โครงการส่งเสริมสุขภาพ ในครอบครัว

ทั้งนี้ไม่รวมถึงการเฝ้าระวัง และการป้องกันไม่ให้ผู้ที่ป่วยมีอาการแทรกซ้อนหรือการชะลอความรุนแรงของการป่วย โดยให้ถือว่าบริการดังกล่าวเป็นกิจกรรมด้านการรักษาพยาบาล

เป้าหมาย

ประชาชนไทยทุกสิทธิ ได้แก่ ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ผู้มีสิทธิประกันสังคม ผู้มีสิทธิสวัสดิการข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ/เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสิทธิอื่นๆ ย่อมมีสิทธิเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามราชกิจจานุเบกษาเรี่องประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข พ.ศ.2565 ของประชาชนแต่ละกลุ่มวัย

รายการหรือกิจกรรมบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (สิทธิประโยชน์) ที่ประชาชนทุกสิทธิจะได้รับ แยกตามกลุ่มวัยเป็น 5 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มเด็กเล็กอายุ 0 - 5 ปี กลุ่มเด็กโตและวัยรุ่นอายุ 6 - 24 ปี กลุ่มผู้ใหญ่อายุ 25 - 59 ปี และกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ทั้งนี้การจัดบริการตามรายการหรือกิจกรรมบริการ หน่วยบริการจะดำเนินการตามแนวทางหรือแนวเวชปฏิบัติ และมาตรฐานบริการที่กำหนดโดยกรมวิชาการของกระทรวงสาธารณสุขหรือราชวิทยาลัยหรือสมาคมวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง โดยมีรายละเอียดดังนี้

กิจกรรมบริการที่จะได้รับ

  • กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
  • กลุ่มเด็กเล็กอายุ 0-5 ปี
  • กลุ่มเด็กโตและวัยรุ่นอายุ 6-24 ปี
  • กลุ่มผู้ใหญ่อายุ 25-59 ปี
  • กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป

หากมีข้อสงสัยในการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สิทธิบัตรทอง) สอบถามเพิ่มเติม สายด่วน สปสช. 1330 (ตลอด 24 ชม.)

6.  การสื่อสารต่อสารธารณะ ที่สร้างการรับรู้ปฏิบัติการที่ดีงามของชุมชน แก่คนที่อยู่นอกชุมชน ทำให้เกิดการสนับสนุนเพิ่มเติม ที่สร้างความเชื่อมั่นในคุณค่าของงานที่ทำ และทำให้เกิดการคิดงานต่อยอดให้กับกลไกทำงาน และคนในชุมชนได้

เนื่องจากปัจจุบันคนเราให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพน้อยลง ผู้คนเจ็บป่วยมากขึ้น หลายๆปัจจัยที่ทำให้เกิดมาจาก ขาดความดูแลเอาใจใส่ ไม่มีความรู้เพียงพอ ซึ่งหากสุขภาพไม่ดีแล้ว หลายๆปัญหาก็จะเริ่มเข้ามาเรื่อยๆ การพัฒนาสุขภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่ทำให้ปัญหาเหล่านั้นหมดไป ซึ่งทางแก้ไขก็อาจมีได้หลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับว่าใครชอบแบบไหน แต่โครงการนี้จะลองหยิบยกขึ้นมาเพียงหนึ่งวิธีการเพื่อพัฒนาคนในชุมชน และเป็นไปว่าหากโครงการนี้ไปด้วยดี ก็จะสามารถดำเนินโครงการได้หลากหลายรูปแบบมากขึ้นไป เหตุที่ต้องส่งเสริมสุขภาพและครอบครัวในชุมชนในชุมชนมีเหตุมาจากอยากให้คนไทยนั้นมีสุขภาพที่แข็งแรง มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้นและช่วยบุคคลเหล่านั้นประหยัดค่าใช้จ่ายและประหยัดเวลาในการเดินทาง และยังช่วยทรงเสริมความรักและความเข้าใจของครอบครัวและเพื่อนอีกด้วย

3.               วัตถุประสงค์

-เพื่อให้คนหันมารักสุขภาพตัวเองมากขึ้น

-เพื่อให้คนเห็นความสำคัญของการมีสุขภาพดี

-เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ของคนในชุมชนให้ดียิ่งขึ้น

-เพื่อพัฒนาสุขภาพจิตใจ

-เพื่อให้เด็กไทยได้ใช้เวลาให้มีคุณค่า ไม่หมกมุ่นกับอบายมุข

-เพื่อลดค่าใช้จ่ายของแต่ละครอบครัวลง

4.               กลุ่มเป้าหมาย

คนที่อาศัยอยู่ในชุมชนทุกคน

5.               วิธีดำเนินการ

1.               เริ่มทำการสำรวจกิจกรรมที่คนในชุมชนอยากให้มีมากที่สุด

2.               หาพื้นที่ที่ไร้มลพิษและโปร่งโล่งเพื่อเป็นสถานที่ในการจัดกิจกรรม

3.               หาคนที่มีประสบการณ์ด้านกิจกรรมใดๆก็ตามเพื่อมาเป็นวิทยากรให้คำแนะนำให้กับคนในชุมชน

4.               มีการอบรมด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกวิธี

6.               ระยะเวลาดำเนินการ

ในระยะเวลาเดือนแรกที่จัดโครงการขึ้นหากได้ผลตอบรับที่ดีก็จะมีการจัดทำโครงต่อไป และจะพัฒนาให้ดีขึ้นเพื่อนให้ผู้ที่มาเข้าไม่เบื่อ ถ้าหากผลตอบรับที่ออกมาไม่ดีเท่าที่ควรจะเริ่มทำแบบสอบถามใหม่ว่าอะไรคนในชุมชนคิดว่าไม่ดีหรือต้องการมากขึ้น

7.               สถานที่ดำเนินการ

เป็นบริเวณลานโล่งที่ห่างไกลจากมลพิษ อากาศต้องปลอดโปร่งและต้องเป็นที่ที่ใกล้กับชุมชน เพื่อที่จะทำให้คนในชุมชนสามารถเดินทางได้สะดวก

8.               งบประมาณ

-การจัดทำแบบสอบถาม                               1,500       บาท

-ค่าจัดหาอุปกรณ์                                           1,000     บาท

-ค่าสถานที่                                                     2,000     บาท

-อื่นๆ                                                              1,000     บาท

9.               ผลที่คาดว่าจะได้รับ

คนในชุมชนมีสุขภาพที่ดีขึ้น คนอยากออกมาทำกิจกรรมร่วมกันเพราะกิจกรรมที่จัดขึ้นเป็นกิจกรรมที่พวกเขาได้ร่วมกันลงความเห็นว่าอยากจะทำมากที่สุด ผู้คนต่างรู้จักกันมากขึ้นทำให้สามารถช่วยเหลือกันได้ความสัมพันธ์ในครอบครัวจะดีขึ้น เยาวชนจะไม่เสียเวลาโดยเปล่าประโยชน์