แบบฝึกหัด หน่วย ที่ 2 โครงงานวิทยาศาสตร์

Just for you: FREE 60-day trial to the world’s largest digital library.

The SlideShare family just got bigger. Enjoy access to millions of ebooks, audiobooks, magazines, and more from Scribd.

Read free for 60 days

Cancel anytime.

ข้นั ตอนการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ | หนา้ 1

แนวทางการศึกษาชุดการเรยี นรู้

การศกึ ษาเนือ้ หาสาระของหนว่ ยนใ้ี หน้ กั เรียนปฏบิ ัตดิ งั นี้
1. ศึกษาขอบข่ายเนื้อหา สาระสำคัญ และจดุ ประสงค์การเรยี นรู้
2. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน
3. ศึกษาเน้ือหาสาระโดยละเอียดในแตล่ ะเรื่องและทำกจิ กรรม
4. ทำแบบทดสอบหลงั เรียน เพ่ือตรวจสอบผลการเรียนรู้

ถ้าได้คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 80 ให้กลบั ไปศึกษาใหม่
จนกวา่ จะได้คะแนนไมต่ ่ำกวา่ รอ้ ยละ 80
5. ไมค่ วรเปิดดเู ฉลยก่อนทำแบบทดสอบ

ข้ันตอนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ | หน้า 2

ขอบขา่ ยของเน้ือหา สาระสำคัญและจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

➢ ขอบขา่ ยของเนอ้ื หา
เรอื่ งท่ี 1 วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์
เรือ่ งที่ 2 ข้นั ตอนการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์

➢ สาระสำคัญ
1. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ใช้ในการคันหาคำตอบหรือข้อเท็จจริงของธรรมชาติมีลำดับ

ขั้นตอนเริ่มตั้งแต่การสังเกต การตั้งสมมุติฐาน การทดสอบสมมุติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล การนำเสนอขอ้ มูล การตีความหมายข้อมลู และการสรปุ ผลโดยท่จี ำเป็นต้องมี
การ ทดลองซำ้ เพอ่ื ตรวจสอบให้มคี วามถูกต้องเช่อื ถอื ไดจ้ ึงจะลงข้อสรุป

2. ขั้นตอนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย การคิดและเลือกหัวข้อโครงงาน
การศึกษาเอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง การจัดทำโครงงาน การลงมอื ทำโครงงาน การเขียนรายงาน
➢ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
เม่ือศึกษากิจกรรมการเรียนรูโ้ ครงงานวิทยาศาสตร์แล้วผูเ้ รยี นสามารถ

1. อธบิ ายกระบวนการแก้ปัญหาด้วยวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้
2. อธบิ ายสรปุ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ได้
3. อธิบายขนั้ ตอนของการทำโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้

ข้ันตอนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ | หนา้ 3

เร่อื งที่ 1 การแสวงหาความร้ดู ้วยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์

การทำโครงงานวิทยาศาสตร์นกั เรยี นจำเปน็ ตอ้ งใช้ทกั ษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ เปน็ เครื่องมือในการใช้สืบเสาะหาความจรงิ ซึ่งทักษะท่ี 1-8 เป็นทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ขัน้ พื้นฐาน และ ทักษะ 9-13 เปน็ ทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตรข์ ั้นสูงหรือขนั้ ผสม ดังนี้

1. ทักษะการสงั เกต (Observing)
2. ทักษะในการวดั (Measuring)
3. ทักษะการจำแนกประเภท (Classifying)
4. ทกั ษะการหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปสกับเวลา (Using Space / Time Relationships)
5. ทักษะการใช้ตวั เลข (Using Numbers)
6. ทกั ษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมลู (Organizing Data and Communication)
7. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring)
8. ทักษะการพยากรณ์ (Predicting)
9. ทักษะการตั้งสมมตฐิ าน (Formulating Hypotheses)
10. ทักษะการกำหนดนยิ มเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Defining Operationally)
11. ทกั ษะการกำหนดและควบคุมตวั แปร (Identifying Controlling Variables)
12. ทกั ษะการทดลอง (Experimenting)
13. ทกั ษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรปุ (Interpreting Data and Making Conclusion)

วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์

กระบวนการทำงานของนักวทิ ยาศาสตร์ใช้วิธีการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการแกป้ ญั หา
และค้นพบความรู้ความจริงในธรรมชาตปิ ระกอบดว้ ยขัน้ ตอนกระบวนการดังนี้

1. การสังเกต
2. การตั้งสมมุตฐิ าน
3. การออกแบบการทดลอง
4. การทำการทดลอง
5. การบนั ทึกผลการศึกษาทดลอง
6. การจัดกระทำข้อมูลและการแปลความหมายขอ้ มลู
7. การสรปุ ผลการทดลอง

ขัน้ ตอนการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ | หนา้ 4

เรือ่ งที่ 2 ขนั้ ตอนในการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์

การทำโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เปน็ กิจกรรมต่อเน่อื งและมีการ
ดำเนินงานหลายขน้ั ตอน ตง้ั แต่เริม่ ตน้ จนถึงข้ันตอนสดุ ท้ายสรุปได้ดังนี้

การทำโครงงานมี 5 ข้นั ตอน
1. เลอื กหัวข้อโครงาน
2. การศกึ ษาเอกสารทเ่ี ก่ยี วข้อง
3. จดั ทำเคา้ โครงงาน
4. ลงมือทำโครงงาน
5. เขียนรายงาน
6. จัดแสดงผลงาน

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง ข้ันตอนสำคัญดังนี้
1. กำหนดปญั หา
2. ตง้ั สมมติฐาน
3. ออกแบบการทดลอง
4. ดำเนินการทดลอง
5. รวบรวมข้อมูล
6. แปลความหมายข้อมลู

โครงงานประเภทสำรวจ เปน็ การสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมลู แล้วนำมาจำแนก
เปน็ หมวดหมู่ นำเสนอในรปู แบบตา่ ง ๆ เพื่อใหเ้ ห็นเป็นลกั ษณะหรือความสัมพันธ์ของเรื่องท่ี
ศกึ ษาไดช้ ัดแจนประกอบด้วยขั้นตอนดงั น้ี

1. สำรวจข้อมลู ภาคสนาม หรือข้อมูลท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น การสำรวจชนิดของพชื
หรอื สตั ว์

2. สำรวจรวบรวมข้อมลู จากธรรมชาติ มาวเิ คราะหด์ ้วยเทคนิคตา่ ง ๆ ในห้องปฏบิ ัตกิ าร
เช่น สำรวจพษิ ในสารอาหาร ผลไม้

3. สำรวจและรวบรวมข้อมูลโดยจำลองแบบจากธรรมชาติ เช่น การศกึ ษาพฤตกิ รรมการ
กนิ อาหารของนกเอย้ี งหงอน

ข้ันตอนการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ | หนา้ 5

บรรณานกุ รม

ถวลั ย์ มาศจรสั และมณี เรืองขำ. แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (Project)
เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรผู้ ้เู รียน. กรุงเทพมหานคร : สำนกั พิมพ์ธารอกั ษร จำกัด, 2549.

บรู ชยั ศริ ิมหาสาคร. การทำโครงงานวิทยาศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร: บุ๊ค พอยท,์ 2548.
ประดษิ ฐ์ เหลา่ เนตร.์ เทคนคิ การสอนและการทำโครงงานวิทยาศาสตรร์ ะดับประถมศึกษา และ

มัธยมศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัทเซน็ เตอร์ ดสี คัฟเวอรี จำกดั , 2542.
ภพ เลาหไพบลู ย.์ แนวการสอนวิทยาศาสตร์. พิมพ์ครัง้ ท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร :

ไทยวฒั นาพานิช จำกัด, 2542.
วิมลศรี สวุ รรณรัตน.์ กระบวนการเรียนรูโ้ ครงงานวิทยาศาสตร์. สารปฏริ ปู . ปีที่ 2 ฉบับท่ี 15

(มถิ นุ ายน), 2542.
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือวัดผลประเมนิ ผลวิทยาศาสตร์.

กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยเู คช่ัน, 2555.
สำนกั งานคณะกรรมการการมัธยมศึกษาแห่งชาต.ิ การจัดการเรียนรสู้ ู่ความเปน็ เลิศด้าน

วิทยาศาสตร.์ กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา, 2542.