 1940 -
ค.ศ.1945) มีขนาดใหญ่มากและใช้พลังงานมากเท่ากับเคร่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) สมัยใหม่หลาย

ร้อยเครื่องรวมกัน
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ผลิตขึ้นโดยใช้วงจรรวม หรือไอซี (Integrated Circuit) มีความจุ หน่วยความ
DO NOT COPY



จา และความเร็วในการประมวลผล มากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า ขนาดของตัวเคร่องใช้พ้นท่เพียง

เล็กน้อย หรือมาในรูปแบบอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ หรือหุ่นยนต์ต่าง ๆ ยังมีคอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมาย

ท่อยู่ในเคร่องเล่น MP3 เคร่องบินบังคับ และของเล่นชนิดต่าง ๆ จนถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรมท่ใช้พลังงาน





จากแบตเตอร่ขนาดเล็ก หากมีคนพูดถึงคาว่า คอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน มักจะเข้าใจ หรือหมายถึง
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ







สรุปว่าคอมพวเตอร์ หมายถงอุปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ท่สามารถทางานในการคานวณผลการเปรยบ


เทียบค่าด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องอัตโนมัติตามชุดคาส่ง โดยสามารถรับข้อมูลและคาส่งผ่านอุปกรณ์







รับข้อมูล (Input) แล้วนาข้อมูลหรือคาส่งน้นไปประมวลผล (Process) เพ่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ
และแสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล (Output) ตลอดจนสามารถบันทึกข้อมูลต่าง ๆ โดยอุปกรณ์บันทึก
ข้อมูลส�ารอง (Memory) เพื่อสามารถเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไปได้
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)เรียกย่อว่า ไอที ประกอบด้วยคาว่า เทคโนโลย ี

และค�าว่า สารสนเทศ น�ามารวมกันเป็น เทคโนโลยีสารสนเทศ และค�าว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร (Information and Communication Technology) หรือเรียกย่อว่า ไอซีที
เทคโนโลยี หรือ Technology หมายถึง วิทยาการที่น�าเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในทางปฏิบัติ อุตสาหกรรม เป็นต้น (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554) ซึ่งได้แก่

การนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ในการพัฒนาเคร่องมือ เคร่องใช้ อุปกรณ์ วิธีการ และ


กระบวนการท�างาน ให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ประหยัด


สารสนเทศ หรือ Information หมายถึง ผลลัพธ์ท่เกิดจากการนาข้อมูลมาผ่านกระบวนการ


ต่าง ๆอย่างมีระบบและนาไปใช้เพ่อการแสดงผลโดยสรุป หรือส่อสารให้เข้าใจง่าย ๆ หมายถึง เทคโนโลย ี





เก่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูล และการส่อสารนับต้งแต่การสร้าง การนามาวิเคราะห์หรือการประมวลผล
(แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประเทศไทย พ.ศ.2545-2549)
การสื่อสาร หรือ Communication หมายถึง วิธีการน�าถ้อยค�า ข้อความ หรือหนังสือ เป็นต้น






จากบุคคลหน่งหรือสถานท่หน่งไปยังอีกบุคคลหน่งหรืออีกสถานท่หน่ง (พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554)
สรุปความว่า
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (Information Technology) คือ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์โทรคมนาคม เพื่อจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และจัดการข้อมูลทางธุรกิจหรือองค์การหนึ่ง ๆ โดย

4 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาระส�าคัญหมายถึงคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์กึ่ง



ตัวนา อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์โทรคมนาคม เคร่องมือการส่อสารและสารสนเทศเช่นโทรทัศน์โทรศัพท์ รวม
ไปถึงการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และบริการทางคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อสาร หรือ Information and Communication Technology

DO NOT COPY
หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับข่าวสารข้อมูล และการสื่อสารนับตั้งแต่การสร้าง การน�ามาวิเคราะห์หรือ
ประมวลผล การรับและการส่งข้อมูล การจัดเก็บและการน�าข้อมูลกลับไปใช้ใหม่ (แผนแม่บทเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549) 2

1.3 พัฒนาการของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เกิดขึ้นจากแนวความคิดของระบบตัวเลข ซึ่งได้พัฒนาเป็นวิธีการค�านวณต่าง ๆ รวม

ทั้งอุปกรณ์ที่ช่วยในการค�านวณอย่างง่ายคือกระดานค�านวณและลูกคิด ในศตวรรษที่ 17 เครื่องค�านวณ





แบบใช้ฟันเฟืองเคร่องแรกได้กาเนิดข้นจากนักคณิตศาสตร์ชาวฝร่งเศสคือ Blaise Pascal โดยเคร่องของ


เขาสามารถคานวณการบวก การลบ ได้อย่างเท่ยงตรง และในศตวรรษเดียวกันนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน
ชื่อ Gottfried Wilhelm Von Leibniz ได้สร้างเครื่องคิดเลขเครื่องแรกที่สามารถคูณและหารได้ด้วย

ภาพที่ 1.2 ตัวอย่างพัฒนาการของไมโครคอมพิวเตอร์ตามยุคต่าง ๆ
ที่มา //computerevolution2-5.blogspot.com

ต้นศตวรรษที่ 19 ชาวฝรั่งเศสชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พัฒนาเครื่องทอผ้าที่สามารถตั้ง





โปรแกรมได้ โดยเคร่องทอผ้าน้ใช้บัตรขนาดใหญ่ซ่งได้เจาะรูไว้เพ่อควบคุมรูปแบบของลายท่จะปัก
บัตรเจาะรู (Punched Card) ที่ Jacquard ใช้นี้ได้ถูกพัฒนาต่อมาโดยผู้เชี่ยวชาญท่านอื่น เพื่อใช้เป็น
อุปกรณ์ป้อนข้อมูลและโปรแกรมเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรก ๆ

ต่อมาในศตวรรษเดียวกัน ชาวอังกฤษช่อ Charles Babbage ได้สร้างเคร่องสาหรับแก้สมการโดย


ใช้พลังงานไอน�้าเรียกว่า Difference Engine และถัดจากนั้นได้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์สมัย

ใหม่ เม่อเขาได้ออกแบบเคร่องจักรสาหรับทาการวิเคราะห์ (Analytical Engine) โดยใช้พลังงานจาก



2 แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 5













ไอนา ซ่งออกแบบใหใชบัตรเจาะรของ Jacquard ในการปอนข้อมูล อุปกรณ์ชนนมหน่วยรับข้อมูล หน่วย
ประมวลผลหน่วยแสดงผล และหน่วยเก็บข้อมูลส�ารอง ครบตามรูปแบบของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ แต่







เนองจากเทคโนโลยในขณะนนไมเอออานวยตอการสรางเครองทสามารถทางานไดจรง Charles Babbage











จึงได้รับยกย่องเป็น “บิดาแห่งคอมพิวเตอร์คนแรก” และผู้ร่วมงานของเขาคือ Augusta Ada Byron
DO NOT COPY
ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็น “โปรแกรมเมอร์” คนแรกของโลก
ภาพที่ 1.3 เครื่อง Difference Engine ของ Charles Babbage และ Augusta Ada Byron
ที่มา //computerevolution9.blogspot.com/2015/03/blog-post_10.html
จากนั้นประมาณปี ค.ศ. 1886 Dr.Herman Hollerith ได้พัฒนาเครื่องจัดเรียงบัตรเจาะรู
แบบ Electromechanical ขึ้นซึ่งท�างานโดยใช้พลังงานไฟฟ้าและสามารถท�าการ จัดเรียง (Sort) และ
คัดเลือก (Select) ข้อมูลได้ ต่อมาในปี ค.ศ.1896 Hollerith ได้ท�าการก่อตั้งบริษัทส�าหรับเครื่องจักร

ในการจัดเรียงชื่อ Tabulating Machine Company และในปี ค.ศ.1911 Hollerith ได้ขยายกิจการ
โดยร่วมหุ้นกับบริษัทอื่นอีกสองบริษัท และได้จัดตั้งเป็นบริษัทComputing Tabulating Recording
Company ซึ่งประสบความส�าเร็จเป็นอย่างมาก และในปี ค.ศ.1924 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น International

Business Corporation หรือที่รู้จักกันต่อมาในชื่อของบริษัท IBM นั่นเอง

ภาพที่ 1.4 เครื่องจัดเรียงบัตรเจาะรูของ Dr.Herman Hollerith
ที่มา //history-computer.com/ModernComputer/Basis/TabulatingMachine_Hollerith.html

6 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ในปี ค.ศ.1939 Dr. Howard H. Aiken จาก Harvard University ได้ร่วมมือกับบริษัท IBM
ออกแบบคอมพิวเตอร์โดยใช้ทฤษฎีของ Babbage และในปี ค.ศ.1944 Harvard Mark I ก็ได้ถือก�าเนิด


ข้นเป็นคอมพิวเตอร์เคร่องแรก ซ่งมีขนาดยาว 5 ฟุต ใช้พลังงานไฟฟ้าและใช้ Relay แทนเฟืองแต่ยัง






ทางานได้ช้าคือใช้เวลาประมาณ 3-5 วินาทีสาหรับการคูณ การพัฒนาท่สาคัญกับ Mark Iได้เกิดข้นปี ค.ศ.
DO NOT COPY
1946 โดย John Preper Eckert, Jr. และ Dr. John W. Muschly จาก University of Pennsylvania
ได้พัฒนาเครื่อง Electronic Numeric Integrator and Calculator หรือ ENIAC ซึ่งท�างานได้เร็วอยู่ใน
หน่วยของหน่งส่วนล้านวินาทีในขณะท่ Mark I ทางานอยู่ในหน่วยของหน่งส่วนพันล้านเท่า โดยหัวใจ




ของความส�าเร็จนี้อยู่ที่การใช้หลอดสูญญากาศมาแทนที่ Relay นั่นเองและถัดจากนั้น Mauchly และ
Eckert ได้พัฒนา UNIVAC ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการค้าเครื่องแรกของโลก

ภาพที่ 1.5 UNIVAC คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการค้าเครื่องแรกของโลก
ที่มา //www.computerhistory.org/revolution/early-computer-companies/5/100







การพัฒนาท่สาคัญได้เกิดข้นมาอีกเม่อ Dr. John Von Neumann ซ่งเป็นท่ปรึกษาของโครงการ

ENIAC ได้เสนอแผนสาหรับคอมพิวเตอร์เคร่องแรกท่จะทาการเก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยความจาท่เหมือน






กับท่เก็บข้อมูลทาให้การเปล่ยนวงจรของคอมพิวเตอร์ทาได้โดยอัตโนมัติแทนการเปล่ยนสวิตช์ด้วยมือ




เหมือนแต่ก่อน นอกจากน้ Neumann ยงได้นาระบบเลขฐานสองมาใช้ในคอมพิวเตอร์ เคร่องคอมพิวเตอร์





เคร่องใหม่ท่ ดร.นิวแมนน์เสนอแนวคิดเพ่อเข้าร่วมทีมสร้างกับมอชลีและเอ็คเคิร์ทน้น เรียกว่าเคร่อง




Electronics Discrete Variable Automatic Computer หรือ EDVAC ซึ่งได้ถูกพัฒนามาเรื่อย ๆ ตั้งแต่


ตอนท่มอชลีและเอคเคิร์ทพัฒนาเคร่อง ENIAC เพ่อนาไปใช้ในการทาสงครามของสหรัฐ จนกระท่งมา




ส�าเร็จลงอย่างสมบูรณ์ในปี ค.ศ.1952 โดยมีรูปแบบตรงตามการออกแบบของ ดร.นิวแมนน์ทุกประการ







ซ่งถือได้ว่าเป็นเคร่องคอมพิวเตอร์ท่สามารถเก็บชุดคาส่งไว้ภายในเคร่องได้และเป็น “เคร่องคอมพิวเตอร์
ตามแนวสถาปัตยกรรมของนิวแมนน์” (John Von Neumann Architecture) อย่างแท้จริง เป็นการ
เปิดโลกคอมพิวเตอร์ยุคใหม่อย่างแท้จริง เขาจึงได้รับยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งคอมพิวเตอร์คนที่ 2”

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 7

DO NOT COPY

ภาพที่ 1.6 Dr. John Von Neumann บิดาแห่งคอมพิวเตอร์คนที่ 2

ที่มา //computerhisto.weebly.com/first-generation.html

1.4 ยุคของคอมพิวเตอร์

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีพัฒนาการอย่างต่อเน่อง ซ่งแบ่งตามส่วนประกอบด้านฮาร์ดแวร์ (Hard-


ware) ออกเป็น 6 ยุคด้วยกัน

ยุคที่ 1 (The First Generation)
ระหว่าง ปี ค.ศ.1951–1958 คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ของ






เคร่องคอมพิวเตอร์ ทาให้ต้องการกาลังไฟฟ้ามาหล่อเล้ยงวงจรท่มีปริมาณมาก และทาให้มีความร้อนมาก

จึงต้องติดตั้งเครื่องในห้องปรับอากาศ ความเร็วในการท�างานเป็นวินาที เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่



ส่อท่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือบัตรเจาะรู ภาษาคอมพิวเตอร์ท่ใช้ในการเขียนโปรแกรมเพ่อควบคุมการทางาน


คือภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้รหัสเลขฐานสอง ท�าให้เข้าใจยาก อุปกรณ์ใช้

หลอดไฟสุญญากาศและวงจรไฟฟ้า หน่วยวัดความเร็ววัดเป็นวินาที (Second) ตัวอย่างเคร่องคอมพิวเตอร์
ในยุคนี้ เช่น MARK I Univac I, IBM 650, IBM 700, IBM 704, IBM 705, IBM 709

ภาพที่ 1.7 คอมพิวเตอร์ยุคใช้หลอดสุญญากาศ และเครื่อง MARK I
ที่มา //sites.google.com/site/comphist101/harvard-mark-i

8 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ยุคที่ 2 (The Second Generation)

ระหว่าง ปี ค.ศ.1959–1964 เคร่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง กินไฟน้อยลง ราคาถูกลง

เพราะมีการประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ข้นมาใช้แทนหลอดสุญญากาศ ทางานได้เร็วข้น ความเร็ว



ในการทางานเท่ากับ 1/103 วินาที (Millisecond) และได้ผลลัพธ์ท่ถูกต้องมากกว่า ทรานซิสเตอร์มีขนาด

DO NOT COPY
เล็กกว่าหลอดสุญญากาศ 200 เท่า ได้มีการสร้างวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic core) มาใช้แทนดรัมแม่

เหล็ก (Magnetic drum) เป็นหน่วยความจาภายในใช้เก็บข้อมูลและชุดคาส่งภาษาคอมพิวเตอร์เป็น




ภาษายุคท่ 2 คือภาษาแอสแซมบล้ (Assembly) ภาษาฟอร์แทรน (Fortran) ซ่งเป็นภาษาท่ใช้สัญลักษณ์






แทนคาส่งต่าง ๆ ทาให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าภาษาเคร่อง ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ยุคน้ ได้แก่ IBM 1620,

IBM 1401, CDC 6600, NCR 315 , Honeywell

ภาพที่ 1.8 แผงวงจรแบบ Transistor และเครื่อง Honeywell Computer
ที่มา //www.computerhistory.org/tdih/september/24/

ยุคที่ 3 (The Third Generation)
ระหว่างปี ค.ศ. 1965–1970 เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนามาใช้วงจรรวม หรือ เรียกว่าไอซี (In-
tegrated Circuit : IC) (ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกบรรจุลงบนแผ่นซิลิคอน (Silicon) ที่ เรียกว่า ซิป

(Chip) ในซิปแต่ละตัวจะประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายพันตัว จึงท�าให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ก
ลงกว่าเดิมมาก และความเร็วในการท�างานก็สูงยิ่งขึ้นเป็น 1/106 วินาที (Microsecond) กินไฟน้อยลง

ความร้อนลดลง ประสิทธิภาพในการท�างานเพิ่มขึ้น แต่ก่อนถูกออกแบบเพื่อใช้กับงานแต่ละอย่าง เช่น
ใช้ในงานค�านวณหรือใช้กับงานธุรกิจ เมื่อคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนามาใช้วงจรรวมก็สามารถใช้กับงานที่ซับ





ซ้อนได้มากข้น IBM 360 เป็นหน่งในคอมพิวเตอร์ท่ใช้วงจรรวมท่สามารถทางานได้ท้งการประมวลผล


แฟ้มข้อมูล และวิเคราะห์ค่าทางคณิตศาสตร์ ต่อมาบริษัท Digital Equipment Corporation (DEC) ได้
มุ่งผลิตคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันกับ IBM มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) จึง
ถูกพัฒนาขึ้นเป็นครั้งแรก ในช่วงยุคที่ 2 และนิยมใช้กันแพร่หลาย DEC ได้แนะน�ามินิคอมพิวเตอร์เครื่อง


แรกคือ PDP1 เป็นหน่งในมินิคอมพิวเตอร์ยุคแรกท่นิยมใช้กันแพร่หลายโดยเฉพาะในกลุ่มของ

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 9


นักวิทยาศาสตร์ นักวิศวกร และนักวิจัยตามมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ก็เกิดข้น โปรแกรม




มาตรฐานได้ถูกเขียนข้นเพ่อใช้งานกับคอมพิวเตอร์ท่เป็นวงจรรวม ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคน้คือ
COBOL, PL/1, RPG, BASIC ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ เช่น IBM 360, CDC3300, UNIVAC9400 BUR-
ROUGH7500, PDP1
DO NOT COPY

ภาพที่ 1.9 ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ IBM System 360
ที่มา //www.ibm.com/ibm/history/exhibits/mainframe/mainframe_PP2044.html

ยุคที่ 4 (The fourth Generation)
ระหว่างปี ค.ศ.1971 ในยุคน้ได้มีการพัฒนาเอาวงจรรวมหลาย ๆ วงจรมารวมเป็นวงจรขนาดใหญ่

เรียกว่า Large Scale Integrated (LSI) ลงในซิปแต่ละอัน บริษัท Intel ได้สร้างไมโครโปรเซสเซอร์
(Microprocessor) ซ่งเป็นซิปท่ประกอบด้วยวงจรท้งหมดท่ต้องใช้ในการประมวลผลโปรแกรม ไมโคร




โปรเซสเซอร์ซิปที่ใช้ในเครื่อง PC มีขนาดกะทัดรัดประกอบด้วยส่วนประกอบของ ซีพียู (CPU) 2 ส่วน
คือ หน่วยควบคุม (Control Unit) และหน่วยค�านวณและตรรกะ (Arithmetic / Logic Unit) ปัจจุบัน
ได้มีการสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายหมื่นวงจรรวมอยู่ในซิปเดียว เป็นวงจร Large Scale Integrated

(LSI) และ Very Large Scale Integrated (VLSI) ในยุคนี้ได้มีการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งขนาดเล็ก
ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ได้แก่ ไมโครคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และซุปเปอร์

คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รับความนิยมมากเพราะมีขนาดเล็ก กะทัดรัดและ
ราคาถูกแต่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ท�างานเร็วขึ้น โดยมีความเร็วในการท�างานเป็น 1 วินาที (Nano-
109
second) และ 1 1012 วินาที (Picosecond) นอกจากนี้วงจร LSI ยังได้ถูกน�าไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์



ขนาดใหญ่เป็นการลดค่าใช้จ่ายพร้อมกับเพ่มประสิทธิภาพในการทางาน ตัวอย่างภาษาคอมพวเตอร์ใน
ยุคนี้คือ PASCAL,C ตัวอย่างเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคนี้ เช่น IBM 370

เน่องจากการเพ่มความจุของหน่วยบันทึกข้อมูลสารอง ซอฟต์แวร์ชนิดใหม่ได้พัฒนาข้น เพ่อให้




สามารถเก็บรวมรวบและบันทึกแก้ไขข้อมูลจานวนมหาศาลท่ถูกจัดเก็บไว้น่นคือ ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล








(Database) นอกจากน้ ยังมีการถือกาเนิดข้นของเคร่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปี 1975 คือเคร่อง

10 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Altair ซึ่งใช้ชิฟ Intel 8080 และถัดจากนั้นก็เป็นยุคของเครื่องตามล�าดับ ในส่วนของซอฟต์แวร์ก็ได้มี
การพัฒนาให้เป็นมิตรกับผู้ใช้ มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งมีการน�าเทคนิคต่าง ๆ เช่น
Object Oriented Programming หรือ OOP และ Visual Programming มาเป็นเครื่องมือช่วย การ

พัฒนาที่ส�าคัญในยุคนี้คือการพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ท�าให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อม
DO NOT COPY
โยงและแลกเปลี่ยนกันได้ภายในองค์กร ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Networks) ซึ่งนิยมเรียก

ว่า LAN จะมีบทบาทในการเชื่องโยงเครื่องนับร้อยเข้าด้วยกันในพื้นที่ไม่ห่างไกลกันนัก ส่วนระบบเครื่อง
ข่ายระยะไกล (Wide Area Networks ) หรือ WAN จะท�าหน้าที่เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่าง
ไกลคนละซีกโลกเข้าด้วยกัน

ภาพที่ 1.10 ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 IBM 370 และระบบ LAN
ที่มา //imgur.com/r/mechanicalkeyboards/TeKd1

ยุคที่ 5 (The Fifth Generation)
ระหว่างปี ค.ศ.1980–1989 ยุคนี้เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ได้มีการใช้คอมพิวเตอร์
เพื่อช่วยในการบริหารจัดการ การสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร จึงเกิดสาขา Management In-



formation System หรือ MIS ข้นในปี ค.ศ.1980 ญ่ปุ่นได้พยายามท่จะสร้างเคร่องคอมพิวเตอร์ให้


สามารถคิดและตัดสินใจแทนมนุษย์ได้ จึงเกิดสาขาใหม่ขึ้นเรียกว่า สาขาปัญญาประดิษฐ์ (Artificial In-
telligence) เป็นสาขาที่เน้นถึงความพยายามในการน�าเอากระบวนการทางความคิดของมนุษย์มาใช้ใน

การแก้ปัญหาด้วยระบบคอมพิวเตอร์ มีความต่นตัวในการจัดเก็บข้อมูลเป็นระบบฐานข้อมูลขององค์กร

(Database) การนาคอมพิวเตอร์มาใช้กับงานทางด้านกราฟิก และการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software) เพ่อ

ใช้กับงานเฉพาะด้าน เช่น งานการเงิน งบประมาณ งานบัญชี งานสต๊อกสินค้า เป็นต้น

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 11

DO NOT COPY

ภาพที่ 1.11 ตัวอย่างการน�าระบบ MIS มาใช้กับการบริหารสถานศึกษา

ที่มา //suthakornblog.wordpress.com/2016/10/26/mis/

ยุคที่ 6 (Sixth Generation)
ทั้ง 5 ยุคที่ผ่านมา พัฒนาการต่าง ๆ เป็นไปในทางการปรับปรุงการผลิต และการเสริมสร้าง

ความสามารถทางด้านการคานวณของคอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ ซ่งเป็นการจากัดความสามารถทางด้าน


การป้อนข้อมูล จากปี ค.ศ.1990 ถึงปัจจุบัน ความต้องการทางด้านการป้อนข้อมูลโดยการใช้เสียงและ
ภาพซ่งถือเป็นการป้อนข้อมูลอย่างธรรมชาติโดยผู้ใช้เอง คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่จะไม่เป็นเพียงแค่เคร่อง


ค�านวณเท่านั้น แต่มีการประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม เทคโนโลยี การศึกษา
การแพทย์ การติดต่อระหว่างประเทศ เป็นต้น ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 6 ที่เด่น ๆ และ
ก�าลังพัฒนาต่อเนื่อง เช่น

1. การพัฒนาปัญญาให้คอมพิวเตอร์ เพื่อน�าเป็นผู้ช่วยของมนุษย์ สามารถโต้ตอบด้วยภาษา
พูด การเก็บข้อมูลความรู้ การน�าความรู้ไปใช้ และค้นหาความรู้จากข้อมูลมหาศาลและอื่น ๆ

2. การลดความยากล�าบากในการผลิตซอฟต์แวร์ เป็นการพัฒนาทางด้านการเขียนโปรแกรม
พัฒนาภาษาของโปรแกรมให้ง่ายขึ้น วิธีการใช้งาน การติดต่อกับผู้ใช้อื่นง่ายและสะดวกขึ้น

ภาพที่ 1.12 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่าง ๆ ที่สะดวกสบาย รวดเร็ว ประหยัด
ที่มา //www.whatcar.co.th/33701/mg-ismart-technology/

12 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.5 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์

DO NOT COPY

ภาพที่ 1.13 คุณลักษณะและการใช้งานคอมพิวเตอร์กับงานต่าง ๆ

ที่มา www.rasilnews.com/menkeu-teknologi-adalah-peluang-bukan-ancaman

มนุษย์ได้มีการน�าคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องมือเพื่อใช้งานในด้านต่าง ๆ มากมายนับไม่ถ้วน นั่น

เป็นเพราะคอมพิวเตอร์มีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติที่ส�าคัญ ๆ สรุปได้ ดังนี้
1. ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้เร็ว ท�าให้ผลิตงานได้เร็วขึ้น งานปริมาณมาก


ข้น ถ้าหากใช้แรงงานคนอาจต้องใช้หลายคน ใช้เวลาหลายวันหรือหลายสัปดาห์เพ่อให้งานเหล่าน้นลุล่วง



คอมพิวเตอร์ช่วยให้สืบค้นข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ทาให้ผู้บริหารสามารถนาสารสนเทศท่ต้องการไป


ประกอบการตัดสินใจได้ทันต่อเหตุการณ์
2. ความน่าเช่อถือ (Reliability) ผลลัพธ์จากการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ย่อมมีอัตราความ

ผิดพลาดต�่าหรืออาจไม่มีความผิดพลาดใด ๆ เลย ท�าให้เกิดความน่าเชื่อถือ และความมั่นใจสูง
3. ความเที่ยงตรงและแม่นย�า (Accuracy) คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่
ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องแม่นย�า ต่างกับมนุษย์เมื่อท�างานซ�้า ๆ เป็นเวลานาน ย่อมเกิดการผิดพลาดได้ เช่น

คานวณตัวเลขผิด กรอกข้อมูลผิด แต่คอมพิวเตอร์ไม่สามารถแยกแยะได้ว่าข้อมูลใดผิดถูก ดังคาท่ว่า เม่อ



น�าขยะป้อนให้คอมพิวเตอร์ผลลัพธ์ที่ได้ก็คือขยะ (Garbage In, Garbage Out)
4. จัดเก็บข้อมูลได้ปริมาณมาก (Storage) ฮาร์ดดิสก์ที่มีขนาดความจุ 1 กิกะไบต์ สามารถจัด
เก็บข้อมูลได้ประมาณหนึ่งพันล้านตัวอักษร ปัจจุบันมีความจุมากกว่า 1,000 กิกะไบต์ อุปกรณ์จัดเก็บ


ข้อมูลก็มีขนาดเล็กลงแต่จัดเก็บข้อมูลได้มากข้น และสามารถเคล่อนย้ายข้อมูลมหาศาลน้นได้อย่าง

ง่ายดายและรวดเร็ว เช่น Flash Drive รุ่นต่าง ๆ

5.การส่อสารและทางานเป็นเครือข่าย (Communications and Networking) คอมพิวเตอร์


จานวนมากถูกเช่อมโยงเข้าด้วยกันด้วยระบบเครือข่าย ทั้งในองค์กรและภายนอกด้วยเครือข่าย

อินเตอร์เน็ต ท�าให้เราสามารถติดต่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ทั่วโลกในชั่วพริบตา

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 13

1.6 บทบาทของคอมพิวเตอร์ต่อวิถีชีวิต


คอมพิวเตอร์กลายเป็นเคร่องมือในการทางาน และกลายเป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนินชีวิตไป


แล้ว และมีมากมายจนไม่อาจกล่าวได้ครบรอบด้าน จึงสรุปเป็นประเด็น ๆ ดังนี้
1. ชีวิตประจ�าวัน เช่น ดูข่าว อ่านข่าว ฟังเพลง ดูคลิปท�าอาหาร การรักษาสุขภาพ การเรียนรู้
DO NOT COPY
การแก้ไขปัญหา การพูดคุยกับเพ่อนซ่งเป็นวิถีชีวิตส่วนตัวของแต่ละคนโดยไม่เก่ยวกับการงานมากนัก



อันเกิดจากคอมพิวเตอร์ยุค 4G
2. ด้านการศึกษา สถานศึกษาต่าง ๆ ได้น�าคอมพิวเตอร์มาใช้งาน 3 ลักษณะคือ
- ส�าหรับผู้เรียน ใช้เพื่อค้นหาความรู้ข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ตลอดถึงการสอบ เช่น
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน e-Learning, e-Library, e-Classroom, e-Testing เป็นต้น



- สาหรับผู้สอน ใช้เพื่อเป็นส่อในการถ่ายทอดความรู้ ผลิตส่อการสอน จัดการระบบ

e-Learning, e-Library, e-Classroom, e-Testing เป็นต้น
- ส�าหรับการบริหารจัดการสถานศึกษา ซึ่งมีทั้งคน งบประมาณ อาคารสถานที่ พาหนะ น�า
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารการจัด
เก็บข้อมูลสถานศึกษาและผู้เรียน การประเมินผลการเรียน และเผยแพร่ผลงาน เป็นต้น

3. ด้านการสื่อสาร คอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารได้ทั้งภาพ เสียง วิดีโอสด ๆ พร้อมทั้งการแลก

เปล่ยนข้อมูลกันและกันอย่างทันทีทันใดพร้อมกันหลาย ๆ จุดท่วโลกผ่านอินเทอร์เน็ต ทาให้เพ่อน พ่น้อง




และธุรกิจเป็นไปอย่างสะดวก เช่น Chat Line Messenger Webboard Video Call เป็นต้น

4. ด้านการบรหารประเทศ รัฐบาลหรือราชการยุคใหม่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการ
บริหารด้านต่าง ๆ เพื่อบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกสบาย โปร่งใส เอกสารไม่ผิดพลาด และ
บริการอย่างรวดเร็ว เช่น ระบบ e-Government, e-Filing การช�าระภาษีผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
5. ด้านสังคมศาสตร์ มีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเก็บข้อมูล และช่วยท�าการวิจัยเกี่ยวกับผลก
ระทบทางสังคมด้านต่าง ๆ ท�าให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตและความเป็นอยู่ได้ง่ายยิ่งขึ้น เช่น การจัดท�า

สถิติในรูปแบบกราฟแสดงประชากร




6. ด้านวิศวกรรม มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้เกือบทุกข้นตอนของการทางาน เพ่อความถูกต้อง
แม่นย�า งานได้มาตรฐานในระดับสากล ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผลงานด้านวิศวกรรม
7. ด้านวิทยาศาสตร์ มีการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้เก็บข้อมูล
และส่งเสริมการทางานให้แม่นยาและรวดเร็วมากย่งข้น เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตรวจสอบ




ส่วนประกอบของธาตุการตรวจ วัด ชั่ง ตวง ที่ต้องการความถูกต้องแม่นย�าต่าง ๆ







8. ดานการแพทย เครื่องมือการแพทยสมัยใหมตองมีระบบคอมพิวเตอรเปนสวนประกอบเพื่อ

ช่วยวางแผนการรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยลดความเส่ยงในการรักษาผู้ป่วย ช่วยให้ข้อมูลและ

ช่วยวินิจฉัยโรค รวมถึงการแพทย์ทางไกลช่วยเหลือผู้ป่วยที่ห่างไกลได้ด้วย

14 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

9. ด้านอุตสาหกรรม คอมพิวเตอร์ถูกน�ามาช่วยในการท�างานของเครื่องจักร เกือบทุกขั้นตอน
ตั้งแต่การน�าเข้าวัตถุดิบ การค�านวณวัตถุดิบ กระบวนการผลิต ระยะเวลาที่ใช้ในการผลิต คุณภาพ
และมาตรฐานผลผลิต การตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค และช่วยให้มนุษย์ไม่ต้องท�างานใน

สภาวะที่เสี่ยงต่ออันตราย
DO NOT COPY
10. ด้านธุรกิจ คอมพิวเตอร์ได้ถูกนามาใช้ในงานด้านธุรกิจ งานบริหารสานักงาน การเงิน บัญช ี


ฐานข้อมูลสินค้า ฐานข้อมูลลูกค้า และการบริการลูกค้า เป็นต้น ปัจจุบันได้เกิดระบบ e-Commerce
ขึ้น คอมพิวเตอร์ก็ได้ถูกน�ามาใช้ในการวางแผน การประเมินสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ การน�าเสนอ ซื้อ
ขาย สินค้าผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น


11. ด้านการเงินการธนาคาร สานักงานของธนาคารต้องใช้คอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูลลูกค้า
ประมวลผล การฝากเงิน การถอนเงิน ตู้เอทีเอ็ม ตลอดถึงระบบ e-Banking และอัตราดอกเบี้ย ซึ่ง

จ�าเป็นต้องมีการประมวลผลแบบทันที และถูกต้องแม่นย�าสูงสุด

12.ด้านสานักงาน ไม่ว่าจะเป็นสานักงานของหน่วยงานรัฐหรือเอกชน จาเป็นต้องมีคอมพิวเตอร์


เพื่อจัดท�าเอกสาร งานน�าเสนอ ฐานข้อมูล การเก็บข้อมูล การค�านวณการจัดการข้อมูล การประมวล
ผลและนาเสนอข้อมูล เพ่อช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร เป็นต้น ซ่งทาให้จัดการงานต่าง ๆในสานักงาน





ให้มีคุณภาพ ประหยัดเวลา และประหยัดทรัพยากรได้ดียิ่งขึ้น
13. ด้านความมั่นคงและความปลอดภัย ได้มีการน�าคอมพิวเตอร์มาใช้ในด้านการทหาร อาวุธ
ยุทโธปกรณ์ และการรักษาชายแดน เป็นต้น ในขณะที่ภายในประเทศองค์การด้านต�ารวจก็น�ามาบันทึก
ตรวจสอบหรือติดตามผู้ต้องสงสัย เก็บประวัติอาชญากร การพิสูจน์หรือการตรวจสอบดีเอ็นเอผู้กระท�า
ผิด รวมถึงการติดต้งระบบกล้องวงจรปิดตรวจตราความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

เป็นต้น

14. ด้านคมนาคม ภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันมีการใช้ระบบเครือข่ายเพื่อการน�าทาง

การขนส่ง คมนาคมเป็นอย่างมาก ทาให้เกิดระบบแผนท่บอกเส้นทาง ระยะเวลาเดินทาง การจราจร เส้น

ทางลัด เป็นต้น นอกจากนี้ยังบอกถึงภูมิประเทศ สิ่งแวดล้อม รวมถึงภูมิอากาศส�าหรับประชาชนได้อย่าง
แม่นย�า เช่น ระบบ Google Earth, Google Map, m-Traffic เป็นต้น

15. ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม คอมพิวเตอร์มีบทบาทในการเก็บรักษา การศึกษาค้นคว้า
และการสร้างสื่อเพ่อสืบสานและการเผยแผ่ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมให้คงอยู่และแพร่หลายต่อไป เช่น พระ

ไตรปิฎกซีดี-รอม ภาษาไทย-บาลี-อังกฤษแหล่งเรียนรู้ธรรมะออนไลน์ต่าง ๆ

16. ด้านความบันเทิง แบ่งได้ 2 ลักษณะได้แก่
1) เพลงและภาพยนตร์ มีผู้นิยมฟังเพลงและดูภาพยนตร์ผ่านคอมพิวเตอร์ หรือ Tablet




มากข้น เน่องจากสะดวก ประหยัด คุณภาพของภาพและเสียงเทียบเท่ากับส่ออ่น ๆ ท้งยังสามารถ


ดาวน์โหลดเพลงและตัวอย่างภาพยนตร์จากอินเทอร์เน็ตได้ หรือจะสร้างภาพยนตร์แอนิเมชันเองก็ได้

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 15

2) เกมคอมพิวเตอร์ มีการติดตั้งเกมไว้ในคอมพิวเตอร์เพื่อเล่นคนเดียว หรือการเล่นหลาย
คนผ่านเครือข่ายหรือเกมออนไลน์ที่สามารถเล่นพร้อม ๆ กันได้หลายคน จากหลาย ๆ ที่

1.7 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่
DO NOT COPY
จากการส�ารวจหรือจัดอันดับแนวโน้มของเทคโนโลยีในปี 2018 (Technology Trends 2018)

ของสื่อหลายส�านัก พบว่า การใช้นวัตกรรมดิจิทัลจะเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจ�าวัน การด�าเนินธุรกิจ
ปรับรูปแบบอุตสาหกรรมต่าง ๆ อาจส่งผลให้การจ้างงานมนุษย์ลดลง ที่น่าสนใจดังนี้
1. ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence: AI)

ภาพที่ 1.14 ตัวอย่างปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence: AI)
ที่มา //bigdata.black/training/tutorials/what-is-artificial-intelligence/

ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรือ AI หมายถึง ความฉลาดเทียมที่สร้างขึ้นให้กับ



ส่งท่ไม่มีชีวิต สามารถเลียนแบบพฤติกรรมมนุษย์ หรือมีศักยภาพในการทางานคล้ายหรือเทียบเท่ากับ
มนุษย์ ค�านิยามของ AI ตามความสามารถที่มนุษย์ต้องการแบ่งได้ 4 กลุ่ม คือ การกระท�าคล้ายมนุษย์
(Acting Humanly) การคิดคล้ายมนุษย์ (Thinking Humanly) การคิดอย่างมีเหตุผล (Thinking Ra-
tionally) การกระท�าอย่างมีเหตุผล (Acting Rationally)

สรุปว่า AI ก็คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง มีความเข้าใจ สามารถวางแผน

คิด และวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ด้วยเหตุและผล จนสามารถสนทนาตอบโต้ได้อย่างดี สามารถจดจ�าสิ่งที่ผ่าน

มาเป็นบทเรียนได้อย่างลึกซึ้ง ตลอดจนความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ สามารถปรับเปลี่ยนตัวเองให้
สอดคล้องกับข้อมูลใหม่ ๆ ได้ การพัฒนามีหลายรูปแบบตามภาระงานของแต่ละองค์กร ความก้าวหน้า



และผลสาเร็จของ AI จะช่วยให้ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของโลกอินเทอร์เน็ตถูกนามาใช้ประโยชน์มากข้น
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการท�างาน หรือโอกาสทางธุรกิจ

16 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. โลกกึ่งเสมือนจริง (Augmented Reality: AR)

DO NOT COPY

ภาพที่ 1.15 ตัวอย่างโลกกึ่งเสมือนจริง (Augmented Reality) หรือ AR

ที่มา //www.dezeen.com/2013/08/05/ikea-launches-augmented-reality-catalogue/

โลกกึ่งเสมือนจริง (Augmented Reality) หรือ AR เป็นเทคโนโลยีที่ผสมผสานระหว่างความ

เป็นจริง (Real World) เข้ากับโลกเสมือนที่สร้างขึ้น (Virtual World) โดยใช้วิธีซ้อนภาพ เสียง วิดีโอ
ในโลกเสมือนบนภาพที่เห็นในโลกความเป็นจริงผ่านซอฟต์แวร์ และอุปกรณ์เชื่อมต่อต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น


แว่นตา AR ซ่งช่วยให้ผู้ท่ทางานคลังสินค้าสามารถจัดระเบียบสินค้าได้อย่างถูกต้องแม่นยา หรือช่วยผู้




ผลตในการประกอบเครองบน และช่วยในงานซ่อมแซมไฟฟ้า รวมไปถึงการออกกาลงกายในลู่ว่ง เมอ












สวมแว่น VR จะทาให้การว่งน้นมองเห็นวิวทิวทัศน์ในสถานท่ท่เราต้องการได้อย่างเป็นธรรมชาติ ปัจจุบัน


ยังมีการนาAR มาใช้พัฒนาในรูปแบบต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย ไม่ว่าจะเป็นท้งด้านความบันเทิง เกมส์ และ
กิจกรรมต่าง ๆ
3. โลกเสมือนจริง (Virtual Reality: VR)

ภาพที่ 1.15 ตัวอย่างโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) หรือ VR

ที่มา www.grutube.com/youtubelibrary/youtube-news/google-มุ่งเป้าไปที่-virtual-reality-vr
โลกเสมือนจริง (Virtual Reality) หรือ VR เป็นเทคโนโลยีการจ�าลองภาพสามมิติ หรือสภาพ

แวดล้อมที่เสมือนจริงผ่านระบบคอมพิวเตอร์ โดยต้องใช้งานผ่านอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อให้ได้ยินเสียงรอบ



ทิศทางภายในพ้นท่ท่กาหนด หากมองผิวเผินอาจจะดูใกล้เคียงกับ AR แต่จริง ๆ แล้วมีความต่างกันอย่าง

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 17

ชัดเจน ไม่ว่าจะวิธีการใช้หรือรูปแบบที่น�าไปใช้ AR เป็นเทคโนโลยีซ้อนภาพที่เห็นในจอให้กลายเป็นวัตถุ
3 มิติอยู่บนพื้นผิวจริง แต่ VR เป็นสิ่งที่อยู่ในโลกเสมือนเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ร่างกายเพียงตอบสนอง




กับส่งท่เห็นเพ่อฝึกฝนหรือเพ่อความบันเทิง โดยไม่มีการซ้อนกันของโลกความเป็นจริงแต่อย่างใด เช่น
การท�าเครื่อง VR เพื่อฝึกบินเครื่องบินรุ่นต่าง ๆ ช่วยลดต้นทุนจากการฝึกบินบางส่วน หรือการฝึกผ่าตัด
DO NOT COPY
ของแพทย์เพื่อความเชี่ยวชาญ เป็นต้น
4. บล็อกเชน (Blockchain)

ภาพที่ 1.16 ตัวอย่างระบบ Blockchain

ที่มา //www.intheblack.com/articles/2018/03/22/blockchain-future-record-keeping


บล็อกเชน (Blockchain) เป็นเทคโนโลยีการร้อยต่อข้อมูลเข้าไว้ด้วยกันเป็นฐานข้อมูลท่มีการ
จัดการชุดข้อมูลที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสอบความถูกต้อง ความปลอดภัยซึ่งกันและกัน
ตลอดชุดของข้อมูล Blockchain เป็นรูปแบบการเก็บข้อมูล (Data Structure) แบบหนึ่ง ที่ท�าให้ข้อมูล

Digital Transaction ของแต่ละคนสามารถแชร์ไปยังทุก ๆ คนได้ เป็นเสมือนห่วงโซ่ (Chain) ที่ท�าให้


Block ของข้อมูลส่งต่อ (links) ไปยงทุกคน โดยทราบว่าใครเป็นเจ้าของและมสทธในข้อมลนั้นจริง ๆ






เม่อบล็อกของข้อมูลได้ถูกบันทึกไว้ใน Blockchain จะเข้าไปเปล่ยนแปลงยากมาก เม่อเกิดการแก้ไข หรือ
เพิ่มข้อมูล ทุกคนในเครือข่ายรับรู้การแก้ไขนั้น ๆ และสามารถรัน Algorithm เพื่อตรวจสอบ Transac-
tion โดย Transaction ใหม่นี้จะได้รับอนุญาตต่อเมื่อในเครือข่ายส่วนใหญ่เห็นด้วยว่ามันถูกต้อง Block-
chain เร่มเป็นท่รู้จักเม่อถูกนามาใช้ในรูปของ Bitcoin หรือเงินเสมือนจริง ด้วยรูปแบบการบันทึกทุก





กล่องเป็นสาเนาข้อมูลเหมือนกันหมด ทาให้มีความปลอดภัยมากกว่าการบันทึกด้วยมนุษย์หรือเคร่องมือ


บันทึกใด ๆ ที่มีอยู่เดิม วงการเทคโนโลยี และกลุ่มธุรกิจการเงิน ธนาคาร เชื่อว่า Blockchain จะเป็น
นวัตกรรมทางการเงินที่มีความปลอดภัยและรวดเร็วมากกว่าเทคโนโลยีการเงินที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

18 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

5. โดรน (Drones)

DO NOT COPY

ภาพที่ 1.17 ตัวอย่างโดรน (Drones) อากาศยานไร้คนขับ

ที่มา //www.droneshopcanada.ca/products/matrice-210

โดรน (Drones) เป็นอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicles: UAVs) โดยใช้เทคโนโลย ี




บังคับเคร่องบินแทนมนุษย์ ปัจจุบันโดรนถูกพัฒนาให้ใช้งานในกลุ่มอุตสาหกรรมท่เก่ยวกับโครงสร้างพ้น

ฐานและการบินส�ารวจพื้นที่การเกษตร การดูแลพื้นที่ต่าง ๆ การทหาร การรักษาความปลอดภัย ความ
มั่นคง การช่วยเหลือผู้ประสบภัย การถ่ายภาพเคลื่อนไหว ถ่ายทอดสด การถ่ายภาพมุมสูง การส�ารวจ
การเฝ้าระวัง การขนส่ง เป็นต้น เช่น เดิมใช้เครื่องบินใส่ปุ๋ยและยาพืชไร่ เปลี่ยนมาเป็นโดรนที่บรรทุกปุ๋ย



และยาบินเข้าพ้นท่แบบอัตโนมัติตามโปรแกรมการบินท่ต้งไว้อย่างไม่หลงลืม สามารถขนส่งทางอากาศท ี ่

บินในระยะไกลได้มากข้น ท้งขนส่งได้คนและส่งของ โดรนสามารถเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ภาพหรือ



ข้อมูลได้ เช่น วิเคราะห์ผลกระทบทางส่งแวดล้อม (Environmental Impacts) ในบริเวณน้น ๆ วิเคราะห์


เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เป็นต้น
6. อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง (Internet of Things : IoT)

ภาพที่ 1.18 ตัวอย่างแนวคิดเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง (Internet of Things) หรือ IoT

ที่มา //www.paxus.com.au/blog/impact-internet-things-iot/

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 19

อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง (Internet of Things) หรือ IoT คือการที่สิ่งต่าง ๆ ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน



หรือส่อสารระหว่างกันผ่านเซนเซอร์ ซอฟต์แวร์ หรือระบบเช่อมต่อเครือข่าย เพ่อให้สามารถจัดเก็บ
รวบรวม แลกเปลี่ยนข้อมูลโดยไม่ต้องผ่านมนุษย์ หรือท�าให้มนุษย์สามารถสั่งการและควบคุมการใช้งาน
อุปกรณ์ เครื่องมือ หรือยานพาหนะต่าง ๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ เช่น การสั่งเปิด-ปิด อุปกรณ์
DO NOT COPY



เคร่องใช้ไฟฟ้า โทรศัพท์มือถือ เคร่องใช้สานักงาน เคร่องมือทางการเกษตร เคร่องจักรในโรงงาน



อุตสาหกรรม บ้านเรือน เคร่องใช้ในชีวิตประจาวัน IoT ถูกนามาใช้งานกับหน่วยการผลิตของโรงงาน



อุตสาหกรรมเพ่อช่วยวิเคราะห์ข้อมูล ประหยัดต้นทุน และควบคุมความปลอดภัย โดยคาดหวังกันว่า IoT
จะช่วยลดเวลาการจัดการท้งหมดของมนุษย์ รวมไปถึงการดูแลความเป็นอยู่ของมนุษย์ให้มีความปลอดภัย

สะดวก และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
7. หุ่นยนต์ (Robots)

ภาพที่ 1.19 ตัวอย่างหุ่นยนต์ในรูปแบบต่าง ๆ
ที่มา //spectrum.ieee.org/automaton/robotics/home-robots/robot-gift-guide-2018

หุ่นยนต์ (Robots) คือหุ่นที่มีรูปร่างหลาย ๆ รูปแบบที่ถูกขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง


หรือหลาย ๆ อย่าง ตามท่ผู้ผลิตกาหนดไว้ในโปรแกรมภายในหุ่นยนต์ เช่น เพ่อทดแทนแรงงานในอนาคต

เพื่อเข้ามาช่วยการท�างานของมนุษย์เนื่องจากงานบางชนิดงานที่ต้องท�างานซ�้า ๆ งานในโรงงานที่มีการ
ยกของจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง หรือท�างานซ�้าแบบเดิมตามไลน์การผลิต จนเกิดปัญหาสุขภาพของผู้ใช้

แรงงาน หรือแม้กระท่งเกิดภาวะขาดแคลนแรงงาน หุ่นยนต์สามารถเข้าไปทางานแทนมนุษย์ในท่มีความ





เส่ยงสูง เช่น การดับเพลิง กู้ภัย หรือการบริการท่วไป เช่น การเสิร์ฟอาหาร ดูแลผู้ป่วย หุ่นยนต์มีโปรแกรม
การท�างานที่หลากหลาย ทั้งยังสามารถเรียนรู้ จดจ�า และท�าตามค�าสั่งที่วางเอาไว้ได้ สามารถเคลื่อนไหว
ได้คล้ายกับมนุษย์ ซึ่งอาจส่งผลให้การจ้างงานมนุษย์ในอนาคตอาจลดลง

20 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

8. การพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing)

DO NOT COPY

ภาพที่ 1.20 ตัวอย่างการพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing)

ที่มา //www.techhoodoo.com/2016/02/3d-print-your-ideas-with-shaperjet-3d.html

การพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing) เป็นการสร้างชิ้นงานจากวัสดุเหลวให้ขึ้นรูปเป็นแบบ 3 มิติจาก

เครื่องพิมพ์ โดยการพิมพ์วัสดุทีละชั้นอย่างต่อเนื่อง เครื่องพิมพ์ 3 มิติ (3D Printer) สามารถสร้างชิ้นงาน
จากวัสดุหลากหลายทั้งพลาสติก ยาง โลหะ ไนล่อน อัลลอย เป็นต้น เครื่องพิมพ์แต่ละแบบจะแตกต่าง






กันบ้างแต่หลักการพ้นฐานยังเหมือนเดิม คือข้นรูปช้นงานโดยการเติมเน้อวัสดุทีละช้น ค่อย ๆ ข้นรูปวัสด ุ




ตามท่ต้องการไปทีละข้นตอน เหมาะสาหรับนักออกแบบเพราะใช้เวลาไม่นานแบบท่ร่างไว้ในคอมพิวเตอร์
ก็จะถูกพิมพ์ออกมาเป็นโมเดล 3 มิติ ที่จับต้องได้ ไม่จ�ากัดจ�านวน และรวดเร็ว สามารถตอบโจทย์หลาย
ธุรกิจหลายด้าน ทั้งการศึกษา (Education) การออกแบบ (Design) ยานยนต์ (Automotive) วิศวกรรม
(Engineering) สถาปัตยกรรม (Architecture) แพทย์และทันตกรรม (Medical & Dental) แฟชั่นและ
เครื่องประดับ (Fashion & Jewelry) การบินและอวกาศ (Aerospace) อาหาร (Food) เป็นต้น
9. Chatbot & Conversational Platform

ภาพที่ 1.20 ตัวอย่างระบบ Chatbot & Conversation Platform ที่ได้รับความนิยม
ที่มา //teks.co.in/site/blog/top-12-tips-to-choose-the-best-chatbot-platform/

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 21










ภาษามนุษย์ทงในรปแบบของการพมพ์และการพูดน้นเร่มกลายเป็นสงจาเป็นทใช้โต้ตอบกับระบบ




IT และอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างจริงจังแล้ว PC Notebook และ Mobile ท่ใช้กันทุกวันน้ก็มีฟังก์ชันรองรับ
ภาษาอังกฤษกันทุกอุปกรณ์ ปัญหาด้านก�าแพงภาษาจะถูกปรับปรุงให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ เทคโนโลยีนี้จะเป็น
พื้นฐานใน Application ต่าง ๆ ในอนาคต ท�าให้เราไม่ต้องกดปุ่มหรือสัมผัสหน้าจออีกต่อไป แต่สามารถ
DO NOT COPY
ใช้เสียงส่งการหรือพิมพ์ข้อความได้เลย องค์กรต่าง ๆ อาจนาเทคโนโลยีน้ไปใช้เป็นผู้ช่วยเสมือนในการ






ทางานด้วยระบบต่าง ๆ สาหรับพ่อค้าแม่ค้าหากจะเลือกใช้สาหรับค้าขาย ก็อาจต้องพิจารณาด้วยว่าม ี
ระบบ Chatbot ให้ใช้งานในระดับใด ตั้งค่าเองได้ง่ายแค่ไหน ช่วยลดภาระได้มากน้อยเพียงใด ช่วยเพิ่ม
ยอดขายได้หรือไม่ Chatbot กลายเป็นส่วนหนึ่งของความส�าเร็จครั้งใหญ่ในระบบ e-Commerce ของ
Alibaba การออกแบบ Interface ต้องท�าให้เสมือนว่าเป็นมนุษย์มาพูดคุยกัน และมีความชาญฉลาดใน
การโต้ตอบที่น่าเชื่อถือด้วย
10. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการเงิน (FinTech)

ภาพที่ 1.21 ตัวอย่างระบบเทคโนโลยีเกี่ยวกับการเงิน (FinTech)

ที่มา //financialtribune.com/articles/world-economy/79492/fintech-growing-more-valuable

FinTech มาจากค�าว่า Financial และ Technology แปลตรงตัวได้ว่า เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ








การเงน หรอการนาเทคโนโลยมาประยกต์ใช้ในธรกจการเงน เช่น นวตกรรมต้ ATM ทช่วยให้คนกด





เงินสดได้สะดวกเพียงแค่มีบัตรเครดิต การโอนเงินออนไลน์ เป็นต้น เทคโนโลยีเกี่ยวกับการเงินมีมานาน
แล้ว Credit card คิดค้นตั้งแต่ปี 1950 ตู้ ATM ตั้งแต่ปี 1967 ระบบ Online banking เริ่มตั้งแต่ปี 1980
ส่วน FinTech ก็เป็นพัฒนาการที่ต่อเนื่องมา จะท�าให้ธุรกรรมทางการเงินดีขึ้น เร็วขึ้น ง่ายขึ้น ประหยัด
ขึ้น โครงการใหม่ เช่น Startup ของรัฐบาลท�าให้เทคโนโลยีเข้ามาเปลี่ยนโฉมธุรกรรมด้านการเงิน ท�าให้

ท้งภาครัฐและเอกชนพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ ออกมาบริการประชาชนอย่างต่อเน่อง เช่น National

ePayment เพื่ออ�านวยความสะดวกแก่ Startup

22 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

11. เทคโนโลยีจดจ�าใบหน้า (Face Recognition)

DO NOT COPY

ภาพที่ 1.22 ตัวอย่างเทคโนโลยีจดจ�าใบหน้า (Face Recognition)

ท่มา //newsroom.unsw.edu.au/news/science-tech/human-plus-machine-face-recognition-its-best


เทคโนโลยีจดจ�าใบหน้า (Face Recognition) เป็นระบบการจดจาใบหน้าของมนุษย์ การทางาน

จะมีการแสดงกรอบบนใบหน้าที่ถูกตรวจจับ และโฟกัสสี และค่าการวัดแสงจะถูกปรับโดยอัตโนมัติ แล้ว
บันทึกด้วยคุณภาพสูง ข้อมูลท่ได้จะถูกนาไปเปรียบเทียบกับข้อมูลตัวอย่างท่เก็บบันทึกไว้ อาจจะท้ง







ใบหน้าหรือเพียงบางส่วน ข้นอยู่กับวิธีแยกเอกลักษณ์ของใบหน้า ระบบการจาใบหน้าเป็นเทคโนโลยีหน่ง


ของปัญญาประดิษฐ์ ในส่วนของ Machine perception หรือการรับรู้ของเคร่องน่นเอง โดยท่วไป Face

Recognition จะมีสองขั้นตอนหลักคือ 1) การตรวจจับใบหน้า (Face Detection) เป็นกระบวนการ



ค้นหาใบหน้าของบุคคลจากภาพหรือวีดีโอ หลังจากน้นก็ทาการประมวลผลภาพใบหน้าท่ได้สาหรับข้น


ตอนถัดไป และ 2) การรู้จ�าใบหน้า (Face Recognition) เป็นกระบวนการที่น�าภาพไปตรวจจับประมวล
ผล แล้วน�ามาเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลของใบหน้า เพื่อระบุว่าใบหน้านั้นตรงกับบุคคลใด กลุ่ม Smart
Phone ต่าง ๆ ใช้งานฟีเจอร์นี้จนได้รับความนิยมมาก
12. การพัฒนาระบบที่เขียนโค้ดน้อยที่สุด (Low-code Development Platform)

ภาพที่ 1.23 แนวคิดการพัฒนาระบบที่เขียนโค้ดน้อยที่สุด (Low-code Development Platform)
ที่มา //www.techtalkthai.com/what-is-low-code-development-platform-by-outsystems/

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 23


Low-code Development คือแนวคิดใหม่ท่จะช่วยให้การออกแบบและพัฒนา Application
เป็นไปได้อย่างรวดเร็วโดยมีการเขียนโค้ดน้อยที่สุด ซึ่งจะท�าให้ผู้คนที่แม้จะไม่มีความช�านาญเทคโนโลยี












มากนกสามารถสร้างสรรสงใหมๆให้กับธรกจและองค์กรไดอย่างรวดเรวยงข้นและสามารถปรบเปลยน


ตามความต้องการของผู้ใช้ได้เร็วกว่าการพัฒนาแบบเดิม ระบบหน้าจอการออกแบบระบบจะเป็น Visu-
DO NOT COPY
al Modeling ง่ายต่อการสร้างและกาหนดค่าการทางานให้กับ Application ทาให้นักพัฒนาข้ามข้นตอน




พื้นฐานและการพัฒนาโมดูลที่ซ�้า ๆ ในแต่ละ Application ไปได้ มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาส่วนส�าคัญของ





Application ได้ทนท การสร้าง Application จะมรปแบบหลากหลายขนได้ด้วยตนเอง ไม่ต้องอาศย


Developer ที่เชี่ยวชาญแบบในอดีตต่อไป
13. รวมหลายผู้ให้บริการมาใช้งานร่วมกัน (Multi-Cloud Strategy)

ภาพที่ 1.24 ตัวอย่างการใช้ระบบ Multi-Cloud

ที่มา //www.cloudwebhostingtips.com/multi-cloud-strategy-feasible-paas-saas-iaas/

Multi-Cloud Strategy คือการน�าเทคโนโลยี Cloud จากหลายผู้ให้บริการมาใช้งานร่วมกัน เพื่อ



ปรับให้เหมาะสมกับประเภทของธุรกิจ ทาให้เกิดประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่าย และมความปลอดภัยต่อ
ข้อมูล เนื่องจากผู้ให้บริการแต่ละแห่งมีข้อดีแตกต่างกัน จึงอาจท�าให้ตอบโจทย์ความต้องการของเราไม่

ครบถ้วน แต่เทคโนโลยี Cloud มีความยืดหยุ่นทาให้เราเลือกนาข้อดีของแต่ละผู้ให้บริการมาประยุกต์ใช้

กับองค์กรของเราได้ จึงเป็นทางเลือกการใช้เทคโนโลยีท่เหมาะสมอย่างแท้จริง ตัวจัดการเรียกว่า 360

Data Management ที่มีความสามารถ 3 ด้าน คือ 1) ท�าให้เห็นภาพของข้อมูลในมุมกว้าง สามารถ
เปล่ยนข้อมูลสารองท่มีอยู่แบบเดิม ๆ ให้เป็นระบบจัดการอัจฉริยะ สร้างความสอดคล้องระหว่างนโยบาย



และมูลค่าของข้อมูล ท�าให้คาดการณ์ความต้องการในอนาคตได้ 2) กู้ข้อมูลได้อย่างยืดหยุ่น ระบบจะกู้
คืนแอปพลิเคชันท่เลือกได้อย่างอิสระ สร้างความม่นใจในการกู้ข้อมูลจากเหตุการณ์ภัยพิบัติ และได้รับ


การดูแลในทุกระดับ 3) จัดการส�าเนาข้อมูลได้อย่างรอบด้าน ช่วยให้ลดพื้นที่การจัดเก็บ ท�าให้การเข้า
ถึงข้อมูลอย่างรวดเร็วและปลอดภัย และช่วยลดความซับซ้อนของโครงสร้างพื้นฐาน

24 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

14. คอมพิวเตอร์เชิงควันตัม (Quantum Computing)

DO NOT COPY

ภาพที่ 1.25 ตัวอย่างแนวคิดเกี่ยวกับ Quantum Computing

ที่มา //www.dv.co.th/blog-en/quantum-computing
แม้ว่าคอมพิวเตอร์จะมีพัฒนาการที่ดีและเร็วขึ้นทุกปี แต่ก็ยังไม่เพียงพอต่อการใช้งานของมนุษย์








คอมพวเตอร์แห่งอนาคตทถูกพิสจน์แล้วว่ามนเร็วกว่าคอมพิวเตอร์ปัจจุบนเป็นล้านเท่า ทเรยกว่า Quan-

tum Computing
Quantum Computing คือระบบคอมพิวเตอร์ท่เปล่ยนระบบการทางานบนแผงวงจรท ่ ี



คอมพิวเตอร์ปัจจุบันซ่งแทนค่าข้อมูลด้วย Bit อันประกอบด้วยตัวเลข 0 กับ 1 ทีละตัวแล้วนาไปประกอบ


กัน มาใช้คุณสมบัติพิเศษของอะตอมที่เรียกว่า Quantum Bit หรือ Qubit ซึ่งสามารถประมวลผลเป็น
ตัวเลข 0 หรือ 1 พร้อมกันได้ คุณสมบัติดังกล่าวท�าให้แต่ละ Qubit ท�างานได้เร็วกว่า Bit อย่างมหาศาล
นอกจากนี้ Qubit ยังสามารถสื่อสารกับอะตอมที่เป็น Qubit ด้วยกันได้โดยไม่ต้องผ่านสื่อกลาง ท�าให้
Qubit สามารถประมวลผลร่วมกันได้ราบรื่นและรวดเร็ว รวมถึงรองรับงานแบบ Multitasking ได้ง่าย
กว่า มีความเร็วมากกว่า PC ทั่วไปถึง 100 ล้านเท่า


ระบบ Quantum Computing ก็มีข้อจากัดอยู่ เช่นตัว Qubit ท่มีขนาดเล็กกว่าอะตอมและเปราะ
บาง หากมีสิ่งรบกวนเพียงเล็กน้อย Qubit ดังกล่าวก็จะหายไปพร้อมข้อมูลภายใน อีกทั้งยังไม่พบวิธีการ
คัดลอก Qubit เพื่อส�ารองข้อมูลโดยสมบูรณ์ ยังไม่นับเรื่องการเก็บรักษา Qubit ให้พร้อมใช้งานซึ่งต้อง
อยู่ในอุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์หรือ -273.15 องศาเซลเซียส แนวคิดเร่องการนา Quantum มาใช้กับ




คอมพิวเตอร์ มีมาต้งแต่ยุคปี 1980 แต่เน่องจากมีความซับซ้อนทางฟิสิกส์ค่อนข้างสูงมาก รวมถึงต้อง
ท�างานวิจัยในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ประโยชน์ของ Quantum Computing มันจะท�าให้รูปแบบ Online Security เปลี่ยนมาเป็น
เครื่องประมวลผลรหัสแทนก็อาจจะได้แม่กุญแจและกุญแจที่แข็งแรงกว่า, ท�าให้กระบวนการเรียนรู้ของ

AI เร็วข้น ทาให้ AI ถูกพัฒนาเพ่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดีย่งข้น, การทดลองทางเคมีเพ่อพัฒนายารักษา









โรคท่ต้องการคานวณอันละเอียดและแม่นยาทาได้รวดเร็ว ทาให้ออกแบบยารักษาโรคจะลงลึกไปถึงใน

ระดับวิเคราะห์ DNA เพื่อผลิตยารักษาการเจ็บป่วยได้ทันท่วงที, พัฒนาการพยากรณ์อากาศให้แม่นย�า
ยิ่งขึ้น ลดภัยธรรมชาติที่ก่อความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินปีละมากมายได้ และช่วยจัดการคมนาคม

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 25




ท้งบนอากาศ บนพ้นดิน หรือบนผิวนา สามารถประเมินเส้นทางให้เราเดินทางได้ประสิทธิภาพสูงสุด ช่วย

ประหยัดเวลา ลดค่าใช้จ่าย เพิ่มความปลอดภัยให้ผู้คนที่จราจรไปมาได้
15. การพัฒนาระบบโดยไม่ต้องมีเซิร์ฟเวอร์ (Serverless Architectures)
DO NOT COPY

ภาพที่ 1.26 ตัวอย่างแนวคิดการใช้ระบบ serverless-architecture
ที่มา //madewithserverless.com/serverless-architecture-ecommerce-website/

Serverless ถ้าแปลตรงตัวก็คือไม่มี Server หรือลืมเรื่อง Server ไปได้เลย โดยการจัดการ Serv-

er ท้งหมดยกให้เป็นหน้าท่ของ Cloud Provider ทาให้นักพัฒนาไม่จาเป็นต้องคิดหรือทาอะไรกับ





Server อีก เพ่อจะเอาได้เอาเวลาและสมองไปใส่ใจการพัฒนาระบบ เคร่อง Server ก็ย้ายข้นไปบน Cloud




การจัดการ Environment ก็มีพระเอกอย่าง Docker เข้ามาช่วย ทุกส่งท่ว่ามาคือวิวัฒนาการของฝั่ง

Enterprise Server แต่ส�าหรับ Serverless Architecture นั้น ไม่จ�าเป็นต้อง setup อะไรเรื่องเครื่อง
Server อีกต่อไป ตามปกติเราเช่า Web Hosting โดยเหมาจ่ายเงินรายเดือนจะได้พื้นที่ตามที่ระบุไว้และ
รัน 24 ชั่วโมง (ยกเว้นตอนโฮสต์ล่ม) แต่ Serverless ใช้วิธีคิดเงินตามวินาทีที่รัน ถ้าไม่รันก็ไม่ต้องจ่าย
ส่วน RAM เราปรับได้เองเลยว่าอยากให้รันด้วยแรมขนาดไหน ค่าใช้จ่ายก็เข้าใจง่าย คือ ยิ่งเราก�าหนดให้
ใช้แรมมาก ๆ ราคาต่อวินาทียิ่งแพง

สรุปท้ายบท



คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเคร่องมือสาคัญมากในปัจจุบัน เพราะทาให้คุณภาพ

ชีวิตทั่วไป การท�างาน การติดต่อประสานงาน การสื่อสาร สุขภาพ สังคม การศึกษาได้พัฒนาอย่าง
ทั่วถึง จากการศึกษาบทนี้ท�าให้เราได้ทราบถึงความหมายของคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
การส่อสารรู้ถึงพัฒนาการของคอมพิวเตอร์แต่ละยุคว่ามีอะไรใหม่ ๆ เกิดข้นบ้าง ทราบถึงความสาคัญของ




คอมพิวเตอร์ ลักษณะสาคัญของคอมพิวเตอร์บทบาทของคอมพิวเตอร์ต่อวิถีชีวิตประโยชน์ของ


คอมพิวเตอร์พร้อมท้งนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ในปัจจุบันและท่จะเกิดข้นในอนาคต

เพื่อเป็นการเตรียมตัวและน�ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป

26 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ค�าถามท้ายบท

ตอนที่ 1 ค�าชี้แจง : ข้อสอบอัตนัย มีทั้งหมด 10 ข้อ ให้นิสิตท�าทั้งหมด
1. จงบอกความหมายของคอมพิวเตอร์
DO NOT COPY
2. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหมายถึงอะไร
3. คอมพิวเตอร์มีลักษณะแตกต่างจากเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องอิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ อย่างไร

4. จงอธิบายถึงพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค
5. บิดาของคอมพิวเตอร์คนที่ 1 คนที่ 2 และโปรแกรมเมอร์คนแรกคือใคร มีความส�าคัญอย่างไร
6. จงอธิบายถึงความส�าคัญของคอมพิวเตอร์มาพอให้เข้าใจ

7. จงอธิบายถึงลักษณะที่ส�าคัญของคอมพิวเตอร์
8. จงอธิบายถึงบทบาทของคอมพิวเตอร์ต่อวิถีชีวิตของเราในปัจจุบัน
9. จงอธิบายถึงประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ

10. จงยกตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ ๆ ที่ก�าลังนิยมมาอย่างน้อย 3 รายการ เช่น AI, AR, VR,
Big Data, Cloud Computing, Blockchain, IoT

ตอนที่ 2ค�าชี้แจง : ค�าถามปรนัย มีทั้งหมด 10 ข้อ ให้ท�าเครื่องหมาย x ทับข้อ ก ข ค

หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของคอมพิวเตอร์

ก. รับข้อมูลได้ ข. ประมวลผลข้อมูล
ค. แสดงผลข้อมูลได้ ง. บริหารฐานข้อมูลได้
2. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ก. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร ข. การเผยแพร่ผลงานโดยใช้นวัตกรรม

ค. การน�าปรัชญาชั้นสูงมาใช้กับสารสนเทศ ง. มาจาก เทคโนโลยี + สารสนเทศ
3. ข้อใดไม่ใช่คอมพิวเตอร์

ก. ตู้ ATM ข. iPad Pro
ค. วิทยุสื่อสารคลื่นสั้น ง. Smart TV
4. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรแบบหลอดสุญญากาศ (Vacuum Tubes) เกิดขึ้นในยุคใด
ก. ยุคที่ 1 ข. ยุคที่ 2

ค. ยุคที่ 3 ง. ยุคที่ 4
5. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรแบบแผงวงจรรวม (Integrated Circuit: IC) เกิดขึ้นในยุคใด

ก. ยุคที่ 1 ข. ยุคที่ 2
ค. ยุคที่ 3 ง. ยุคที่ 4

บทที่ 2

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

DO NOT COPY

วัตถุประสงค์การเรียนประจ�าบท

เมื่อได้ศึกษาเนื้อหาในบทนี้แล้ว นิสิตสามารถ
1. อธิบายความหมาย ความส�าคัญ และองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ได้

2. อธิบายองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ได้
3. บอกประเภทของคอมพิวเตอร์ได้

ขอบข่ายเนื้อหาประจ�าบท
• ความน�า

• ความหมาย ความส�าคัญ และองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
• องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

 ฮาร์ดแวร์
 ซอฟต์แวร์
 บุคลากร

 ข้อมูล/สารสนเทศ
  ขั้นตอนท�างานของคอมพิวเตอร์

• ประเภทของคอมพิวเตอร์
 Super computer
 Mainframe computer

 Mini computer
 Micro computer

 Handheld computer

30 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.1 ความน�า
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ มี 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร ข้อมูลและสารสนเทศ

การพัฒนาการเรียนรู้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นพ้นฐานของเทคโนโลยีการศึกษาจะม ี
คุณภาพเพียงใด การจัดการเรียนการสอนจะต้องสอดคล้องกับวิถีชีวิตของสังคมปัจจุบันซึ่งผู้สอนจะเป็น
DO NOT COPY
ผู้จัดการเรียนท่เหมาะสมและอานวยความสะดวกเพ่อให้ผู้เรียน ได้ประสบการณ์จากการเรียนในสภาพ



แวดล้อมต่าง ๆ การจัดการเรียนรู้ของผู้สอนเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพของผู้เรียน การเรียนจึงเป็นหัวใจส�าคัญ

ของการจัดการศึกษาตามหลักสูตร การเรียนรู้เป็นกระบวนการท้งด้านสมรรถภาพ ทักษะและทัศนคต ิ








ของคนเรา องค์ประกอบของคอมพวเตอร์จงเป็นกระบวนการเรยนร้จงเป็นส่วนสาคญของการศกษาใน

ปัจจุบันท่มีการแข่งขันด้านความรู้ ธุรกิจ การศึกษาค้นคว้าด้านความรู้ท่เก่ยวข้องกับการเรียนรู้จนเกิด


เป็นทฤษฎีการเรียนรู้


ระบบคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ท่มีประกอบด้วยองค์ประกอบท่สาคัญ 5 ส่วน




ด้วยกน คอ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (People ware) ข้อมลและ
สารสนเทศ (Data/Information) และกระบวนการท�างาน (Procedure)

ที่มา //computinnovative.blogspot.com/2013/01/computer-hardware.html

บทที่ 2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 31

2.2 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)



ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ส่วนต่าง ๆ ท่ประกอบกันข้นมาเป็นเคร่องคอมพิวเตอร์ท่สามารถ




มองเห็นและจับต้องได้ ท้งอยู่ภายนอกและภายในตัวเคร่อง เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด ลาโพง จอภาพ ฮาร์ดดิสก์
เมนบอร์ด ซีพียู แรม ซีดีรอมไดรว์ อุปกรณ์การ์ดต่าง ๆ ได้แก่ การ์ดแสดงผล การ์ดเสียงและการ์ด LAN
DO NOT COPY
เป็นต้น 1
ฮาร์ดแวร์ นิยมเรียกอีกอย่างว่า Device สามารถแบ่งเป็นกลุ่มตามหน้าที่ 5 กลุ่ม ดังนี้
1. อุปกรณ์น�าเข้าข้อมูล (Input Devices)
เป็นอุปกรณ์ส�าหรับน�าอักษร ภาพ เสียง วิดีโอ เข้าสู่การประมวลผล มีหลายอย่าง เช่น
Keyboard ส�าหรับพิมพ์ข้อความ ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ เข้าสู่ระบบ

Mouse ส�าหรับคลิก เลือก จับวางชิ้นงาน บนหน้าจอ ท�าให้เข้าถึงจุดหรือชิ้นงานได้ง่าย
Microphone ส�าหรับน�าเสียงเข้าสู่ระบบ

Camera ส�าหรับน�าภาพถ่ายเข้าสู่ระบบ
Scanner ส�าหรับน�าภาพจากแผ่นกระดาษ หรือวัสดุโดยผ่านวิธีการ Scan
Webcam เป็นกล้องถ่ายวิดีโอขนาดเล็ก ส�าหรับน�าวิดีโอเข้าสู่ระบบ
Joystick เป็นอุปกรณ์ช่วยการเข้าถึงวัตถุหลายๆ ชิ้น ส�าหรับช่วยในการเล่นเกมส์

Track ball เป็นเหมือน Mouse อีกแบบหนึ่งที่คลื่นปลายลูกศรด้วยลูกกลิ้ง
Touch screen จอภาพชนิดหนึ่งที่สามารถใช้นิ้วสัมผัสวัถตุบนหน้าจอแทน Mouse ได้

รูปที่ 2.2 ตัวอย่างอุปกรณ์น�าเข้า (Input Device)

ที่มา www.examplesof.net/2017/08/10-examples-of-input-devices-of-computer.html#.XLX8oKRteM8

1 ไพบูลย์ เปียศิริ, ช่างคอมพิวเตอร์ฉบับมืออาชีพ, (ฉะเชิงเทรา : ส�านักพิมพ์พีด์นเอ็น กรุ๊ป, 2549), หน้า 2.

32 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล (Process Devices)

DO NOT COPY

ที่มา //wifinotes.com/computer-hardware-components/types-of-computer-hardware.html





1. โปรเซสเซอร (Processor) หมายถง หนวยประผลกลางหรอซพย (CPU) มหนาทในการประมวล







ผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามา
2. หน่วยความจ�า RAM (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจ�าหลักที่จ�าเป็นในการ



เก็บข้อมูล หรือหน่วยความจาสารองจะเก็บข้อมูลช่วคราว ซ่งทาหน้าท่เก็บชุดคาส่งและข้อมูลท่ระบบ






คอมพิวเตอร์ก�าลังท�างานอยู่




แรมทาหน้าท่ร่วมกับซีพียูเป็นหน่วยความจาหลัก สาหรับเก็บพักข้อมูลช่วคราว ส่วนฮาร์ดดิสก์ทา



หน้าท่เก็บข้อมูลแบบถาวร คือ จะไม่หายไปเม่อปิดเคร่องเหมือนแรม แม้แรมจะทางานได้เร็วเพียงใด






ก็ตาม ก็ยังไม่เร็วพอเท่ากับความเร็วของซีพียูอยู่ดี ทาให้มีการเสริมเทคโนโลยีอ่น ๆ เพ่อเพ่มประสิทธิภาพ

ในการท�างาน 2


3. ส่วนอินพุตและเอาต์พต (Input and Output) เป็นอปกรณ์ท่ทาให้คอมพวเตอรสามารถสมผัส





และรับรู้ส่งต่าง ๆ เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์ และอุปกรณ์ Output เช่น จอภาพ เคร่องพิมพ์ เป็นต้น


4. สื่อจัดเก็บข้อมูล (Storage) ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์
2 พันจันทร์ ธนวันเสถียร และอัมรินทร์ เพ็ชรกุล, ช่างคอมฉบับสมบูรณ์, (กรุงเทพฯ : รีไวว่า, 2557),
หน้า 58.

บทที่ 2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 33

3. อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล (Output Devices)

DO NOT COPY

ที่มา : //novilaili.blogspot.com/2016/08/perangeksternal-peripheral-1.html
จอภาพ (Monitor) ท�าหน้าที่แสดงผลข้อมูลในรูปของข้อความ รูปภาพ เป็นอุปกรณ์การแสดงผล

เป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้สามารถมองเห็นข้อมูลที่แสดงผลได้โดยผ่านจอภาพของคอมพิวเตอร์
เครื่องพิมพ์ (Printer) ใช้พิมพ์เอกสารภาพหรือสื่อจากคอมพิวเตอร์

ล�าโพง (Speakers) ใช้ส�าหรับฟังเสียง
Head Set เป็นล�าโพงขนาดเล็กพกพาได้




เคร่องฉายภาพ (Projector) ใช้สาหรับฉายภาพสู่จอขนาดใหญ่เพ่อการนาเสนอรับชมได้หลาย ๆ คน
เครื่องวาดภาพหรือฉลุภาพ (Plotter) ใช้ส�าหรับวาดภาพหรือฉลุภาพลายเส้นหรืองานศิลปะบน
ผืนผ้าใบหรือวัสดุอื่น ๆ

ที่มา : //www.beartai.com/news/it-thai-news/84926

เครื่องพิมพ์ 3 มิติ (3D Printer) สามารถพิมพ์โมเดลออกเป็นชิ้น ๆ ได้

34 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

4. อุปกรณ์บันทึกข้อมูล (Storage Devices)

DO NOT COPY

ที่มา : //www.thinglink.com/scene/723519497314500608

Harddisk หน่วยบันทึกข้อมูลแถบจานแม่เหล็ก มีขนาดใหญ่ ติดตั้งภายในเครื่องส�าหรับลงโปรแกรม
และข้อมูลจ�านวนมาก ปัจจุบันมีขนาดบรรจุถึงระดับ Terabyte (TB)

CD-ROM หน่วยบันทึกแถบแผ่น ยิงด้วยเลเซอร์ มีขนาดบรรจุ 450 BM. ขึ้นไป ถ้าเป็น DVD-ROM
สามารถบรรจุได้ถึง GB ขึ้นไป แต่เสียงต่อการบิดงอ หักได้ง่าย

Flash Drive หน่วยบรรจุข้อมูลแบบแผงวงจรขนาดเล็ก เสียบผ่าน USB ได้ ใช้งานสะดวก มีรูปแบบหลาย
คงทน บรรจุได้หลายระบบ หลาย GB ถึง TB

CF Card หน่วยบรรจุข้อมูลแบบแผงวงจรเช่นเดียวกับ Flash Drive แต่อยู่ในรูปแบบแผ่นเสียบ ค่อน





ข้างเฉพาะภายในเครองท่ออกแบบมาเฉพาะ เช่น กล้องถ่ายรป วดีโอ เพอใช้แทนฟิล์ม หรือ


ส�าหรับเสริมความจุของกล้องวีดีโอ และโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น

บทที่ 2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 35

5. อุปกรณ์เครือข่าย (Network Devices)

DO NOT COPY

ที่มา : //www.modiithub.com/networking-devices


1. Hub เป็นอุปกรณ์ใช้เช่อมต่อคอมพิวเตอร์หลายเคร่องเข้าด้วยกันเป็นกลุ่ม 4 เคร่อง 8 เคร่อง



16 เครื่อง หรือ 24 เครื่อง ในวงใกล้ ๆ กัน เช่น ภายในห้อง หรือระหว่างห้อง
2. Switch หรือ Bridge เป็นอุปกรณ์ส�าหรับเชื่อมต่อ LAN สองเครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยจะต้อง
เป็น LAN ชนิดเดียวกัน และใช้ Protocal เหมือนกัน
3. Router เป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่ายภายนอก ท�าหน้าที่หาเส้นทางเพื่อการติดต่อระหว่าง

เครือข่ายไปภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ

4. Modem เป็นอุปกรณ์แปลงสัญญาณอะนาล็อกเป็นดิจิทัลเม่อข้อมูลถูกส่งมายังผู้รับไปบน
ช่องทางสื่อสาร
5. Land Card เป็นอุปกรณ์รับสัญญาณจากเครือข่าย ทั้งแบบสาย LAN และแบบไร้สาย หรือ
Wireless LAN ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน

2.3 ซอฟต์แวร์ (Software)

ซอฟต์แวร์ หรือโปรแกรม คือ ชุดค�าสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อสั่งให้ฮาร์ดแวร์ในระบบคอมพิวเตอร์ท�างาน
ตามที่ผู้ใช้ต้องการ เนื่องจากฮาร์ดแวร์นั้นไม่สามารถท�างานได้ด้วยตัวเอง 3

ซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) หรือ ระบบปฏิบัติการ (Operating system) เรียก
ย่อ ๆ ว่า OS เป็นโปรแกรมที่ท�างานเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้เครื่องและฮาร์ดแวร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

3 โอภาส เอี่ยมสิริวงค์, วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, (กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2549),

หน้า 30.

36 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ




จัดสภาพแวดล้อมให้ผู้ใช้ระบบสามารถปฏิบัติงานบนเคร่องคอมพิวเตอร์ได้ โดยจะเอ้ออานวยการพัฒนา

และการใช้โปรแกรมต่าง ๆ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน้าท่ของระบบ
ปฏิบัติการสรุปได้ ดังนี้
1.1 การติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) ผู้ใช้สามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์ท�างาน จึงเป็นหน้าที่
DO NOT COPY



ของระบบปฏิบัตการในเป็นตัวกลาง และเตรยมสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ในการส่งงานคอมพวเตอร์

หลังจากนั้นจะใช้ค�าสั่งผ่านทาง System call เพื่อปฏิบัติสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการใช้ สามารถติดต่อหรือควบคุม
การทางานของเคร่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางระบบปฏิบัติการได้ โดยระบบปฏิบัติการจะเคร่องหมาย



Prompt ออกทางจอภาพเพื่อรอรับค�าสั่งจากผู้ใช้โดยตรง ตัวระบบปฏิบัติการจึงเป็นตัวกลางที่ท�าหน้าที่





เช่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับฮาร์ดแวร์ของเคร่อง นอกจากน้ผู้ใช้อาจเขียนโปรแกรมเพ่อใช้งานกรณีน้ผู้ใช้ก ็
สามารถติดต่อกับระบบปฏิบัติการได้โดยผ่านทาง System Call
1.2 ควบคุมและตรวจสอบการท�างานของอุปกรณ์ (Control devices) เพื่อให้อุปกรณ์ต่าง ๆ
ให้ท�างานสอดคล้องกันโดยไม่เกิดข้อผิดพลาด เช่น การควบคุมดิสก์ จอภาพ หรือซีดีรอม เป็นต้น ระบบ
ปฏิบัติการจะรับค�าสั่งจากผู้ใช้ และเรียกใช้ System call ขึ้นมาท�างาน ให้ได้ผลตามต้องการ ให้ความ












สะดวกแกผูใชในการใชงานอุปกรณตาง ๆ ไดงาย เชน การเขาถึงขอมูลในแฟมหรือติดตอกับอุปกรณรับ/


แสดงผลข้อมูล
1.3 จัดสรรทรัพยากร (Resources management) เพราะทรัพยากรของระบบมีจ�ากัด และ
มีหลายประเภท ระบบปฏิบัติการต้องบริการให้ผู้ใช้ ได้ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ให้เป็นไปอย่างต่อเน่อง ตัวอย่าง

ทรัพยากร ที่ระบบปฏิบัติการต้องจัดการ เช่น ซีพียู หน่วยความจ�า ซีดีรอม เครื่องพิมพ์ เป็นต้น


2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือโปรแกรมท่เขียนข้นเพ่อการทางาน


เฉพาะอย่างที่เราต้องการ เช่น งานส่วนตัว งานทางด้านธุรกิจ งานทางด้านวิทยาศาสตร์ โปรแกรมทาง
ธุรกิจ เกมส์ต่าง ๆ ระบบฐานข้อมูล ตลอดจนตัวแปลภาษา เราอาจเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า User’s
Program โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงในการพัฒนา เช่น ภาษา C, C++, COBOL, PASCAL, BASIC
ฯลฯ ตัวอย่างโปรแกรมท่พัฒนาข้นใช้ในทางธุรกิจ เช่น โปรแกรมระบบบัญชีจ่ายเงินเดือน (Payroll


Program) โปรแกรมระบบเช่าซื้อ (Hire Purchase) โปรแกรมระบบสินค้าคงหลัง (Stock Program)
โปรแกรมชุด Microsoft Office โปรแกรมชุด Adobe Creative Suite โปรแกรมประเภทนี้เราสามารถ
ดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) บางส่วนเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ได้
2.4 บุคลากร (People ware)
ผู้ปฏิบัติงานตามกระบวนวิธีการในกิจกรรมต่าง ๆ อันได้แก่ การสร้างหรือเก็บรวบรวมข้อมูล บาง
กลุ่มอาจท�าหน้าที่ในการพัฒนาซอฟท์แวร์ขึ้นมาใหม่ตามความต้องการและในการประมวลผล เช่น

1. ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) เป็นผู้ที่น�าคอมพิวเตอร์ใช้งานทั่วไป เช่น การพิมพ์งาน การป้อน
ข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

บทที่ 2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 37



2.ผู้ดูแลและซ่อมบารุงเคร่องคอมพิวเตอร์ (Supporter) เป็นผู้ดูแลและคอยตรวจสอบสภาพเคร่อง

คอมพิวเตอร์เพื่อให้มีสภาพความพร้อมท�างาน

3. ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programmer) เป็นผู้เขียนโปรแกรมชุดคาส่งลงในโปรแกรม

และเป็นผู้ออกแบบ วิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์การใช้งานในองค์กร
DO NOT COPY
4. ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ (System Analysis) มีหน้าที่พิจารณาว่าองค์กรค
วรจะใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5. ผู้บริหารระบบคอมพิวเตอร์ (System Manager) มีหน้าที่บริหารทรัพยากรทุกชนิดที่เกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดขององค์กร

2.5 ข้อมูลและสารสนเทศ

ข้อมูล (Data) คือ ข้อมูลดิบต่าง ๆ ท่จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ และสามารถเรียกข้อมูลเหล่าน้น


มาใช้งานได้ ข้อมูลในที่นี่อาจเป็นได้ทั้งข้อความ ตัวเลข ภาพ และเสียง ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเมื่อได้จัดเก็บลง
ในคอมพิวเตอร์แล้วจะถูกแปลงเป็นระบบเลขฐานสองและจัดเก็บอยู่ในรูปแบบของไฟล์ข้อมูลเพ่อสะดวก

ต่อการเรียกใช้งานต่อไป 4
ประเภทของข้อมูล




1. ข้อมูลท่เป็นตัวอักขระ คือ ข้อมูลท่ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลขท่ไม่ใช้ในการคานวณ เช่น

ทะเบียนรถยนต์ หมายเลขโทรศัพท์ บ้านเลขที่ และชื่อ นามสกุล
2. ข้อมูลที่เป็นตัวเลข คือข้อมูลที่ประกอบด้วย ตัวเลข 0-9 ที่ใช้ในการค�านวณได้ เช่น ผลคะแนน
การสอบ จ�านวนเงินและราคาของสินค้า





3. ข้อมูลท่เป็นรูปภาพ คือข้อมูลท่เป็นภาพอาจเป็นภาพน่ง หรือภาพเคล่อนไหว ภาพลายเส้น
ภาพถ่าย และภาพจากวิดิทัศน์
4. ข้อมูลท่เป็นเสียง คือ ข้อมูลท่ประสาทสัมผัสทางหูรับรู้ได้ เช่น เสียงเพลง เสียงนกร้อง บท


สัมภาษณ์ และเสียงจากสิ่งต่าง ๆ
ประโยชน์ของข้อมูล
1. ช่วยให้เราทราบข้อมูลที่แท้จริง
2. ช่วยให้เราสามารถตัดสินใจบนฐานข้อมูลที่ถูกต้อง

ชนิดของข้อมูล
1. ข้อมูลประเภทข้อความ (Text) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่น�ามาค�านวณ อาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข
เครื่องหมาย เป็นต้น

4 โอภาส เอี่ยมสิริวงค์, วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, (กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2549),

หน้า 31.

38 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. ข้อมูลประเภทตัวเลข (Numeric) หมายถึง ข้อมูลที่น�ามาค�านวณได้



3. ข้อมูลประเภทวันท่ (Date) หมายถึง ข้อมูลท่ประกอบด้วย วันท่ เดือนและปี โดยเดือนสามารถ
ก�าหนดได้ทั้งแบบตัวเลข หรือตัวอักษร ข้อมูลชนิดนี้น�าไปค�านวณได้
4. ข้อมูลประเภทเวลา (Time) หมายถึง ข้อมูลที่ประกอบด้วยชั่วโมงและนาที โดยมีเครื่องหมาย
colon (:) ข้อมูลชนิดนี้สามารถน�าไปค�านวณได้

5. ข้อมูลประเภทสูตร (Formula) ข้อมูลประเภทน้ คือ สมการคณิตศาสตร์ จะต้องใช้เคร่องหมาย


เท่ากับน�าหน้า
สารสนเทศ



การนาข้อมูลมาสู่กระบวนการของระบบการประมวลผล คานวณ วิเคราะห์เป็นข้อความท่สามารถ

น�าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวัน เช่น สารสนเทศที่เป็นความรู้จากเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ



จากโทรศัพท์มือถือ สารสนเทศระบบส่อสารโทรคมนาคมในด้านธุรกิจของธนาคาร การจองต๋วเคร่องบิน
เป็นต้น
สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือจัดระบบแล้ว เพื่อให้มีความหมายและคุณค่า
ส�าหรับผู้ใช้ DO NOT COPY

2.6 หลักการท�างานของคอมพิวเตอร์
สามารถแบ่งออกตามลักษณะการท�างานได้ 4 หน่วย ดังนี้

1. หน่วยรับข้อมูล อินพุตยูนิต (Input Unit) เช่น คีย์บอร์ด (Keyboard) เมาส์ (Mouse) OCR
(Optical Character Reader) OMR (Optical Mark Reader) เคร่องอ่านพิกัด (Digitizer) สแกนเนอร์

(Scanner) ปากกาแสง (Light Pen) จอยสติก (Joy Sticks) จอสัมผัส (Touch Screen) เครื่องเทอร์
มินัล (Point of Sale Terminal) แผ่นสัมผัส (Touch Pads) อุปกรณ์รับข้อมูลเสียง (Voice Input
Devices) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไมโครโฟน

2. หน่วยประมวลผลกลาง เซนทอล โปรเซสชิง ยูนิต (CPU: Central Processing Unit) ประกอบ
ด้วยส่วนประส�าคัญ 3 ส่วน ดังนี้

2.1 หน่วยค�านวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) หน่วยค�านวณตรรกะ
ท�างานเกี่ยวข้องการค�านวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร และสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์

เช่น การเปรียบเทียบตามเง่อนไข กฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เง่อนไขเป็น จริง หรือ เท็จ เช่น เปรียบเทียบ

มากว่า น้อยกว่า เท่ากัน ไม่เท่ากัน
2.2 หน่วยควบคุม (Control Unit) หน่วยควบคุมท�าหน้าที่ควบคุมล�าดับขั้นตอนการประมวล

ผลและการทางานของอุปกรณ์ในหน่วยประมวลผลกลาง และประสานงานในการทางานร่วมกันระหว่าง


หน่วยประมวลผลกลาง กับอุปกรณ์น�าเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจ�าส�ารอง

บทที่ 2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 39

2.3 หน่วยความจ�าหลัก (Main Memory) การท�างานของคอมพิวเตอร์เมื่อมีข้อมูล และชุด





คาส่งท่ใช้ในการประมวลผลอยู่ในหน่วยความจาหลักจะทาการประมวลผลข้อมูลตามชุดคาส่งจะได้ผลลัพธ์


ที่น�าไปเก็บไว้ที่หน่วยความจ�าหลักแล้วน�าไปแสดงผลที่อุปกรณ์แสดงผล
3. หน่วยแสดงผลเอาร์พุต ยูนิต (Output Unit) เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ ล�าโพง
DO NOT COPY
4. หน่วยเก็บข้อมูลส�ารอง เซคคอนเดรี่ สตอเรส (Secondary Storage) เช่น
4.1 สื่อเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก (Magnetic Disk Device) เช่น ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy
Disks) ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disks)
4.2 สื่อเก็บข้อมูลแสง (Optical Storage Device) เช่น CD (Compact Disc) CD-ROM

(Compact Disc Read Only Memory) CD-R (Compact Disc Recordable) CD-RW (Compact
disc rewritable) และ DVD (Digital Versatile Disc/Digital Video Disc)

4.3 สื่อเก็บข้อมูลอื่น ๆ (Other storage device) Memory card Secure Digital และ
Multimedia Memory Card (SD/MMC) และ Memory Stick โดยการอ่านข้อมูลจากอุปกรณ์ดิจิตอล
ที่ต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือใช้อุปกรณ์ card reader

สรุป องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์เป็นการทางานอย่างเป็นระบบ (System) ท้งภายในระบบงาน




คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยท่มีหน้าท่เฉพาะ ทางานประสานสัมพันธ์กัน เพ่อให้งานบรรล ุ


ตามเป้าหมาย ในระบบงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานได้ด้วยตัวเองระบบคอมพิวเตอร์

ควรจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร ข้อมูลและสารสนเทศ และ
กระบวนการท�างาน

2.7 ประเภทของคอมพิวเตอร์










คอมพวเตอรมหลายชนดออกแบบใหเหมาะสมกบขนาดการใชของงานซงเราสามารถแบงออกได ้

ดังนี้ ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์มินิคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์ โน๊ตบุ๊ค แท็บเล็ต
คอมพิวเตอร์แบบพกพาหรือคอมพิวเตอร์มือถือ 5

คอมพิวเตอร์มหลายชนดด้วยกนตามแต่ละขนาดและระดับความสามารถทแตกต่างกัน การ




พิจารณาว่าจะใช้คอมพิวเตอร์ในระดับความสามารถใดก็ต้องพิจารณาจากปริมาณข้อมูล ลักษณะงาน


รวมถึงความเหมาะสมในด้านอ่น ๆ เพ่อประกอบการพิจารณาชนิดของคอมพิวเตอร์ท่แบ่งแยกตามระดับ

ความสามารถจะประกอบด้วยซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์มินิคอมพิวเตอร์ ไมโคร
คอมพิวเตอร์ โน๊ตบุ๊ค แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์แบบพกพาหรือคอมพิวเตอร์มือถือ
6
5 พิษณุ ปุระศิริ, คู่มือเรียนรู้และใช้งานคอมพิวเตอร์เบื้องต้น, (นนทบุรี : ไอดีซ๊ พรีเมียร์, 2556), หน้า 11.
6 โอภาส เอี่ยมสิริวงค์, วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, (กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2549),
หน้า 32.

40 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Super computer




ซูเปอร์คอมพิวเตอร์เป็นเคร่องคอมพิวเตอร์ท่เหมาะกับงานคานวณท่ต้องมีการค�านวณตัวเลข







จานวนหลายล้านตวภายในเวลาอนรวดเรว เช่น งานพยากรณ์อากาศท่ต้องนาข้อมูลต่าง ๆ เก่ยวกับอากาศ

ท้งระดับภาคพ้นดิน และระดับช้นบรรยากาศเพ่อดูการเคล่อนไหวและการเปล่ยนแปลงของอากาศ





DO NOT COPY
เช่น งานควบคุมขีปนาวุธ งานควบคุมทางอวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย์ งานด้าน
วิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านเคมี เภสัชวิทยา และงานด้านวิศวกรรมการออกแบบ

ภาพที่ 2.13 แสดงภาพ Super Computer
ที่มา : //sites.google.com

Mainframe Computer

เคร่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ท่มีการพัฒนามาต้งแต่ยุคแรกๆของคอมพิวเตอร์ โดยช่อ เมนเฟรม










คอมพวเตอรนนมาจากลกษณะของตวเครองทประกอบดวยตขนาดใหญทภายในตมชนสวนและอปกรณ ์






















ต่าง ๆ อยเป็นจานวนมาก เมนเฟรมเป็นเครองคอมพวเตอร์ท่มราคาสูงมากเหมาะกบการใช้งานทเก่ยวข้อง
ู่




กับข้อมูลจ�านวนมาก
ภาพที่ 2.14 แสดงภาพ Mainframe Computer
ที่มา : www-03.ibm.com

บทที่ 2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 41

Mini Computer
เครื่องที่สามารถใช้งานได้พร้อมกันหลาย ๆ เครื่อง มินิคอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ น�ามาใช้

สาหรับการประมวลผลในงานสารสนเทศขององค์การขนาดกลาง จนถึงองค์การขนาดใหญ่ท่มีการวาง













ระบบเปนเครอขายเพอใชงานรวมกน เชน งานบญชและการเงน งานออกแบบวศวกรรม งานควบคมการ


DO NOT COPY

ผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม มินิคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ให้บริการ
(Server) มีหน้าที่ให้บริการการสื่อสาร
ภาพที่ 2.15 แสดงภาพ Mini Computer

ที่มา : //www.indiamart.com/proddetail/mini-computer-11778546612.html

Micro Computer

คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC) นิยมใช้หน่วยงาน องค์กร และบริษัท
ร้านค้า ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา บริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจ�าหน่าย ได้แก่ Acer

Apple Compaq Dell IBM เป็นต้น

เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. แบบติดตั้งบนโต๊ะ (Desktop Computer)

ภาพที่ 2.16 แสดงภาพ Desktop Computer

ที่มา : //discountcomputerdepot.com

42 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable Computer) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถพกพาสะดวก
อาศัยพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่จากภายนอก ได้แก่
-แล็ปท็อป (Laptop computer) หรือ โน๊ตบุ๊ค (Notebook Computer) เป็นเคร่องคอมพิวเตอร์

ขนาดเล็ก ที่สามารถขนย้ายไปไหนมาไหนได้สะดวก
DO NOT COPY

ภาพที่ 2.17 แสดงภาพ Laptop Computer
ที่มา : //www.techxcite.com

- ปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ (palmtop computer) เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ส�าหรับท�างานเฉพาะ
อย่าง เช่น เป็นพจนานุกรม เป็นสมุดจดบันทึกประจ�าวัน

ภาพที่ 2.18 แสดงภาพ Palmtop Computer
(ที่มา : //www.informationq.com)



แท็บเล็ต พีซี (Tablet Personal Computer) เป็นเคร่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลท่ใช้หน้าจอสัมผัส
ในการท�างาน โดยมีแป้นพิมพ์ปรากฏบนหน้าจอใช้การสัมผัสในการพิมพ์

ภาพที่ 2.19 แสดงภาพ Tablet Personal Computer
ที่มา : //www.mtechprojects.org

บทที่ 2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 43

โมบายคอมพิวเตอร์ (Mobile computer) หรือ สมาร์ทโฟน (Smart Phone) เป็นอุปกรณ์


อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กและเช่อมโยงผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไร้สายท่สามารถพัฒนาในการจัดการ
เรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

DO NOT COPY

ภาพที่ 2.20 แสดงภาพ Mobile Computer
ที่มา : //www.interaction-design.org

Handheld Computer
Handheld Computer เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา คือมีขนาดเท่ากับฝ่ามือ คีย์บอร์ดและ
หน้าจอมีขนาดเล็ก บางรุ่นใช้ปากกาพิเศษป้อนข้อมูลทางจอภาพ คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ถูกออกแบบมาให้

ใช้จัดการสารสนเทศส่วนบุคคล เช่น จัดตารางเวลานัดหมาย ปฏิทินนัดหมาย สมุดโทรศัพท์ สมุดบันทึก
รับส่งอีเมล์ เป็นต้น ปัจจุบันรู้จักกันดีในนาม “Palmtop” และ “PDA” 7
คอมพิวเตอร์มือถือ Personal Digital Assistant (PDA) สามารถเขียนและใช้คีย์บอร์ด ในการ


ป้อนข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์มือถือ พกพา สะดวกต่อการใช้งานซ่งมีระบบปฏิบัติการ Windows CE และ
Windows Mobile เป็นระบบปฏิบัติการในการใช้งาน โดยสามารถไปประยุกต์ใช้การ Personal Infor-

mation Manager (PIM) คอมพิวเตอร์ใช้กับการจัดการข้อมูลประจ�าวัน การสร้างปฏิทินนัดหมาย การ
ดูหนัง ฟังเพลง การรับส่งอีเมล์ เป็นต้น

ภาพที่ 2.21 ภาพแสดง Handheld Computer

ที่มา : //www.suwanpaiboon.ac.th/wbi/page/page8_1.htm

7 กิตติ ภักดีวัฒนะกุล, เทคโนโลยีสารสนเทศ, (กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2548), หน้า 3.

44 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

สรุปท้ายบท

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์เป็นการทางานอย่างเป็นระบบ (System) ทั้งภายในระบบงาน



คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยท่มีหน้าท่เฉพาะ ทางานประสานสัมพันธ์กัน เพ่อให้งานบรรล ุ


ตามเป้าหมาย ในระบบงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานได้ด้วยตัวเองระบบคอมพิวเตอร์
DO NOT COPY












ควรจะประกอบไปดวยองคประกอบ ฮารดแวรเปนหนวยสาคญทประกอบดวย หนวยรบขอมลหรออนพต






(Input Unit) ระบบประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) หน่วยเก็บข้อมูล
(Storage) หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต (Output Unit) ซอฟต์แวร์ประกอบด้วย ซอฟต์แวร์ระบบ
(System Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) บุคลากรประกอบด้วย โปรแกรมเมอร์
(Programmer) ผู้ใช้ (User) ผู้ปฏิบัติการ (Operator) ผู้บริหารฐานข้อมูล (Data Base Administrator
: DBA) ผู้จัดการระบบ (System Manager) ข้อมูลและสารสนเทศ และกระบวนการท�างาน ระบวนการ


ทางานเพ่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ในการทางานกับคอมพิวเตอร์ผู้ใช้จาเป็นต้องทราบข้นตอนการ



ท�างานเพื่อให้ได้งานที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

บทที่ 2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 45

ค�าถามท้ายบท

ตอนที่ 1 ค�าชี้แจง : ข้อสอบอัตนัย มีทั้งหมด 10 ข้อ ให้นิสิตท�าทั้งหมด
1. จงอธิบายองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง
DO NOT COPY
2. จงวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างข้อมูลและสารสนเทศ
3. จงอธิบายฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึงอะไร

4. จงอธิบาย ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึงอะไร
5. จงอธิบายความหมายของสารสนเทศ
6. จงอธิบายข้อมูล (data) หมายถึงอะไร

7. การวิเคราะห์หลักการท�างานของคอมพิวเตอร์มาพอสังเขป
8. จงอธิบาย Handheld computer หมายถึงอะไร
9. จงอธิบาย Mini computer มาโดยละเอียด

10. จงบอกไมโครคอมพิวเตอร์แบบเคลื่อนย้ายได้มีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบาย

ตอนที่ 2ค�าชี้แจง : ค�าถามปรนัย มีทั้งหมด 10 ข้อ ให้ท�าเครื่องหมาย x ทับข้อ ก ข ค

หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว







1. ส่วนท่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาส่งท่ถูกเขียนข้นเพ่อส่งให้เคร่อง

คอมพิวเตอร์ท�างานความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ซอฟต์แวร์ ข. ฮาร์ดแวร์
ค. อุปกรณ์ต่อพวง ง. แผงวงจรรวม















2. ชดของคาสงทเขยนไว้เป็นคาส่งส�าเร็จรปซงจะทางานใกล้ชดกบคอมพวเตอร์มากทสด หมายถง





ข้อใด?
ก. ซอฟต์แวร์ส�าหรับระบบ ข. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ค. ซอฟต์แวร์เฉพาะด้าน ง. ซอฟต์แวร์ทั่วไป
3. ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มาให้คอมพิวเตอร์ท�างานต่าง ๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร
บัญชี การจัดเก็บข้อมูล ตรงกับข้อใด ?
ก. ซอฟต์แวร์ส�าหรับระบบ ข. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ค. ซอฟต์แวร์เฉพาะด้าน ง. ซอฟต์แวร์ทั่วไป

4. ซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์เคร่องคอมพิวเตอร์ทุกเคร่องจะต้องมีซอฟต์แวร์น้ ตรงกับ


ข้อใด ?
ก. ซอฟต์แวร์ส�าหรับระบบ ข. ระบบปฏิบัติการ
ค. ซอฟต์แวร์เฉพาะด้าน ง. ซอฟต์แวร์ทั่วไป

บทที่ 3

แพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์

DO NOT COPY

วัตถุประสงค์ประจ�ำบท

เมื่อได้ศึกษาเนื้อหาในบทนี้แล้ว นิสิตสามารถ
1. บอกความหมายของแพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์ได้

2. อธิบายความแตกต่างของซอฟต์แวร์ในแพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์ได้
3. เข้าใจซอฟต์แวร์ระบบ โปรแกรมอรรถประโยชน์ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้

4. เข้าใจซอฟต์แวร์ประยุกต์และจ�าแนกประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้
5. เลือกใช้แพลตฟอร์มและซอฟต์แวร์ตามลักษณะงานได้อย่างเหมาะสม

ขอบข่ำยเนื้อหำประจ�ำบท

• ความน�า

• ความหมายของแพลตฟอร์ม
• ซอฟต์แวร์
• ซอฟต์แวร์ระบบ

• ซอฟต์แวร์ประยุกต์

50 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.1 ควำมน�ำ
ในปัจจุบันเป็นยุคท่ชีวิตถูกขับเคล่อนด้วยเทคโนโลยีและเป็นยุคของข้อมูลข่าวสารสารสนเทศท ี ่






สามารถเข้าถึงทุกส่งบนอินเทอร์เน็ตได้ด้วยปลายน้ว การเข้าคิวเพ่อรับบริการจากธนาคารเป็นส่งท่ไม่


จาเป็นอีกต่อไป จะเห็นได้ว่าธนาคารหลายแห่งลดสาขาลงในทุก ๆ ปี เพราะสามารถทาธุรกรรมบน

DO NOT COPY
คอมพิวเตอร์ท่มีสัญญาณอินเทอร์เน็ตหรือทาธุรกรรมต่าง ๆ ได้ผ่านมือถือสมาร์ทโฟนท่ให้ท้งความสะดวก




สบายสามารถพกพาไปได้ในทุกที่ทุกเวลา และมีความปลอดภัยสูง แม้แต่การเดินทางเพื่อไปซื้อตั๋วเครื่อง
บินที่จุดบริการในสนามบินก็ไม่มีความจ�าเป็นอีกต่อไป โดยเราสามารถจองตั๋วและที่นั่งบนเครื่องบินจาก


















สายการบนทวโลกไดบนเวบไซตหรอแอปพลเคชนบนมอถอสมารทโฟนเชนกน ซงการใชงานบรการเหลา

นี้ คือแพลตฟอร์มนั่นเอง หากกล่าวถึงค�าว่า “Platform” อาจไม่คุ้นหูเท่าใดนักแต่ถ้าหากเอ่ยค�าว่า Mi-
crosoft, Google, Facebook, Line, Grab และอีกมากมายซึ่งล้วนเป็นโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่



เราเข้าใช้งานแทบทุกวัน โดยมีบริษัทช้นนาหลายแห่งท่ใช้แพลตฟอร์มเหล่าน้ในการทาธุรกิจและได้รับ


ผลก�าไรมากมาย

ในบทท่ผ่านมาได้กล่าวถึงสถาปัตยกรรม องค์ประกอบต่าง ๆ และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ของ



คอมพิวเตอร์มาแล้ว ในเน้อหาบทน จะกล่าวถึงแพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์ในด้านแพลตฟอร์มทาง
ซอฟต์แวร์เป็นหลัก โดยคอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่เข้ามามีบทบาทในหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ
หรือภาคเอกชน เช่น งานค�านวณ งานวิเคราะห์ งานวางแผน งานธุรกิจการซื้อขาย งานการศึกษา งาน
เกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอน งานเขียนแบบ งานออกแบบ งานทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์
ทางการแพทย์ และงานด้านบันเทง เป็นต้น ซ่งลกษณะงานต่าง ๆ เหล่าน้จาเป็นจะต้องอาศัยเครอง







คอมพิวเตอร์ที่มีซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมในการสั่งการท�างานด้านต่าง ๆ

และในเร่องของแพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์น้จะกล่าวถึง ประเภทของซอฟต์แวร์ การจัดหาซอฟต์แวร์

ซอฟต์แวร์ระบบ ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ยุคใหม่ โปรแกรม

อรรถประโยชน์ต่าง ๆ ในระบบปฏิบัติการซอฟต์แวร์ประยุกต์ แอปพลิเคชันพ้นฐานในสมาร์ทโฟน ซ่งเป็น

คอมพิวเตอร์พกพายอดนิยมในยุคปัจจุบัน หลักการท�างานระบบปฏิบัติการ และการเลือกใช้ซอฟต์แวร์
ที่เหมาะสมในการใช้งานในชีวิตประจ�าวันอีกด้วย
3.2 ควำมหมำยของแพลตฟอร์ม
แพลตฟอร์ม (Platform) หมายถึง ประเภทของระบบคอมพิวเตอร์หรือสมาร์ทโฟนที่ซึ่งสัมพันธ์
กับประเภทของซอฟต์แวร์ (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) ที่สามารถใช้งานได้ตัวอย่าง เช่น ซอฟต์แวร์ธนาคาร

ยุคใหม่สามารถใช้กับแพลตฟอร์ม Windows หรือแพลตฟอร์มใดก็ได้ ท้ง iOS ของ Apple และ

1
แพลตฟอร์มมือถือ Android ของ Google ซ่งถ้าใช้เก่ยวกับเร่องฮาร์ดแวร์ หมายถึง ท่รองรับระบบ



1 Cambridge University. Cambridge Dictionary [Online]. Available: //dictionary.cam-
bridge.org/dictionary/english/platform[2019].

บทที่ 3 แพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์ 51


ปฏิบัติการ (Operating System) ถ้าพูดถึงระบบปฏิบัติการ ก็หมายถึงว่าเป็นท่รองรับโปรแกรมการ
ท�างานของโปรแกรมต่าง ๆ เช่น Microsoft Windows เป็นต้น

กล่าวได้ว่า แพลตฟอร์ม คือสภาวะแวดล้อมท่ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบ

คอมพิวเตอร์ระบบหน่งโดยมีระบบปฏิบัติการโปรแกรมประสานงานระบบคอมพิวเตอร์ และ ไมโคร
DO NOT COPY
โพรเซสเซอร์ ของคอมพิวเตอร์ใช้ในการท�างาน และจัดการข้อมูลต่าง ๆ ระบบปฏิบัติการต้องได้รับการ
ออกแบบให้ท�างานกับค�าสั่งของไมโครโพรเซสเซอร์ ที่ซึ่งเป็นฮาร์ดแวร์ในเครื่องนั้น ๆ เช่น Microsoft

Windows ที่ได้รับการสร้างให้ท�างานกับชุดค�าสั่งของไมโครโพรเซสเซอร์ของ Intel/AMD เพื่อการใช้ค�า





ส่งร่วมกัน ระบบปฏิบัติการ Mac OS ของ Apple ท่ได้รับการสร้างให้ทางานกับชุดคาส่งของ ไมโคร

โพรเซสเซอร์Apple A10 ในอดตโปรแกรมประยุกต์แต่ละโปรแกรมยังจะเขียนใหม่ให้ทางานเฉพาะ

แพลตฟอร์มเน่องจากแต่ละแพลตฟอร์มมีโปรแกรมอินเตอร์เฟซหน้าตาการใช้งานท่ต่างกัน ดังน้น




โปรแกรมของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลต้องมการเขียนให้ทางานกับ Windows ชุดหน่ง และทางานกับ



Apple Macintosh อีกชุดหนึ่ง แต่ในปัจจุบันก็ยังมีระบบเปิดหรือมาตรฐานด้านอินเตอร์เฟซยินยอมให้
บางโปรแกรมท�างานกับแพลตฟอร์มที่ต่างกันโดยผ่านโปรแกรมตัวกลางได้
ภายใต้การศึกษาชื่อ The Rise of the Platform Enterprise: A Global Survey ได้ศึกษา
2

แพลตฟอร์มของ 176 บริษัทท่วโลกและแบ่งประเภทแพลตฟอร์มออกตามลักษณะการให้บริการ
ซึ่งแพลตฟอร์มถูกแบ่งออกเป็น 4 ประเภทดังนี้
1) แพลตฟอร์มนวัตกรรม (Innovation Platform) เป็นแพลตฟอร์มที่เป็นระบบซึ่งวางขอบเ
ขตไว้กว้าง ๆ และเปิดให้ผู้อื่นสามารถเข้ามาพัฒนาต่อยอดงานหรือธุรกิจของตนเองได้ ทั้งยังสามารถน�า


มาวางบนแพลตฟอร์มต้งต้นท่ Innovation Platform ให้บริการได้ด้วย ยกตัวอย่างเช่น Apple iOS หรือ
Google Android ที่พัฒนาระบบขึ้นและยินยอมให้ผู้พัฒนาแอพพลิเคชั่น IOS และ Android สามารถ




นาแอพพลิเคช่นมาวางเพ่อให้บริการผู้ใช้งานรวมถึงจาหน่ายแอพพลิเคช่นผ่านแพลตฟอร์มของตนเองได้

2) แพลตฟอร์มกำรท�ำธุรกรรม (Transaction Platform) แพลตฟอร์มนี้ท�าหน้าที่เป็นตัวกลา


งระหว่างผู้ซ้อและผู้ขายโดยทาตัวเหมือนเป็นตลาดท่ให้ผู้ค้าเข้ามาวางสินค้าของตนเองและเปิดให้ผู้ซ้อ


สามารถเลือกผลิตภัณฑ์ที่แต่ละคนสนใจได้ด้วยตนเอง ยกตัวอย่างเช่น Grab ที่ท�าหน้าที่เป็นตัวกลางใน

การจับคู่ผู้ขับรถแท็กซ่กับผู้โดยสาร ผู้โดยสารสามารถกาหนดเส้นทางท่ต้องการไปและรับข้อมูลค่าโดยสาร





โดยประมาณซ่งทางฝั่งผู้ขับรถแท็กซ่เองก็จะรับทราบจุดหมายรวมถึงค่าโดยสารโดยประมาณท่จะได้และ
มีสิทธิ์เลือกว่าจะรับผู้โดยสารที่ก�าลังเรียกผ่านแอปพลิเคชันหรือไม่รับได้ด้วย
3) แพลตฟอร์มบูรณำกำร (Integration Platform) ให้บริการคล้ายกับ Innovation platform






และ Transaction Platform ผสมผสานกนโดยมลักษณะเป็นตลาดกลางให้ผู้พฒนาผลตภณฑ์ท่เป็น
นวัตกรรมซึ่งเป็นบริษัทที่มีสเกลการท�างานใหญ่ขึ้นได้มีโอกาสมาพบกันและร่วมมือกันท�างาน
2 Peter C. Evans, Annabelle Gawer, The Rise of the Platform Enterprise: A Global Survey,.
(New York, NY : The Center for Global Enterprise, 2016)

52 พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

4) แพลตฟอร์มกำรลงทุน (Investment Platform) เน้นให้บริการกับเหล่านักลงทุน โดยผู้
ใช้งานสามารถเข้าไปศึกษาข้อมูลและเลือกลงทุนผ่านแพลตฟอร์มที่สร้างขึ้นซึ่งรวดเร็วและอ�านวยความ
สะดวกให้แก่ทั้งสองฝ่าย

DO NOT COPY

ภาพที่ 3.1 ประเภทของแพลตฟอร์ม

ธุรกิจในทุกวันน้ บริษัทยักษ์ใหญ่ของโลก เช่น Alibaba, Apple, Facebook, Google, Microsoft,

eBay หรือ Visa ล้วนท�าธุรกิจในรูปแบบที่เรียกว่า Platform หรือบางคนเรียกว่าธุรกิจแบบ “การจับคู่”
(Matchmakers) รวมทั้งบริษัทสตาร์ทอัพที่มีชื่ออย่าง Airbnb, Wikipedia หรือ Uber ธุรกิจเหล่านี้มีสิ่ง
ที่คล้ายกัน คือเป็นตัวเชื่อมระหว่างคนกลุ่มหนึ่ง เช่น คนที่ก�าลังหารถโดยสาร กับคนอีกกลุ่มหนึ่ง คือ คน

ขับรถที่ก�าลังมองหาผู้โดยสาร








ในบทนจะกล่าวถงแพลตฟอร์มด้านซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เป็นหลก ซงเป็นหนงในแพลตฟอร์ม
ประเภทแพลตฟอร์มนวัตกรรม (Innovation Platform)
3.3 ซอฟต์แวร์
3.3.1 ควำมหมำยของซอฟต์แวร์




ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรม คือชุดคาส่งท่เขียนข้นเพ่อส่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน และยังใช้เป็นตัว





เช่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับเคร่องคอมพิวเตอร์ หากไม่มีซอฟท์แวร์ภายในเคร่องคอมพิวเตอร์



3


คอมพิวเตอร์ก็จะไม่สามารถทางานใด ๆ ได้ ซ่งซอฟต์แวร์จะเป็นรายละเอียดของกลุ่มชุดคาส่ง (Instructions)
3 ฝ่ายผลิตหนังสือต�าราวิชาการคอมพิวเตอร์, คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติกำรเบื้องต้น, (กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด
ยูเคชั่น, 2551), หน้า 21.

บทที่ 3 แพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์ 53





หรือข้นตอนการทางานท่ถูกประมวลผลโดย CPU ท่ควบคุมการปฏิบัติการของเคร่องคอมพิวเตอร์ หน้าท ่ ี

ของซอฟต์แวร์มีดังนี้
1) จัดการเกี่ยวกับทรัพยากรภายในองค์กร
2) เป็นเครื่องมือในการสร้างความได้เปรียบของทรัพยากรที่มีต่อคู่แข่งขัน
DO NOT COPY
3) กระท�าเป็นสื่อกลางระหว่างองค์การและการเก็บสารสนเทศภายในหน่วยงาน







โปรแกรมซอฟต์แวร์ (Software Programs) เป็นชุดคาส่งท่เขียนข้นมาเพ่อส่งให้เคร่องคอมพิวเตอร์
ท�างานตามค�าสั่ง (Coding Programs) ค�าสั่งที่เขียนขึ้นอาจใช้ภาษาทางคอมพิวเตอร์ที่ต่างกัน โปรแกรม

ซอฟต์แวร์โดยส่วนใหญ่จะเขียนจากนักโปรแกรม (Programmer) ซ่งการเขียนโปรแกรมจะต้องอาศัยทัศนะ

และความชานาญในการเขียน โดยผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเข้าใจระบบการวางผังโปรแกรม (Programming
Flow System) ซึ่งออกแบบโดยนักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) นักโปรแกรมจึงต้องพิจารณาถึง
ภาษาที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม หรือบางครั้งอาจจะถูกก�าหนดโดยนักวิเคราะห์ระบบหรือผู้ว่าจ้างให้
เขียนด้วยภาษาใดภาษาหนึ่ง

ในปัจจุบัน พบว่าซอฟต์แวร์มีบททบาทมากกว่าการเป็นผลิตภัณฑ์ (Product) ชนิดหน่งท่ช่วยพิมพ์




งานเอกสาร ช่วยคานวณ หรือช่วยสร้างงานกราฟฟิก และอ่น ๆ ท่ต้องการได้ เพราะซอฟต์แวร์ยังมีบทบาท








ในการเป็นเครองมอทช่วยผลตและช่วยควบคมซอฟต์แวร์ชนดอน ๆ ได้เช่นกน (ได้แก่ ซอฟต์แวร์ทใช้





เขียนโค้ดของภาษาโปรแกรมมิ่งต่าง ๆ หรือ Editor เช่น Visual Studio, Google Android Studio,
EditPlus ฯลฯ)
3.3.2 ประเภทของซอฟต์แวร์
จากบทบาทท่เปล่ยนไปของซอฟต์แวร์ต้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน จึงสามารถแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์



ตามวัตถุประสงค์การใช้งานออกเป็น 7 กลุ่ม ดังนี้
4

1) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟต์แวร์ท่ประกอบไปด้วยกลุ่มของโปรแกรม




ย่อยท่ถูกเขียนข้นมาเพ่อให้บริการโปรแกรมอ่น ไม่ว่าจะเป็นการจัดการระบบ (เช่น ซอฟต์แวร์ระบบ
ปฏิบัติการ) สนับสนุนการท�างานอรรถประโยชน์อื่น ๆ (เช่น ซอฟต์แวร์กู้ข้อมูล จัดเรียงหน่วยความจ�า
หรือ Editor เป็นต้น) ตลอดจนตัวแปลภาษา (Compiler)
2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ที่ท�าให้คอมพิวเตอร์

สามารถทางานต่าง ๆ ตามท่ผู้ใช้ต้องการ ทาให้มีการประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์กันอย่างกว้างขวาง


ซอฟต์แวร์ท่ถูกออกแบบให้รับรองการทางานหรือกิจกรรมหลายด้านเพ่อประโยชน์ของผู้ใช้ เช่น ซอฟต์แวร์






ประมวลผลคา ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล ซอฟต์แวร์นาเสนอ ซอฟต์แวร์
กราฟิก ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล เป็นต้น
4 กิตติ ภักดีวัฒนะกุล, วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering), พิมพ์ครั้งที่ 3, (กรุงเทพฯ : เคทีพี
คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2550), หน้า 11.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด