ข้อสอบ เชื่อม อา ร์ ก. ด้วยลวดเชื่อมหุ้ม ฟ ลัก ซ์

ข้อสอบ เชื่อม อา ร์ ก. ด้วยลวดเชื่อมหุ้ม ฟ ลัก ซ์
ข้อสอบ เชื่อม อา ร์ ก. ด้วยลวดเชื่อมหุ้ม ฟ ลัก ซ์

ข้อสอบ เชื่อม อา ร์ ก. ด้วยลวดเชื่อมหุ้ม ฟ ลัก ซ์

  • คำบรรยายสินค้า

รายละเอียด

ชื่อหนังสือ เชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ 2

ชื่อผู้แต่ง สุเทพ นุชิต และมีชัย คองประชุม

สำนักพิมพ์ บริษัท พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำกัด

จำนวนหน้า 231 หน้า

ราคา 124 บาท

รหัสวิชา 20103-2002

รหัสสินค้า 978-616-05-4924-5

รายละเอียดสินค้า

ปฏิบัติเกี่ยวกับเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ แผ่นเหล็กกล้าคาร์บอน งานเชื่อมต่อชนทุกตำแหน่ง
ท่าเชื่อมตามมาตรฐานสากล งานตรวจสอบแนวเชื่อมด้วยวิธีพินิจ โดยใช้อุปกรณ์ถูกต้องตามหลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

  • Views: 1515
  • รหัสสินค้า: 978-616-05-4924-5
  • สถานะสต๊อก: In Stock
  • 124.00฿

Page 71 - จันทร์จืรา เดชแพง

P. 71

ข้อสอบ เชื่อม อา ร์ ก. ด้วยลวดเชื่อมหุ้ม ฟ ลัก ซ์

โครงการสอนรายสัปดาห์


                                 วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น รหัสวิชา 2100 – 1005


                                                                                    เวลาเรียน(ชั่วโมง)
                      สัปดาห์ที่              ชื่อหน่วยและรายการสอน                                   รวม
                                                                                    ทฤษฏี  ปฏิบัติ

                          1     หน่วยที่ 1 งานเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

                                   1.1  ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อม      2

                                         หุ้มฟลักซ์
                                   1.2  หลักการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

                                   1.3  การประกอบและติดตั้งอุปกรณ์งานเชื่อมไฟฟ้า

                                          ด้วยลวดหุ้มฟลักซ์

                                        แบบฝึกหัดหลังเรียน
                                        เฉลยแบบฝึกหัดหลังเรียน

                                        แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน

                                        เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
                                   ใบฝึกทักษะปฏิบัติที่ 1 งานประกอบและติดตั้งอุปกรณ์           2       4

                                งานเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์

                          2     หน่วยที่ 1 งานเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (ต่อ)

                                   1.4  เครื่องเชื่อม  เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเชื่อม   2
                                         ไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

                                   1.5  การเริ่มต้นอาร์ก

                                        แบบฝึกหัดหลังเรียน
                                        เฉลยแบบฝึกหัดหลังเรียน

                                        แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน

                                        เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน

                                   ใบฝึกทักษะปฏิบัติที่  2 งานเริ่มต้นอาร์กและเชื่อมจุด        2       4

แผนการสอน/การจัดการเรยี นรู้แบบม่งุ เนน้ สมรรถนะอาชพี
และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหสั วิชา 20103-2002 วชิ า เชือ่ มอาร์คดว้ ยลวดเชอื่ มหมุ้ ฟลกั ซ2์
หลักสตู ร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี พ.ศ. 2562
ประเภทวิชา ช่างอุตสาหกรรม

จัดทาโดย
นายอนวุ ัฒน์ แกระหัน

ตาแหนง่ ครพู เิ ศษสอน
แผนกวิชา ช่างเชอ่ื มโลหะ

ภาคเรยี นที่ ...1... ปีการศึกษา .....2563......
ฝ่ายวชิ าการ วทิ ยาลัยเทคนคิ สวา่ งแดนดิน
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

คานา

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชางานเช่ือมอาร์คด้วยลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์2 รหัสวิชา 20103-2002 จัดทา
ข้ึนเพ่ือใช้เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน มีเนื้อหาตรงตามจุดประสงค์และคาอธิบายรายวิชา หลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุ ทธศักราช 25 56 ของสานักงานคณ ะกรรมการการอาชีวศึกษ า
กระทรวงศกึ ษาธิการ ซ่งึ เนน้ ให้ครูผสู้ อน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ใหผ้ ้เู รียนมีคุณลักษณะ ดังนี้

1. ผเู้ รยี นได้เรียนรู้จากการปฏบิ ตั ิจริง
2. ผเู้ รียนมโี อกาสเลือกเรยี นรู้ในสง่ิ ทีต่ นถนดั และสนใจ
3. ผูเ้ รียนไดม้ ีโอกาสแสวงหาความร้แู ละสรา้ งองค์ความรดู้ ว้ ยตัวเอง
4. ผู้เรียนไดม้ โี อกาสทจ่ี ะนาความร้ไู ปปฏบิ ัตใิ ชจ้ รงิ ในชีวติ ประจาวัน
5. ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการประเมนิ ผลการเรียนรู้ของตนเอง
เนื้อหาในแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย มาตรฐานสมรรถนะและตัวบ่งชี้ หมวดวิชาชีพสาขาวิชา
ช่างเช่ือมโลหะ ลักษณะรายวิชา ตารางวิเคราะห์หลักสูตร กาหนดการสอนที่บูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม
คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
ผจู้ ัดทาขอขอบคุณทกุ ทา่ นทม่ี ีส่วนเก่ยี วขอ้ ง จนแผนการจัดการเรียนรเู้ ล่มนี้เสรจ็ สมบูรณ์ ประโยชน์อันใด
ท่ีได้จากแผนการจดั การเรียนร้เู ลม่ นี้ ขอมอบใหก้ ับการศึกษาไทยต่อไป

ลงชอ่ื ……………………………………..
( นายอนวุ ัฒน์ แกระหัน )

ขก

สารบัญ

หน้า

คานยิ ม ................................................................................................................................. ........

คานา................................................................................................................................... ก

สารบญั ................................................................................................................................. ข

ลกั ษณะรายวชิ า.................................................................................................................... 1

ตารางวิเคราะห์สมรรถนะการเรียนรู้.................................................................................... 2-5

ตารางวเิ คราะห์หลักสตู ร …………………………………………………........................ 6

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวชิ าโดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7

โครงการสอนหรอื โครงการจดั การเรียนรู้ ………………………………………………... 8

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 ความปลอดภยั ในงานเช่ือม 9-25

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 ตาแหน่งทา่ เช่ือมและชนดิ รอยตอ่ แนวเชอ่ื ม 26-42

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 กระบวกการเช่ือมไฟฟา้ ดว้ ยลวดเชอ่ื มหุม้ ฟลกั ซ์ 43-58

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 องค์ประกอบการเชือ่ มไฟฟา้ ด้วยลวดเชือ่ มหมุ้ ฟลกั ซ์ 59-75

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 ลวดเชื่อมเช่ือมไฟฟ้าหุม้ ฟลกั ซ์ 76-94

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 6 งานเชอื่ มแกส๊ 95-111

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 7 เปลวทีใ่ ชใ้ นการเช่อื มแกส๊ ลวดเชื่อมแกส๊ และระบบการจ่ายแกส๊ ........

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 8 งานตดั โลหะด้วยแก๊ส ........

ลกั ษณะรายวชิ า

รหัสวิชา ...........20103-2002............ ชื่อวิชา ..............งานเชอ่ื มอาร์คดว้ ยลวดเชื่อมหุม้ ฟลักซ์2 .............
จานวนหนว่ ยกิต .....2......หนว่ ยกิต จานวนชวั่ โมงตอ่ สัปดาห์.......6.......ชัว่ โมง รวม ......108......ชวั่ โมงตอ่ ภาคเรียน

จดุ ประสงค์รายวิชา

1. เพอ่ื ใหส้ ามารถปฏบิ ัตงิ านเชื่อมอาร์กลวดเชือ่ มหุ้มฟลักซ์ งานเริ่มตน้ อารก์ งานเชื่อมเดนิ แนว
งานตอ่ แนวเชื่อม งานเช่อื มพอก งานเช่ือมรอยต่อชน รอยตอ่ เกย รอยตอ่ ตวั ทีในตาแหน่งท่าราบ

2. เพื่อใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิงานเชอื่ มแก๊ส งานปรบั เปลวไฟเช่อื ม งานสร้างบอ่ หลอมเหลว งานเชอ่ื ม
เดินแนวแบบ Forehand รอยต่อมุม รอยตอ่ ชนในตาแหน่งท่าราบ

3. เพ่อื ให้สามารถปฏิบัติงานตดั แก๊สดว้ ยมอื และเคร่ืองตัดอตั โนมัติ
4. มีกิจนิสัยในการทางานท่ีดี ปฏบิ ัตกิ ารเช่อื ม โดยใชอ้ ุปกรณ์ความปลอดภยั ส่วนบุคคล

สมรรถนะรายวิชา

1. เชื่อมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลกั ซ์แผ่นเหล็กกลา้ งานเร่ิมตน้ อาร์ก งานเช่อื มเดนิ แนว
งานตอ่ แนวเชื่อม งานเช่ือมพอก งานเช่อื มรอยต่อชน รอยต่อเกย รอยตอ่ ตัวทีในตาแหนง่ ท่าราบ
ตามหลักการและกระบวนการ

2. เชือ่ มแก๊สแผน่ เหลก็ กล้า งานปรบั เปลวไฟเชอ่ื ม งานสรา้ งบ่อหลอมเหลว งานเช่อื ม
เดินแนวแบบ Forehand รอยตอ่ มุม รอยต่อชนในตาแหนง่ ทา่ ราบ ตามหลกั การและ
กระบวนการ

3. ตดั แกส๊ แผ่นเหล็กกล้า ด้วยมอื และเครื่องตัดอัตโนมัตติ ามแบบกาหนด

คาอธบิ ายรายวชิ า

ปฏิบัติเก่ียวกับงานเช่ือมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ เหล็กกล้าคาร์บอน งานเร่ิมต้นอาร์ก งานต่อแนว
เช่ือม งานเชื่อมพอก งานเช่ือมรอยต่อชน รอยต่อเกย รอยต่อตัวที ในตาแหน่งท่าราบ และงานเชื่อมเดินแนว
ทุกตาแหน่งท่าเช่ือม งานเชื่อมแก๊ส งานปรับเปลวไฟเชื่อม งานสร้างบ่อหลอมเหลว งานเช่ือม เดินแนว
รอยต่อมุม รอยต่อชนแบบ Forehand ทุกตาแหน่งท่าเช่ือม งานตัดด้วยแก๊ส โดยใช้อุปกรณ์ถูกต้องตามหลัก
ความปลอดภยั และอาชวี อนามัย

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะการเรียนรู้

รหัสวชิ า ...........20103-2002............ ชอื่ วิชา ..............งานเชอ่ื มอาร์คด้วยลวดเช่ือมห้มุ ฟลักซ์2 .............
จานวนหนว่ ยกิต .....2......หนว่ ยกิต จานวนชวั่ โมงตอ่ สัปดาห.์ ......6.......ชวั่ โมง รวม ......108......ชั่วโมงตอ่ ภาคเรยี น

หน่วยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้

หนว่ ยการสอนที่ 1. 1. ด้านความรู้
ชอื่ หน่วยการสอน ความปลอดภยั ในงานเช่อื ม 1. ความปลอดภัยทั่วไปในงานเช่อื ม
2. ความปลอดภัยในงานเชื่อมแก๊ส
1. ความปลอดภัยทัว่ ไปในงานเชอื่ ม 3. ความปลอดภัยในงานเช่ือมไฟฟ้า
2. ความปลอดภยั ในงานเช่อื มแก๊ส
3. ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟา้ 2. ด้านทักษะหรือการประยกุ ตใ์ ช้
1. ปฏิบัติตามกฎของโรงงานได้อยา่ งเคร่งครัด
หนว่ ยการสอนที่ 2. 2. บอกวธิ ีปอ้ งกันอุบตั ิเหตุในงานเชื่อมแกส๊ และ
ชอ่ื หน่วยการสอน ตาแหน่งท่าเชื่อมและชนิด
รอยต่อแนวเชื่อม เช่อื มไฟฟ้าได้
3. บอกวิธีการป้องกนั อุบัติเหตใุ นงานโลหะแผ่นได้
1. ตาแหนง่ ท่าเช่ือม
2. รอยตอ่ และชนดิ ของรอยตอ่ 3. ดา้ นคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลักษณะท่ีพึง
ประสงค์และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
1. ความมมี นุษยสัมพันธ์
2. ความมีวินัย
3. ความรับผดิ ชอบ

1. ด้านความรู้
1. ตาแหน่งทา่ เชอ่ื ม
2. รอยตอ่ และชนิดรอยต่อ

2. ดา้ นทักษะหรือการประยกุ ตใ์ ช้
1. รู้ชนิดและการใช้งานแนวเช่ือมแบบต่าง ๆ
2 รชู้ นิดและการใช้งานของรอยตอ่ แบบต่าง ๆ ใน
งานเชื่อม
3. จาแนกลกั ษณะตาแหนง่ ท่าเชือ่ มของรอยตอ่ ต่าง

3. ดา้ นคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลกั ษณะที่พงึ
ประสงคแ์ ละบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะการเรียนรู้

รหัสวชิ า ...........20103-2002............ ช่อื วชิ า ..............งานเช่ือมอาร์คดว้ ยลวดเช่ือมหมุ้ ฟลักซ์2 .............
จานวนหนว่ ยกิต .....2......หนว่ ยกติ จานวนชว่ั โมงตอ่ สัปดาห.์ ......6.......ชัว่ โมง รวม ......108......ชวั่ โมงต่อภาคเรยี น

หน่วยการสอน สมรรถนะการเรยี นรู้

หนว่ ยการสอนที่ 3. 1. ดา้ นความรู้

ชื่อหน่วยการสอน กระบวกการเชื่อมไฟฟ้าดว้ ย 1. กระบวนการเชอ่ื มแกส๊

ลวดเชือ่ มหุ้มฟลกั ซ์ 2. ชนดิ ของแก๊ส

1. หลักการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเช่ือมหุ้มฟลกั ซ์ 3. อุปกรณ์ในงานเชือ่ มแก๊ส

2. เคร่ืองเชือ่ มไฟฟา้ ตามลกั ษณะพน้ื ฐาน 2. ดา้ นทกั ษะหรือการประยกุ ตใ์ ช้

3. รอบทางานของเครื่องเชื่อม 1. รูห้ ลกั งานของการเชื่อมแก๊ส

4. อปุ กรณ์ท่ีใชก้ บั งานเชื่อมไฟฟา้ 2. ร้ชู นดิ ของแก๊สเช้ือเพลงิ ตา่ ง ๆ

5. ลาดบั ข้นั ในการเตรยี มงานเชอื่ มไฟฟ้า 3. รู้ชนดิ และหลกั การทางานของเครือ่ งมอื อุปกรณ์

เชือ่ มออกซิ–อะเซทิลีน

3. ด้านคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลักษณะที่พงึ

ประสงค์และบูรณาการตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ

พอเพียง

หน่วยการสอนที่ 4. 1. ดา้ นความรู้

ช่ือหน่วยการสอน องคป์ ระกอบการเช่ือมไฟฟา้ 1. กระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเช่อื มสารพอก

ด้วยลวดเช่อื มห้มุ ฟลกั ซ์ หมุ้

1. การเลอื กลวดเชอ่ื มให้เหมาะสมกับงาน 2. อุปกรณ์ในงานเชอ่ื ม

2. เทคนิควิธีการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อม 2. ด้านทกั ษะหรือการประยุกตใ์ ช้

หุม้ ฟลักซ์ 1. รหู้ ลกั การของงานเชือ่ มอาร์กดว้ ยลวดเช่ือมสาร

3. การเริ่มตน้ และสิน้ สดุ รอยเชอื่ ม พอกห้มุ

4. การต่อรอยเชอื่ ม 2. รชู้ นดิ ของกระแสไฟและวงจรการเชอ่ื มอารก์ ดว้ ย

5. การสา่ ยลวดเชอื่ ม ลวดเช่ือมสารพอกหุ้ม

3. รู้ชนดิ และหลกั การทางานของเครื่องมืออปุ กรณ์

เชือ่ มอาร์กด้วยลวดเชื่อมสารพอกหมุ้

3. ดา้ นคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลกั ษณะท่ีพงึ

ประสงคแ์ ละบูรณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ

พอเพียง

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะการเรียนรู้

รหัสวิชา ...........20103-2002............ ชื่อวชิ า ..............งานเช่ือมอาร์คดว้ ยลวดเช่ือมหมุ้ ฟลกั ซ์2 .............
จานวนหนว่ ยกติ .....2......หนว่ ยกติ จานวนชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห.์ ......6.......ชว่ั โมง รวม ......108......ช่ัวโมงตอ่ ภาคเรยี น

หน่วยการสอน สมรรถนะการเรยี นรู้

หน่วยการสอนที่ 5. 1. ดา้ นความรู้
ช่ือหนว่ ยการสอน ลวดเชอื่ มเชอ่ื มไฟฟา้ หุ้มฟลกั ซ์ 1. ชนดิ ของลวดเชือ่ ม
2. ส่วนผสมของสารพอกหุ้ม
1. ลวดเชอ่ื ม 3. การจาแนกชนดิ ของลวดเชอ่ื ม
2. ลวดเชอ่ื มไฟฟ้าหุ้มฟลักซ์
3. มาตรฐานลวดเชอ่ื มไฟฟ้าห้มุ ฟลักซ์ 2. ด้านทกั ษะหรือการประยุกตใ์ ช้
4. ประเภทของฟลักซ์หมุ้ 1. รู้ความหมายและการจาแนกชนิดของลวดเชื่อม
5. หนา้ ที่ของฟลกั ซ์
ไฟฟ้า
หนว่ ยการสอนที่ 6. 2. รู้หน้าท่ีของสารพอกหุ้มและส่วนผสมของแกน
ชือ่ หน่วยการสอน งานเชื่อมแกส๊
ลวดเชื่อมเหล็กกล้า
1. หลักการเชือ่ มแก๊ส 3. จาแนกชนดิ ลวดเชอ่ื มสารพอกหุ้มตามมาตรฐาน
2. กระบวนการเช่ือมแก๊สออกชีอะเซทิลีน
3. แกส๊ ออกซเิ จน ต่าง ๆ
4. แก๊สอะเซทลิ นี 3. ด้านคณุ ธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคุณลกั ษณะที่พงึ
5. เคร่ืองมอื ละอุปกรณ์ที่ใชง้ านเชอ่ื มแก๊ส
6. ขัน้ ตอนการประกอบอุปกรณเ์ ชือ่ มแก๊ส ประสงค์และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
7. ขนั้ ตอนการตรวจเซ็กรอยร่ัวและปรบั ค่า พอเพยี ง
เครือ่ งควบคมุ ความดันแก๊ส
8. ขัน้ ตอนการเก็บอปุ กรณเ์ ชื่อมแก๊ส 1. ด้านความรู้
1. หลกั การเชื่อมแกส๊
2. กระบวนการเช่ือมแก๊สออกชีอะเซทลิ ีน

2. ดา้ นทักษะหรือการประยกุ ตใ์ ช้
1. รู้ความหมายและการจาแนกชนิดของลวดเชื่อม

แก๊สได้
3. ด้านคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลักษณะที่พึง
ประสงค์และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะการเรียนรู้

รหัสวชิ า ...........20103-2002............ ช่ือวิชา ..............งานเชอ่ื มอาร์คด้วยลวดเชื่อมหมุ้ ฟลักซ์2 .............
จานวนหน่วยกิต .....2......หนว่ ยกติ จานวนชัว่ โมงตอ่ สปั ดาห.์ ......6.......ชั่วโมง รวม ......108......ชั่วโมงตอ่ ภาคเรยี น

หน่วยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้

หน่วยการสอนที่ 7. 1. ด้านความรู้
ชอ่ื หน่วยการสอน เปลวที่ใช้ในการเชอ่ื มแก๊ส ลวด 1. เปลวไฟท่ีใชใ้ นการเช่อื มแก๊ส
เช่ือมแก๊สและระบบการจ่ายแกส๊ 2. เทคนคิ และวิธีการในการเชื่อมแก๊ส

1. เปลวไฟทีใ่ ช้ในการเชื่อมแก๊ส 2. ด้านทกั ษะหรอื การประยุกต์ใช้
2. เทคนิควธิ ีในการเช่อื มแก๊ส 3. ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะทีพ่ ึง
3. ลวดเช่อื มแกส๊ ประสงคแ์ ละบูรณาการตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพียง
หนว่ ยการสอนที่ 8.
ช่ือหน่วยการสอน งานตดั โลหะด้วยแก๊ส 1. ดา้ นความรู้
1. อธบิ ายงานตดั โลหะดว้ ยแกส๊ ได้
1. งานตัดโลหะดว้ ยแก๊ส 2. อธิบายอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการตดั แกส๊ ได้
2. อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการตัดแกส๊
3. ชนิดของหัวตดั แกส๊ 2. ดา้ นทักษะหรือการประยกุ ต์ใช้
4. การจุดเปลวไฟและปดิ เปลวไฟทีห่ ัวตัดแก๊ส 3. ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลกั ษณะท่ีพึง
5. ชนิดของการตัดโลหะด้วยแกส๊ ประสงคแ์ ละบรู ณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
6. ข้อดีและขอ้ เสยี ของการตดั ดว้ ยแกส๊ พอเพยี ง
7. งานตัดเหลก็ กลา้ ดว้ ยแกส๊

ตารางวเิ คราะห์หลักสตู ร

รหัสวชิ า .....20103-2002........ วิชา ......งานเช่อื มอาร์คด้วยลวดเช่อื มหุ้มฟลักซ์2........ จานวน......2......หน่วย
ชน้ั ..........ปวช2/2........ สาขาวชิ า/กลมุ่ วิชา/..........ช่างเช่ือมโลหะ........

ด้านพทุ ธิพสิ ยั
ความรู้ (5)
พฤตกิ รรม ความ ้ขาใจ(5)
นาไปใ ้ช(5)
การเรียนรู้ ิวเคราะ ์ห(5)
สังเคราะห์(5)
ชื่อหน่วยการสอน/การเรยี นรู้ ประเ ิมนค่า(5)
้ดานทักษะ ิพ ัสย(5)
ด้าน ิจตพิ ัสย(5)
รวม(40)
ลาดับความสาคัญ
จานวน ่ัชวโมง

1. ความปลอดภัยในงานเชือ่ ม 5 4 - - - - - 2 11 5 4

2. ตาแหนง่ ท่าเช่ือมและชนดิ รอยตอ่ 4 3 2 - - - - 1 10 5 4

แนวเชอ่ื ม

3. กระบวกการเชือ่ มไฟฟ้าด้วยลวด 4 4 2 - - - 3 2 15 5 20

เชอ่ื มห้มุ ฟลกั ซ์

4. องคป์ ระกอบการเช่ือมไฟฟ้าด้วยลวด 4 4 2 - - - 3 2 15 5 4

เชือ่ มหมุ้ ฟลกั ซ์

5. ลวดเช่ือมเช่อื มไฟฟ้าหุ้มฟลักซ์ 4 3 1 - - - 3 2 13 5 16

6. งานเชื่อมแก๊ส 4 3 2 - - - - 2 11 5 12

7. เปลวท่ีใช้ในการเชื่อมแกส๊ ลวดเชื่อม 4 3 2 - - - 2 2 13 5 8

แกส๊ และระบบการจ่ายแก๊ส

8. งานตดั โลหะดว้ ยแกส๊ 3 4 2 - - - 2 2 13 5 4

32 28 13 - - - 13 14 100 55 72

รวมคะแนน 32 28 13 - - - 13 14 100 72

ลาดบั ความสาคญั 5555 55555 55

คาอธิบาย 5 หมายถึง ระดับความสาคัญของแตล่ ะรายการมี 5 ระดับ คือ 1, 2, 3, 4, 5

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวิชา
โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั วิชา .....20103-2002........ วิชา ......งานเชือ่ มอาร์คด้วยลวดเช่ือมหุม้ ฟลักซ์2........ จานวน......2......หนว่ ย
ชั้น ..........ปวช2/2........ สาขาวชิ า/กลมุ่ วิชา/..........ชา่ งเชือ่ มโลหะ........

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เงื่อนไข
ความรู้ คุณธรรม
ช่อื หนว่ ยการสอน/
สมรรถนะรายวิชา พอประมาณ(5)
ีมเหตุผล(5)
ีมภู ิมคุ้ม ักน(5)
รอบ ้รู(5)
รอบคอบ(5)
ระ ัมดระ ัวง(5)
่ืซอสัต ์ย ุสจ ิรต(5)
ข ัยนอดทน(5)
ีมส ิตปัญญา(5)
แ ่บงปัน(5)
รวม(50)
ลา ัดบความสาคัญ

หนว่ ยการสอนท่ี 1
ชือ่ หน่วยการสอน 1 ความปลอดภยั ใน
งานเชอื่ ม

1. ความปลอดภัยทวั่ ไปในงานเช่ือม - 3 - 4 5 5 1 - 2 - 20 3
2. ความปลอดภัยในงานเช่ือมแก๊ส 1 2 1 4 4 5 1 1 3 - 22 2

3. ความปลอดภัยในงานเชือ่ มไฟฟา้ - - - 5 4 5 2 4 4 - 24 1

รวม 1 5 1 13 13 15 4 5 9 - 66

ลาดบั ความสาคัญ 8692317 5 4 -

โครงการสอนหรือโครงการจัดการเรยี นรู้แบบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชพี
และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั วชิ า .....20103-2002........ วชิ า ......งานเชื่อมอาร์คด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์2........ จานวน......2......หนว่ ย
ช้นั ..........ปวช2/2........ สาขาวชิ า/กล่มุ วิชา/..........ชา่ งเช่ือมโลหะ........

หนว่ ยที่ สปั ดาห์ที่ ชือ่ หน่วยการสอน/รายการสอน จานวนช่ัวโมง
ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
1 1-2 ความปลอดภยั ในงานเชือ่ ม 1-12
2 3-4 ตาแหน่งทา่ เช่อื มและชนิดรอยตอ่ แนวเช่อื ม
3 5-6 กระบวกการเชื่อมไฟฟา้ ดว้ ยลวดเชอื่ มห้มุ ฟลักซ์ 13-24
4 7-8 องคป์ ระกอบการเช่ือมไฟฟ้าด้วยลวดเช่อื มห้มุ ฟลักซ์ 25-36
5 9-10 ลวดเช่อื มเชื่อมไฟฟ้าห้มุ ฟลักซ์ 37-48
6 11-12 งานเชอ่ื มแก๊ส 49-60
7 13-14 เปลวท่ีใชใ้ นการเช่ือมแกส๊ ลวดเชอ่ื มแก๊สและระบบการ 61-72
73-84
จ่ายแกส๊
8 15-16 งานตัดโลหะดว้ ยแก๊สปฏิบัตงิ านเชื่อมไฟฟา้ 85-96
97-108
17-18 ***สอบปลายภาค***

รวม 12 96
รวมทั้งสิน้ 108

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบม่งุ เนน้ สมรรถนะอาชพี
และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั วชิ า .....20103-2002........ วิชา ......งานเช่ือมอาร์คด้วยลวดเชอื่ มหุ้มฟลักซ์2........ จานวน......2......หน่วย
ชั้น ..........ปวช2/2........ สาขาวิชา/กลมุ่ วิชา/..........ชา่ งเช่อื มโลหะ........
หน่วยที่ ....1...... ช่ือหนว่ ย .....................ความปลอดภยั ในงานเชอื่ ม..........................
ชอ่ื เร่ือง................1. ความปลอดภยั ทว่ั ไปในงานเช่ือม.......................... จานวน ........12.....ชั่วโมง

2. ความปลอดภัยในงานเช่อื มแกส๊
3. ความปลอดภยั ในงานเชอ่ื มไฟฟ้า

1. สาระสาคญั

ในงานอุตสาหกรรมสิ่งท่ีคานึงถึงอันดับแรกคือความปลอดภัย หรือท่ีเขียนเป็นภาษาอังกฤษ “Safety
First” เพ่ือใหเ้ กิดความปลอดภัยในขณะที่ทางานและจัดสภาพการทางานทดี่ ี ซ่ึงผู้ปฏบิ ัตงิ าน จะต้องระลกึ ถึงเสมอ
ในเร่ืองความปลอดภัยในงานเช่ือมแก๊สและไฟฟ้า อันตรายที่เกิดข้ึนในขณะปฏิบัติงาน มีมาจากสาเหตุท่ีต่างๆ กัน
เช่น คน เครื่องมือ เครื่องจักร สภาพแวดล้อมจากการทางาน ซึ่งถ้าเกิดอุบัติเหตุ ขึ้นมาจะมีปัญหาตามมาอีก
มากมาย เช่น งานผลิตจะหยุดในช่วงที่เกิดอุบัติเหตุตรงจุดนั้น ต้องปฐมพยาบาล เสียค่ารักษาพยาบาลเพิ่มข้ึนอีก
อุบัติเหตุที่เกิดข้ึนสามารถป้องกันได้โดยการศึกษาเรื่องความปลอดภัย ในงานเชื่อมให้เข้าใจ และปฏิบัติตามอย่าง
เคร่งครัด

2. สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้

1 ความปลอดภัยทัว่ ไปในงานเช่ือม
2 ความปลอดภยั ในงานเช่อื มแกส๊
3 ความปลอดภยั ในงานเชือ่ มไฟฟ้า

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

3.1 จดุ ประสงค์ทั่วไป
1 อธบิ ายวธิ กี ารป้องกนั อนั ตรายทวั่ ไปในงานเช่ือมได้
2 อธิบายวธิ กี ารปอ้ งกันอนั ตรายในงานเชอ่ื มแกส๊ ได้
3 อธิบายวิธกี ารป้องกันอนั ตรายในงานเชอื่ มไฟฟา้ ได้
3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
........................................................................................... .........................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

4. เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้

4.1 ด้านความรู้
1. ความปลอดภัยในงานเชือ่ ม
2. ความปลอดภัยในงานเชือ่ มแกส๊
3. ความปลอดภัยในงานเชอ่ื มไฟฟา้

4.2 ด้านทักษะหรือการประยุกตใ์ ช้
1. ปฏิบตั ติ ามกฎของโรงงานได้อยา่ งเคร่งครดั
2. บอกวิธปี อ้ งกนั อุบัตเิ หตใุ นงานเชอ่ื มแกส๊ และเช่อื มไฟฟ้าได้
3. บอกวิธกี ารป้องกันอุบัติเหตใุ นงานโลหะแผ่นได้
4. ศกึ ษาและเขา้ ใจความสาคัญของความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานได้
5. นาหลกั คิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งใช้รว่ มกับการปฏบิ ัตงิ าน

4.3 ด้านคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง

1 ความมมี นุษยสมั พันธ์
2 ความมวี นิ ัย
3 ความรับผดิ ชอบ
4 ความซื่อสัตย์สจุ ริต
5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
6 การประหยัด
7 ความสนใจใฝร่ ู้
8 การละเว้นสิง่ เสพตดิ และการพนัน
9 ความรกั สามัคคี
10 ความกตัญญูกตเวที

5. กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้

ขนั้ ตอนการสอนหรือกิจกรรมครู ขัน้ ตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของผ้เู รยี น

ขน้ั เตรยี ม(จานวน.....15....นาที) ขั้นเตรยี ม

ครูผู้สอนแนะนาการเรียนการสอนเก่ียวกับเนื้อหา ผู้เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยการสรปุ

รายวิชางานเช่ือมโลหะเบื้องต้น จุดประสงค์การเรยี นรู้ อภิปราย แล้วกล่าวนาเขา้ สูเ่ น้ือหาทจี่ ะศกึ ษา

และร่วมกันเสนอแนะแนวทางในการวัดผลประเมินผล

ตลอดภาคเรียน เพื่อให้ผู้เรียนใช้เป็นแนวทางในการ

พัฒนาการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง

ข้ันการสอน(จานวน....30.....นาท)ี
ครูผสู้ อนบอกจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 1 ความ
ปลอดภัยในงานเชอ่ื ม
ครูผสู้ อนอธบิ ายเก่ยี วกับเนื้อหาสาระ ดังน้ี

ความปลอดภยั ท่วั ไปในงานเชือ่ ม
ความปลอดภยั ในงานเชือ่ มแกส๊
ความปลอดภยั ในงานเช่อื มไฟฟา้
ครเู ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนคนอ่นื ๆ แสดงความคดิ เหน็
ร่วมกนั ทกุ คน
ทาแบบประเมินผลหลงั เรยี นหน่วยที่ 1

ร่วมกันวเิ คราะห์คาตอบ ครเู ฉลยคาตอบและร่วมกนั สง่ ช้ินงาน ประเมินผลงาน
อภิปรายผล

ขนั้ สรปุ (จานวน......15.....นาท)ี
ครผู ูส้ อนสรุปบทเรียน โดยการอภิปรายซักถามข้อ
สงสยั และอธิบายเพ่มิ เติมในส่วนที่เหน็ ว่าผเู้ รียน
สว่ นมากไมผ่ า่ นการประเมนิ เพอ่ื แก้ข้อสงสยั และ
ความไมเ่ ข้าใจของผ้เู รยี น
ผู้เรียนรบั ใบงาน ศกึ ษา ซกั ถาม อภิปราย พรอ้ มสาธติ
แลว้ ปฏบิ ัติตามใบงานในเวลาที่กาหนด
วิเคราะห์ผลการปฏิบตั งิ าน อภิปรายและสรุป

6. ส่อื การเรียนการสอน/การเรยี นรู้

6.1 สื่อสิง่ พิมพ์
1. หนังสอื เรียน วชิ างานเชื่อมโลหะเบอ้ื งต้น
2. ใบความรู้ ใบงาน
3. กจิ กรรรมการเรียนการสอน

6.2 สอื่ โสตทัศน์
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................................................. ...................
................................................................................................................ ....................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................................... ................................................

6.3 สอ่ื ของจริง
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................................................. ...................
............................................................................................................... .....................................................................

7. แหลง่ การเรยี นการสอน/การเรียนรู้

7.1 ภายในสถานศึกษา
ห้องสมดุ วทิ ยาลัย ศนู ย์วทิ ยุบรกิ าร หอ้ ง Internet

7.2 ภายนอกสถานศึกษา
...................................................................................................................... ..............................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................... .........................................
.......................................................................................... ..........................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

8. งานที่มอบหมาย

8.1 ก่อนเรยี น
ตรวจสอบ/จดั ทาแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 1 และใบงานที่ 1 ใหเ้ สรจ็ สมบรู ณ์ ส่งในคร้งั ต่อไป

8.2 ขณะเรียน
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................ ............................
...................................................................................................... ..............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................

8.3 หลังเรียน
คาชแี้ จง จงทาเคร่ืองหมาย( / )หนา้ ข้อความท่ีถูกต้องและเคร่ืองหมาย ( X ) หน้าข้อความทไี่ ม่ถูกตอ้ ง
............ 1. การยกของหนักควรยกโดยใชก้ าลังจากหลงั เข้าชว่ ย
............ 2. เม่ือแก๊สเหลือน้อยมคี วามดนั ต่า ควรนอนถังแก๊สเพ่ือใหแ้ ก๊สไหลไดส้ ะดวก
............ 3. หอ้ งเกบ็ แก็สควรเก็บใหเ้ ก็บมดิ ชิด ไม่ควรใหผ้ ูใ้ ดไดท้ ราบวา่ ห้องนนั้ เป็นห้องเกบ็ แกส๊
............ 4. กอ่ นทาการเช่ือมควรตรวจสอบรอยร่ัวของอุปกรณเ์ สียก่อน โดยใช้เทียนลนสารวจหารอยร่ัว
............ 5. การปฏิบตั ิงานในโรงงาน รองเทา้ หัวเหลก็ จะรูส้ ึกหนกั ทาให้ไม่สะดวกในการทางาน
............. 6. ขณะทาการเชื่อมสภาพอากาศโดยรอบจะรสู้ ึกรอ้ นและอบอ้าวถา้ มกี ารระบายอากาศไม่ดี

การทฝ่ี นตกลงมาจะทาใหผ้ เู้ ช่อื มร้สู กึ เยน็ สบาย
............ 7. เคร่อื งเช่ือมไมจ่ าเป็นตอ้ งต่อสายลงดิน เพราะในการเชื่อมมสี ายไฟเชอื่ มและสายดนิ อยู่แลว้
............ 8. ขณะทาการเปล่ียนลวดเชอ่ื มใหม่ ควรใส่ถงุ มือหรือวางลวดเชอ่ื มไว้ แลว้ นาหัวเชื่อมเขา้ ไปจบั
............ 9. ในการเชอื่ มภายในถงั หรือในทแ่ี คบ ๆ ควรมีการระบายอากาศทด่ี ี ดังนนั้ ควรปลอ่ ยออกซเิ จน

บรสิ ทุ ธ์ิเข้าไป เพ่อื ชว่ ยให้ช่างเชื่อมหายใจได้สะดวก
............ 10. ในการเช่ือมภายในท่อโลหะท่ีเปน็ ตัวนาไฟฟา้ ควรทาตะแกรงไมห้ รอื ยางท่ีเป็นฉนวนไฟฟ้า

มารองนง่ั

9. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกดิ จากการเรียนรขู้ องผู้เรียน

............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.............................................................................................................................................................. ......................
............................................................................................................ ........................................................................

10. เอกสารอ้างอิง

............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.......................................................................................................................................................... ..........................

11. การบูรณาการ/ความสมั พันธก์ บั รายวชิ าอืน่

............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................................................................. ..................
................................................................................................................. ...................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

12. หลกั การประเมนิ ผลการเรียน

12.1 ก่อนเรียน
1. จากการสงั เกตพฤติกรรมและความสนใจของนักศึกษา
2. จากการตอบคาถามของนกั ศกึ ษา

12.2 ขณะเรียน
1. จากการถามตอบระหว่างครูกบั นกั ศกึ ษา
2. จากการตอบคาถามของนักศึกษา
3. จากการสังเกตการจดบันทกึ ลงในสมุด

12.3 หลังเรยี น
1. จากการสังเกตการตอบคาถาม
2. จากแบบทดสอบหลังเรียนการเรียน

13. รายละเอยี ดการประเมินผลการเรยี น

จุดประสงค์ข้อท่ี 1 ความปลอดภัยในงานเชื่อมแก๊ส
3. ความปลอดภัยในงานโลหะแผ่น
1. วธิ กี ารประเมิน : แบบประเมินผลการเรยี นรู้และแบบประเมนิ พฤติกรรม หนว่ ยท่ี 1
2. เครือ่ งการประเมนิ : แบบประเมินใบงาน เกณฑ์ผา่ น คอื 50%
3. เกณฑ์การประเมนิ : เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไม่มชี อ่ งปรบั ปรงุ
4. เกณฑ์การผา่ น : เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ

ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป)
จุดประสงค์ข้อที่ 2 ความปลอดภยั ในงานเชอื่ มไฟฟ้า
1. วธิ กี ารประเมิน : แบบประเมินผลการเรียนรู้และแบบประเมินพฤติกรรม หน่วยที่ 1
2. เคร่อื งการประเมิน : แบบประเมนิ ใบงาน เกณฑ์ผา่ น คือ 50%

3. เกณฑ์การประเมนิ : เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไม่มชี ่องปรับปรงุ
4. เกณฑ์การผา่ น : เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่ คอื
ปานกลาง (50 % ขนึ้ ไป)
จดุ ประสงคข์ ้อที่ 3 ความปลอดภยั ในงานโลหะแผน่
1. วิธีการประเมิน : แบบประเมนิ ผลการเรยี นรูแ้ ละแบบประเมินพฤติกรรม หน่วยที่ 1
2. เครือ่ งการประเมิน : แบบประเมนิ ใบงาน เกณฑผ์ า่ น คือ 50%
3. เกณฑ์การประเมิน : เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไม่มีชอ่ งปรับปรุง
4. เกณฑ์การผา่ น : เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ คือ
ปานกลาง (50 % ขึน้ ไป)

14. แบบทดสอบก่อนเรยี น

หนว่ ยการสอนท่ี ....1..... ช่ือหน่วยการสอน ความปลอดภัยในงานเช่ือม
วตั ถุประสงค์ เพื่อ 1. ปฏบิ ตั ติ ามกฎของโรงงานไดอ้ ย่างเคร่งครัด

2. บอกวิธีปอ้ งกนั อุบัตเิ หตใุ นงานเชอ่ื มแกส๊ และเชื่อมไฟฟ้าได้
3. บอกวิธีการปอ้ งกันอบุ ตั เิ หตุในงานโลหะแผ่นได้
4. ศึกษาและเขา้ ใจความสาคัญของความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ านได้
5. นาหลักคิดของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงใช้ร่วมกบั การปฏบิ ตั งิ าน
ข้อคาถาม
คาชี้แจง จงทาเครอื่ งหมาย( / )หนา้ ข้อความทีถ่ กู ตอ้ งและเคร่อื งหมาย ( X ) หนา้ ข้อความทไ่ี ม่ถูกต้อง
............ 1. การยกของหนักควรยกโดยใช้กาลงั จากหลงั เข้าช่วย
............ 2. เม่อื แกส๊ เหลอื นอ้ ยมคี วามดนั ตา่ ควรนอนถังแกส๊ เพื่อใหแ้ ก๊สไหลได้สะดวก
............ 3. ห้องเก็บแก็สควรเก็บใหเ้ ก็บมิดชิด ไม่ควรใหผ้ ้ใู ดได้ทราบวา่ หอ้ งน้นั เปน็ ห้องเก็บแก๊ส
............ 4. ก่อนทาการเชื่อมควรตรวจสอบรอยรั่วของอุปกรณ์เสยี ก่อน โดยใช้เทียนลนสารวจหารอยรั่ว
............ 5. การปฏิบตั ิงานในโรงงาน รองเท้าหวั เหลก็ จะร้สู กึ หนักทาใหไ้ ม่สะดวกในการทางาน
............. 6. ขณะทาการเชอื่ มสภาพอากาศโดยรอบจะรสู้ ึกรอ้ นและอบอ้าวถ้ามีการระบายอากาศไม่ดี
การท่ฝี นตกลงมาจะทาใหผ้ เู้ ช่อื มร้สู กึ เย็นสบาย
............ 7. เคร่อื งเชื่อมไม่จาเปน็ ต้องต่อสายลงดิน เพราะในการเชื่อมมีสายไฟเชื่อมและสายดินอย่แู ลว้
............ 8. ขณะทาการเปลี่ยนลวดเชื่อมใหม่ ควรใสถ่ ุงมือหรือวางลวดเชื่อมไว้ แลว้ นาหวั เชื่อมเข้าไปจับ
............ 9. ในการเชอ่ื มภายในถงั หรอื ในที่แคบ ๆ ควรมกี ารระบายอากาศทดี่ ี ดังน้ัน ควรปล่อยออกซเิ จน
บริสทุ ธเิ์ ขา้ ไป เพ่อื ชว่ ยใหช้ า่ งเชือ่ มหายใจได้สะดวก
............ 10. ในการเชื่อมภายในท่อโลหะที่เปน็ ตัวนาไฟฟ้า ควรทาตะแกรงไม้หรือยางที่เปน็ ฉนวนไฟฟ้า
มารองนั่ง

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน

1. ตอบ X
2. ตอบ X
3. ตอบ X
4. ตอบ X
5. ตอบ X
6. ตอบ X
7. ตอบ X
8. ตอบ /
9. ตอบ X
10. ตอบ /

15. แบบทดสอบหลงั เรียน

หน่วยการสอนท่ี ......... ชอ่ื หนว่ ยการสอน..............................................................................................................
วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อ ……………………………………………………………………………………………….
ขอ้ คาถาม
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
..................................................................................................................................................................... ...............
................................................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................ ............................................
...................................................................................... ..............................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................................................................... .
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
...................................................................................................................................................... ..............................
..................................................................................................... ...............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................

16. ใบความรทู้ ่ี ........

หนว่ ยการสอนท่ี ...1... ช่อื หนว่ ยการสอน ความปลอดภัยในงานเช่อื ม
ชือ่ หัวข้อเรื่อง 1. ความปลอดภยั ท่ัวไปในงานเช่อื ม

2. ความปลอดภัยในงานเชอ่ื มแกส๊
3. ความปลอดภยั ในงานเช่อื มไฟฟ้า
สาระสาคัญ
ในวงการอุตสาหกรรมได้พยายามเน้นเรื่องการใช้เครื่องกาบัง เครื่องจักร เพื่อให้เกิดความปลอดภัย
ในขณะทางานและได้จัดให้มสี ภาพการทางานท่ดี ี เพยี งเท่านม้ี ไิ ดช้ ่วยใหเ้ กดิ อุบัติเหตุลดลงได้เลย ถ้าหากไม่ได้เน้น
ถึงตัวผู้ปฏิบัติงานด้วย เพราะจากสถิติของบริษัทหลาย ๆ แห่งจะแสดงให้เห็นว่าอันตรายท่ีเกิดข้ึนกับบุคคลนั้น
ส่วนมากจะเกดิ จากความประมาทและการละเลยทจี่ ะปฏิบัตติ ามกฎความปลอดภยั ของตัวผู้ปฏิบตั ิงานเอง
ปัญหาเรื่องการป้องกันอุบัติเหตุในโรงงานเป็นปัญหาใหญ่ของเจ้าของโรงงาน เพราะการเกิดอุบัติเหตุแต่ละคร้ัง
นอกจากจะทาให้งานผลิตหยุดชะงักแล้ว ยังจะต้องเสียค่ารักษาพยาบาลเพ่ิมอีกด้วย จึงจาเป็นอย่างย่ิงที่
จะต้องป้องกันมใิ ห้เกิดขึน้ หรอื ลดอตั ราการเกดิ อบุ ตั ิเหตใุ ห้น้อยทสี่ ดุ

ความปลอดภัยในการเชอื่ มไฟฟ้า
ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้าก็เช่นกันก็คือจะต้องนึกถึงความปลอดภัยทุกครั้งในการปฏิบัติงาน

เช่ือมดังนั้นการปฏบิ ตั ิงานเชื่อมจงึ ตอ้ งปฏบิ ัตติ ามดงั ข้อ ต่อไปน้ี
1. ก่อนเช่ือมผู้เช่ือมต้องเตรียมเคร่ืองมือท่ีจาเป็นต้องใช้ในงานเชื่อม เช่น คีมจับงานร้อน ค้อน

เคาะสแลก แปรงลวด และอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการเชื่อม เช่น ถุงมือ เส้ือหนัง สนับแข้ง ปลอกแขน
หน้ากากพร้อมด้วยเสนสป์ อ้ งกันแสง และภายในหอ้ งเชอ่ื มตอ้ งมีม่านป้องกันแสงมีท่อดูดควนั ท่ใี ช้งานได้

2. ไม่ควรนาขากางใส่ไว้ในรองเท้า หรือสวมนาฬกิ าขณะเชอ่ื ม เพราะสะเก็ดเช่ือมหรอื สแลก อาจจะ
กระเด็นเข้าไปในราองเทา้ หรอื ติดอยูท่ ่ีนาฬิกาขอ้ มอื ได้

3. เม่ือมีการเพม่ิ หรือลดกระแสไฟฟ้า ควรหยุดเชอ่ื มก่อนเสมอ
4. แคลมป์ (Clamp) จับสายดินต้องแน่น และขนาดของสายเชื่อมต้องเหมาะสมกับกระไฟฟ้า
มฉิ ะนัน้ สายเช่อื มจะรอ้ นและลกุ ติดไฟในทีส่ ดุ
5. อย่าเชื่อมงานกลางสายฝนหรือพื้นที่นองไปด้วยน้า เพราะกระแสไฟฟ้าอาจลัดวงจรเป็นอันตราย
ต่อผ้ทู าการเชื่อมได้ ดังแสดงในรูปที่ 1.4
รูปที่ 1.4 แสดงการเกดิ อนั ตรายเมื่อทาการเชอ่ื มบนพ้ืนทเ่ี ปยี ก
6. เมื่อเกิดไฟลุกติดโดยที่ผู้เช่ือมไม่รู้ตัว บุคคลท่ีพบเห็นไม่ควรดับไฟด้วยน้า เพราะไฟฟ้าอาจจะ
ลัดวงจรดดู ผูเ้ ช่อื มได้ ควรดับด้วยนา้ ยาดับเพลงิ
7. อย่ามองแสงทีเกิดจาการเช่ือมด้วยตาเปล่าเพราะแสงที่สว่างมากเกินไปจะทาให้ตารับไม่ได้มองไม่
เห็นชัว่ ขณะหน่ึงแสงท่ีเกดิ จากการเชือ่ มสามารถมองดว้ ยตาเปล่าได้ต้องมรี ะยะห่าง 40 ฟุตข้นึ ไป
8. ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ ตรวจสอบอุปกรณ์ดูดควันให้สามารถทางานได้ เม่ือทาการเช่ือมโลหะ
จาพวกตะก่วั แคดเมยี ม โครเมยี ม แมงกานีส ทองเหลอื ง และสังกะสี เพราะจะเกิดแก๊สพษิ ทอี่ นั ตรายมาก
9. อย่าเชื่อมช้ินงานท่ีอยู่ใกล้ถังน้ามันเชื้อเพลิง เพราะสะเก็ดไฟอาจกระเด็นไปถูกถังและลุกไหม้ ดัง
แสดงในรูปที่ 1.5

รูปที่ 1.5 แสดงการเกิดอนั ตรายเมอื่ ทาการเชือ่ มใกลถ้ ังน้ามันเชื้อเพลงิ

10. ไมค่ วรเชือ่ มในห้องท่ีปดิ หมดทกุ ดา้ นควรเช่ือมในบรเิ วณท่ีมอี ากาศถา่ ยเทได้สะดวกและมีท่อลมดูด
ควันพิษ

11. อย่าเชอื่ มไฟฟา้ ด้วยตาเปล่า ต้องใชเ้ ลนสก์ รองแสงทุกคร้งั และควรเช่อื มในหอ้ งท่จี ดั ไว้
โดยเฉพาะ ถ้าจาเป็นตอ้ งเช่อื มนอกสถานท่ี ควรมฉี ากป้องกันแสงเพ่ือไมใ่ ห้เป็นอันตรายหรือรบกวนผูข้ ้างเคยี ง

12. อยา่ จังช้นิ งานด้วยมือเปล่าหรอื ใส่ถุงมือจบั เมอ่ื เชอ่ื มชิ้นงานเสร็จใหม่ ๆ ควรใชค้ มี จบั งานร้อน
13. การเชอื่ มงานทา่ เหนือศีรษะ ควรสวมหมวก ไม่เช่นน้นั ความรอ้ นจากชนิ้ งานอาจลุกไหม้ตดิ ศรี ษะ
ได้
14. ควรใสแ่ วน่ ตาป้องกนั เศษโลหะขณะทาการเคาะสแลก และให้เคาะออกจากตัวด้วยความ
ระมดั ระวัง เพราะอาจกระเดน็ ไปถกู ผู้อนื่ ได้
15. หลังจากเชื่อมงานเสรจ็ ใหม่ ๆ ตอ้ งระมดั ระวังไมใ่ ห้ปลายของลวดเชื่อมไปถกู เพ่ือนขา้ งเคยี ง
16. อย่าซ่อมเครอื่ งเช่ือมขณะที่เคร่อื งกาลังทางานอยู่ เพราะไฟฟ้าอาจจะดูดได้ขณะทาการซ่อม
17. ควรเลือกกระกรองแสงทีเหมาะสม เพราะถ้าความเข้มกระจกน้อยเกินไปจะเป็นอันตรายกับ
สายตาได้
18. การเชอ่ื มในสถานที่สูง ๆ ควรใช้เขม็ ขัดนิรภยั ช่วยทุกคร้ัง
19. การทางานเช่ือมในห้องเล็ก ๆ ในถ้า ในทอ่ ในบอ่ หรอื ในถงั ต้องมอี ากาศถ่ายเทเขา้ ออกได้
ตลอดเวลาแต่ควรใชอ้ ากาศในบรรยากาศ ห้ามใช้ออกซเิ จนบรสิ ทุ ธิเ์ ติมเข้าไป เพราะออกซิเจนมากเกนิ ไปอาจทา
ให้เกิดประกายไฟและลกุ ไหม้ได้งา่ ย เปน็ เหตใุ หร้ ะเบดิ ได้

20. ขณะทาการเชื่อมไฟฟ้า ไม่ควรใส่เคร่ืองประดับ เช่น แหวน นาฬิกา สร้อยคอ หรือพก
เครื่องมือไว้ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพราะอุปกรณ์พวกนี้ถ้าไปกระทบกับชิ้นงานท่ีมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน
กระไฟอาจดดู ได้

21. การเช่อื มไฟฟ้าภายในท่อโลหะ อาจเกดิ กระแสไฟลัดวงจรและอาจเกิดไฟซอ๊ ดได้ง่ายดังน้ัน เมื่อ
จาเป็นต้องเชื่อมภายในถังขนาดใหญ่ทีเป็นตัวนากระแสไฟฟ้า ควรใช้แผ่นไม้ หรือฉนวนไฟฟ้ารองนั่ง ชุดที่สวมใส่
ต้องไม่เปียกช้ืน สายเชื่อมต้องไม่มีลวดทองแดงโผล่ออกมาและในขณะทางานต้องมีช่างคู่หู (Partner) คอย
ชว่ ยเหลือเมื่อมีปัญหา

22. ในการเปล่ียนลวดเชื่อมใหม่ เม่ือทาการเช่ือลวดเก่าหมดไปไม่ควรใช้มือเปล่าจับลวดใส่หัวจับ
เพราะอาจจะถกู ไฟฟ้าดูดได้ ควรวางลวดเชื่อมในทใ่ี กล้เคยี ง และสะดวกในการใช้หวั เชือ่ มจบั ลวดเชอื่ ม
หรอื ใชถ้ ุงมือชว่ ยในการจบั

23. เครอ่ื งเช่ือมทต่ี อ่ สายไฟเมนเขา้ เครื่องต่อสานดนิ จากตวั โครงเครอื่ งลงดิน เพือ่ ปอ้ งกัน
กระแสไฟร่ัว ซงึ่ อาจจะซอ็ ตผู้ท่ไี ปสมั ผัสเคร่ืองเชื่อมได้

24. ถึงมือไม่ว่างไม่ควรพักหัวเช่ือม ไว้ด้วยรักแร้ เพราะรักแร้เป็นส่วนท่ีอับช้ืน มีโอกาสถูกไฟดูดได้
ง่าย

ความปลอดภัยในงานเช่ือมแกส๊
ปจั จบุ ันการปฏิบัติงานทกุ อย่างไม่ว่าจะเปน็ งานเช่ือมหรืองานโลหะแผน่ กต็ ามตอ้ งนึกถึงความปลอดภัย

เปน็ อันดบั แรกดังน้ันการปฏบิ ัติงานเชื่อมแกส๊ จึงมคี วามปลอดภยั ดงั ตอ่ ไปนี้
1. ถ้าเป็นการเชื่อมในห้อง ส่ิงท่ีต้องคานึงถึงคือ ห้องน้ันมีการระบายอากาศพอเพียงหรือไม่ ถ้ามี

ควันทเ่ี กดิ จากการเชื่อม มอี ากาศบรสิ ุทธหิ์ รอื การหายใจสะดวกหรือไม่ โดยทัว่ ไปพ้ืนทขี่ องหอ้ งที่เพยี งพอตอ่ การ

ระบายอากาศจะมพี ้นื ท่ี 10,000 ลกู บาศก์ฟตุ หรอื 283 ลกู บาศก์
2. กรณีเชื่อมในโรงงาน ซ่ึงอาจจะมีขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ก็ตาม พ้ืนท่ีที่จะทาให้มีการระบาย

อากาศท่ีดีนั้นควรมพี ้ืนท่ี 2,000 ลูกบาศกฟ์ ุต ต่อช่างเช่ือม 1 คน และต้องการมีการระบายอากาศ ซ่งึ จะทาให้
อากาศภายในบรเิ วณเช่อื มดขี ึน้

3. จาเป็นต้องระบายอากาศอยู่เสมอเม่ือทาการเชื่อมโลหะบางประเภท เช่น สังกะสี ตะกั่ว เบริล
เลยี แคดเมยี ม เมอรค์ วิ รี่ ทองแดง หรือโลหะทีเ่ ชอ่ื มแล้วเกดิ ควนั พิษ ซ่งึ จะทาใหเ้ กิดอนั ตรายตอ่ ร่างกาย

4. การเก็บรักษาท่อแก๊ส หรือการนาท่อแก๊สมาใช้งาน ควรใช้โซ่คล้องยึดติดกับผนังเพ่ือไม่ให้ท่อล้ม
เมอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หตุขน้ึ

5. การเกบ็ รกั ษาทอ่ แกส๊ และการใช้งานควรห่างจากสารตดิ ไฟไม่น้อยกวา่ 25 ฟุต หรอื 7.6 เมตร
6. การเก็บรักษาท่อแก๊ส และท่อออกซิเจน ควรแยกออกจากกัน โดยมีกาแพงก้ันกลางมีความสูง
อยา่ งน้อย 5 ฟตุ หรือ 1.5 เมตร
7. หอ้ งท่ใี ชเ้ ก็บแก๊สอะเซทลิ ีนตอ้ งมชี อ่ งระบายอากาศและท่ปี ระตูต้องมตี าเตือน ห้ามนาเช้อื เพลงิ
หรือไฟเขา้ ไปใกล้ดังแสดงในรูปท่ี 1.1

รูปท่ี 1.1 แสดงลกั ษณะของห้องเกบ็ อะเซทิลีน
9. ถา้ วางทอ่ แกส๊ อะเซทลิ นี ในตาแหนง่ นอนนานๆหรอื นาทอ่ ตัง้ ขน้ึ แล้วใชง้ านทนั ทีสารอะซโี ตน
จะเคลื่อนตวั ตัวออกมาจากท่อ สารอะซิโตนทีอ่ อกมาจากท่อจะทาให้เปลวไฟมอี ุณหภมู ิต่ากวา่ ปกติ และทาความ
เสียหายต่อมาตรวัดความดัน (Regulator) หรือบริเวณลิ้นปิดเปิด (Valve) ของกระบอกเชื่อม (Torch) ถ้าการ
เคลื่อนย้ายจาเป็นต้องวางท่อลักษณะนอน เม่ือจะใช้งานควรนาต้ังข้ึน และมีระยะเวลาเพ่ือให้สารอะซีโตนเข้าท่ี
หรอื จดั ระเบียบตวั เองระยะเวลาหนึ่ง จึงจะใชง้ านไดอ้ ยา่ งปลอดภยั

10. ก่อนทาการเชื่อมต้องสังเกตพ้ืนที่รอบข้างเสียก่อนว่ามีถังแก๊ส ถังสี หรือกาน้ามันอยู่ในบริเวณ
เช่ือมหรอื ไม่เพราะถา้ มปี ระกายไฟอาจกระเด็นไปถูก ทาให้นา้ มนั หรือแกส๊ ลกุ ติดไฟได้

11. ภายในโรงงานเชื่อมต้องมีอุปกรณ์ดับไฟ สามารถท่ีจะหยิบใช้ได้อย่างง่ายเม่ือเกิดเพลิงไหม้และ
ควรติดตั้งสงู จากพน้ื ทป่ี ระมาณ 1-1.5 เมตร

12. ผนังกาแพงท่ีติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงควรทาสีแดงไว้รอบ ๆ อุปกรณ์ดับเพลิง และถ้าหากไม่มี
กาแพงควรทากลอ่ งตดิ ต้งั อุปกรณด์ ับเพลิง และทาสพี น้ื กล่องดว้ ยสีแดงทุกวนั

13. การใชอ้ ปุ กรณ์ดับเพลิงนั้น ให้ดึงสลกั บริเวณไก ใช้มือเหนี่ยวไกพรอ้ มทั้งพ่นนา้ ยาดับเพลิงไปท่วี สั ดุ
ทีก่ าลงั ลกุ ไหม้ ไม่ใช่พน่ ไปที่เปลวไฟ

14. ช่างเช่ือมที่จะทาการเช่ือมพึงสังวรอยู่ตลอดเวลาว่า ชุดปฏิบัติงานท่ีสวมใส่อยู่น้ันจะต้องไม่เป้ือน
น้ามันเพราะถา้ เป้อื นน้ามันจะมีโอกาสติดไฟไดม้ ากกวา่ ชุดปฏบิ ัติงานท่สี ะอาด

15. อย่าทาการเช่ือมใกล้ถังแก๊ส เพราะความร้อนจากการเช่ือมจะทาให้แก๊สภายในถังขยายตัว และ
อาจจะระเบิดได้

31. ควรใสแ่ วน่ ตากรองแสงขณะทาการเชื่อม และไมค่ วรใชส้ ายแก๊สพาดไหล่ เพราะถ้าแก๊สร่ัวอาจถูก
ไฟ ไหม้ได้ ดังแสดงในรูปที่ 1.3

รปู ที่ 1.3 แสดงการเชือ่ มไม่ถูกต้อง
16. อยา่ หลอกล้อกันขณะทาการเชื่อม หรือนาเปลวไฟจากหวั เชื่อมมาหยอกลอ้ กนั เพราะอาจจะเกิด
อนั ตรายไดเ้ มอื่ ไม่สามารถควบคุมเปลวไฟได้
17. อย่าใช้ท่อแก๊สเปื้อนน้ามันหรือจาระบี โดยเฉพาะคอขวดและที่เปิดปิดแก๊ส เพราะน้ามันหนทอ
จาระบีอาจทาปฏิกริ ิยากบั แกส๊ ท่รี ว่ั ซึมออกมา ทาใหล้ กุ ตดิ ไฟและระเบดิ ได้
18. ขณะเชอ่ื มไม่ควรนอนท่อแก๊สอะเซทิลีน เพราะสารอะซโี ตนอาจจะไม่ไหลออกมาและทาลายมาตร
วัด และลน้ิ เปดิ ปดิ ทีก่ ระบอกเช่อื ม
19. ไม่ควรเชื่อมงานบนพื้นซีเมนต์ เพราะพื้นซีเมนต์เมื่อถูกความร้อนจะขยายตัว และระเบิดแตก
กระเดน็ ออกมา อาจจะเข้าตาหรอื ทาใหแ้ สบรอ้ นได้
20. ก่อนเชื่อมต้องตรวจสอบเสียก่อนว่าสายแก๊สอยใู่ นสภาพดีหรอื ไม่ เพราะถ้าหากสายรั่วประกายไฟ
จากการเชื่อมอาจจะกระเด็นลงไปทาให้เกิดการลุกไหม้ และลามไปยังแก๊สได้โดยท่ีผู้เชื่อมมองไม่เห็น เน่ืองจาก
กาลงั เชอ่ื มและใส่แวน่ ตากรองแสงอยู่
21. ขณะเช่ือมงานควรงอปลายลวดเช่ือมด้านท่ีไม่ได้ใช้เสียก่อน เพ่ือป้องกันมิให้ไปถูกเพ่ือนข้างเคียง
ที่มาดูเมอื่ ผู้ปฏบิ ตั ิงานทาการเชอื่ มเสร็จแลว้ และลากแนวเชอ่ื ม
22. อยา่ ใชไ้ มข่ ีดไปจุดเปลวไฟ เพราะขณะทเ่ี ปลวแกส๊ ตดิ ไฟอยู่อาจจะไหม้มือได้
23. อยา่ จดุ เปลวไฟจากโลหะท่รี ้อนหรอื ใช้ความร้อนจากช้ินงานเชอื่ มจดุ ไฟเชื่อม เพราะแก๊สจะไปกอง
รวมตวั อยบู่ ริเวณน้ันมาก บริเวณชิน้ งานร้อนทาใหเ้ กดิ การะเบิดได้
24. อย่าท้งิ หัวเชอ่ื มแก๊สที่กาลังตดิ ไฟอยใู่ นขณะทผ่ี เู้ ชื่อมไปทางานอยา่ งอนื่
25. อย่าเช่ือมภาชนะโลหะที่ปิดฝาอยู่และไม่มีช่องระบายอากาศ เพราะอากาศหรือแก๊สภายในจะ
ขยายตวั ทาให้เกดิ การระเบดิ ได้
26. ไม่ควรใช้ประแจเลื่อนหรือคีมล็อก เปิดท่อแกส๊ อะเซทิลนี ควรใช้ประแจเปดิ ถงั แกส๊ เฉพาะตวั ของมัน
เอง
27. ควรเปิดล้ินท่อแก๊สอะเซทิลีน ประมาณ 1/2-1 รอบพร้อมทั้งปล่อยประแจเปิดล้ินคาไว้เพราะถ้า
เกดิ อุบัติเหตจุ ะได้ปดิ ไดท้ ันท่วงที
28.อยา่ นาแก๊สอะเซทิลนี ไปใชโ้ ดยไมม่ มี าตรวดั ความดนั และคอยตรวจสอบความดันขณะใช้งาน
29. ไม่ควรมุดเข้าไปเชื่อมท่อท่ีแคบ ๆ เพราะจะหนีออกมาได้ช้าหรือออกมาไม่ได้ กรณีเกิดไฟไหม้
ภายในทอ่
30. ในกรณีไม่มีเสา หรือกาแพงอยู่ในบริเวณใกล้เคียงท่ีจะล่ามท่อแก๊ส ขณะทาการเชื่อมต้อง
ตรวจสอบความยาวของเสาเชื่อมเสยี ก่อนว่ามคี วามยาวเพียงพอหรือไม่เพราะอาจจะเผลอดึงทอ่ แก๊สล้มได้

17. ใบงานท่ี .....1...

หน่วยการสอนที่ ....1..... ช่อื หนว่ ยการสอน ความปลอดภัยในงานเช่อื ม
ชอ่ื หัวข้อเรอ่ื ง 1. ความปลอดภยั ในงานเชื่อม

2. ความปลอดภยั ในงานเชอื่ มแก๊ส
3. ความปลอดภยั ในงานเช่ือมไฟฟ้า
จดุ ประสงค์ เพื่อ
1. ปฏบิ ตั ิตามกฎของโรงงานได้อย่างเครง่ ครดั
2. บอกวิธีปอ้ งกันอุบตั ิเหตุในงานเชื่อมแก๊ส และเช่อื มไฟฟ้าได้
3. บอกวิธีการปอ้ งกันอุบัตเิ หตุในงานโลหะแผ่นได้
4. ศึกษาและเข้าใจความสาคัญของความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ านได้
5. นาหลกั คดิ ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใชร้ ว่ มกับการปฏิบัติงาน

ลาดบั กจิ กรรม/ลาดบั การปฏิบัติ

............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................ ............................
...................................................................................................... ..............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................

เกณฑ์การพจิ ารณา

........................................................................................................................................................ ............................
....................................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

18. แบบประเมินผล

แผนการวดั ผลและประเมนิ ผลทงั้ รายวชิ า

- พทุ ธพิ สิ ัย 1) แบบฝกึ หัด 10 %

2) ทดสอบหลงั เรียน 10 %

3) วดั ผลสมั ฤทธ์ิ 10 %

รวม 30 %

- ทกั ษะพสิ ัย 1) ใบงาน/งานที่มอบหมาย 35 %

2) วดั ผลสัมฤทธิ์ 15 %

รวม 50 %

- จิตพสิ ยั 20 %

หมายเหตุ: (คะแนนทดสอบก่อนเรียนไว้สาหรับเปรียบเทียบกับคะแนนทดสอบหลังเรยี น)

19. แบบฝึกหดั
ตอนท่ี 1 จงตอบคาถามต่อไปนใ้ี หไ้ ดใ้ จความ
1. รังสที เ่ี กิดจารการเชือ่ มมีอะไรบ้าง และมอี นั ตรายอยา่ งไร

........................................................................................................................................... .........................................
.......................................................................................... ..........................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................

2. อธบิ ายวิธกี ารป้องกนั อนั ตรายจากการเช่อื มถั่งนา้ มนั ขนาดเล็ก
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.............................................................................................................................................................................. ......
............................................................................................................................ ........................................................
............................................................................................................................. .......................................................

3. วิธีทีป้องกันอันตรายจากไฟดูดมอี ะไรบา้ ง
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................... .............................
...................................................................................................... ..............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

20. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้แบบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชพี และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง

20.1 สรุปผลการจดั การเรยี นรู้

รายการ ระดบั การปฏบิ ตั ิ
5432 1

ด้านการเตรียมการสอน

1. จดั หน่วยการเรยี นรู้ได้สอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้

2. กาหนดเกณฑก์ ารประเมินครอบคลุมทัง้ ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะ และด้านจติ พิสยั

3. เตรยี มวสั ดุ-อุปกรณ์ สอ่ื นวตั กรรม กจิ กรรมตามแผนการจดั การเรียนร้กู ่อนเขา้ สอน

ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

4. มวี ธิ กี ารนาเข้าสบู่ ทเรยี นที่นา่ สนใจ

5. มีกิจกรรมท่หี ลากหลาย เพื่อชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ ความเขา้ ใจ

6. จดั กจิ กรรมทีส่ ่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนค้นควา้ เพ่ือหาคาตอบด้วยตนเอง

7. นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

8. จัดกจิ กรรมที่เน้นกระบวนการคดิ ( คิดวเิ คราะห์ คิดสังเคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ )

9. กระตุ้นให้ผเู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี

10. จดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่เชื่อมโยงกับชีวิตจริงโดยนาภูมปิ ัญญา/บูรณาการเขา้ มามสี ว่ นร่วม

11. จัดกิจกรรมโดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม

12. มกี ารเสรมิ แรงเม่ือนักเรยี นปฏบิ ัติ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน

14. เอาใจใส่ดแู ลผู้เรยี น อย่างทัว่ ถึง

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกบั เวลาทก่ี าหนด

ดา้ นสื่อ นวตั กรรม แหล่งการเรยี นรู้

16. ใชส้ ือ่ ทเ่ี หมาะสมกบั กจิ กรรมและศักยภาพของผู้เรยี น

17. ใช้สอ่ื แหลง่ การเรยี นรู้อย่างหลากหลาย เชน่ บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ และอนิ เทอรเ์ น็ต เปน็ ตน้

ด้านการวดั และประเมนิ ผล

18. ผ้เู รยี นมสี ว่ นรว่ มในการกาหนดเกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล

19. ประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลายและครบทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ และจิตพสิ ัย

20. ครู ผูเ้ รยี น ผูป้ กครอง หรือ ผทู้ ีเ่ ก่ยี วข้องมสี ่วนร่วม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดบั การปฏิบตั ิ 5 = ปฏบิ ตั ิดเี ยี่ยม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = ปฏบิ ัตพิ อใช้ รวม
2 = ควรปรบั ปรุง 1 = ไมม่ กี ารปฏิบตั ิ คา่ เฉลย่ี

20.2 ปัญหาทพี่ บ และแนวทางแก้ปัญหา แนวทางแกป้ ญั หา

ปญั หาท่ีพบ .....................................................................................
.....................................................................................
ดา้ นการเตรยี มการสอน .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................

ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
.....................................................................................

ด้านส่ือ นวตั กรรม แหลง่ การเรยี นรู้ .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
.....................................................................................

ด้านการวดั และประเมนิ ผล .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
.....................................................................................

ด้านอ่นื ๆ (โปรดระบเุ ปน็ ข้อๆ) .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
.....................................................................................

ลงช่อื ........................................................................ ครผู ู้สอน
(....................................................................)

ตาแหน่ง .......................................................................
............../.................................../....................

21. บนั ทกึ การนเิ ทศและติดตาม ก
ชือ่ -สกลุ ผนู้ เิ ทศ ตาแหนง่
วนั -เดอื น-ปี เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม

ลกั ษณะรายวชิ า

รหัสวชิ า ...........2103-1001............ ชอื่ วชิ า ..............งานเชื่อมโลหะเบอ้ื งตน้ .............
จานวนหนว่ ยกติ .....2......หนว่ ยกติ จานวนช่ัวโมงต่อสปั ดาห์.......6.......ชัว่ โมง รวม ......108......ชว่ั โมงต่อภาคเรียน

จดุ ประสงค์รายวชิ า

1. เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั งิ านเชือ่ มอาร์กลวดเช่ือมห้มุ ฟลักซ์ งานเรมิ่ ต้นอาร์ก งานเชอื่ มเดนิ แนว
งานต่อแนวเชื่อม งานเชอ่ื มพอก งานเชือ่ มรอยต่อชน รอยต่อเกย รอยตอ่ ตวั ทีในตาแหน่งท่าราบ

2. เพอื่ ใหส้ ามารถปฏิบตั ิงานเชอ่ื มแก๊ส งานปรับเปลวไฟเชือ่ ม งานสร้างบ่อหลอมเหลว งานเช่อื ม
เดินแนวแบบ Forehand รอยต่อมมุ รอยต่อชนในตาแหนง่ ท่าราบ

3. เพ่อื ให้สามารถปฏิบตั ิงานตดั แก๊สดว้ ยมือ และเคร่ืองตัดอตั โนมตั ิ
4. มกี จิ นสิ ยั ในการทางานท่ีดี ปฏบิ ัติการเชื่อม โดยใช้อุปกรณค์ วามปลอดภยั ส่วนบคุ คล

สมรรถนะรายวิชา

1. เชื่อมอาร์กลวดเช่ือมหมุ้ ฟลักซ์แผน่ เหล็กกล้า งานเรมิ่ ตน้ อาร์ก งานเชอ่ื มเดนิ แนว
งานตอ่ แนวเชือ่ ม งานเชอ่ื มพอก งานเช่ือมรอยต่อชน รอยตอ่ เกย รอยต่อตัวทใี นตาแหนง่ ท่าราบ
ตามหลกั การและกระบวนการ

2. เชื่อมแก๊สแผน่ เหล็กกลา้ งานปรับเปลวไฟเช่ือม งานสร้างบ่อหลอมเหลว งานเชื่อม
เดินแนวแบบ Forehand รอยตอ่ มุม รอยต่อชนในตาแหนง่ ท่าราบ ตามหลักการและ
กระบวนการ

3. ตัดแก๊สแผน่ เหลก็ กลา้ ดว้ ยมอื และเคร่ืองตัดอัตโนมัติตามแบบกาหนด

คาอธิบายรายวิชา

ปฏิบัติเกี่ยวกับงานเชื่อมอาร์กลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ เหล็กกล้าคาร์บอน งานเร่ิมต้นอาร์ก งานต่อแนว
เชื่อม งานเช่ือมพอก งานเช่ือมรอยต่อชน รอยต่อเกย รอยต่อตัวที ในตาแหน่งท่าราบ และงานเช่ือมเดินแนว
ทุกตาแหน่งท่าเชื่อม งานเช่ือมแก๊ส งานปรับเปลวไฟเช่ือม งานสร้างบ่อหลอมเหลว งานเช่ือม เดินแนว
รอยต่อมุม รอยต่อชนแบบ Forehand ทุกตาแหน่งท่าเชื่อม งานตัดด้วยแก๊ส โดยใช้อุปกรณ์ถูกต้องตามหลัก
ความปลอดภัยและอาชวี อนามัย

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะการเรียนรู้

รหัสวิชา ...........2103-1001............ ช่ือวิชา ..............งานเชอ่ื มโลหะเบ้ืองตน้ .............
จานวนหนว่ ยกิต .....2......หนว่ ยกติ จานวนช่วั โมงต่อสัปดาห์.......6.......ชัว่ โมง รวม ......108......ช่วั โมงตอ่ ภาคเรียน

หน่วยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้

หน่วยการสอนท่ี 1. 4. ด้านความรู้
ชอื่ หน่วยการสอน ความปลอดภัยในงานเชอ่ื ม 1. ความปลอดภัยท่ัวไปในงานเช่ือม
2. ความปลอดภยั ในงานเช่ือมแกส๊
1. ความปลอดภยั ท่วั ไปในงานเชือ่ ม 3. ความปลอดภัยในงานเชอ่ื มไฟฟา้
2. ความปลอดภัยในงานเชื่อมแกส๊
3. ความปลอดภยั ในงานเชือ่ มไฟฟา้ 5. ดา้ นทักษะหรือการประยกุ ต์ใช้
1. ปฏบิ ตั ิตามกฎของโรงงานได้อย่างเคร่งครัด
หนว่ ยการสอนที่ 2. 2. บอกวิธีป้องกันอบุ ัติเหตุในงานเช่อื มแก๊ส และ
ชอ่ื หน่วยการสอน ตาแหนง่ ท่าเชอ่ื มและชนิด
รอยต่อแนวเชื่อม เช่ือมไฟฟ้าได้
3. บอกวธิ กี ารปอ้ งกนั อุบัตเิ หตใุ นงานโลหะแผ่นได้
1. ตาแหนง่ ท่าเชอ่ื ม
2. รอยต่อและชนดิ ของรอยต่อ 6. ดา้ นคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลกั ษณะที่พงึ
ประสงคแ์ ละบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพียง
1. ความมมี นุษยสมั พนั ธ์
2. ความมวี ินยั
3. ความรบั ผิดชอบ

4. ดา้ นความรู้
1. ตาแหนง่ ทา่ เชือ่ ม
2. รอยตอ่ และชนดิ รอยต่อ

5. ดา้ นทกั ษะหรือการประยุกตใ์ ช้
1. รู้ชนดิ และการใชง้ านแนวเชอื่ มแบบตา่ ง ๆ
2 รู้ชนดิ และการใช้งานของรอยต่อแบบต่าง ๆ ใน
งานเชือ่ ม
3. จาแนกลักษณะตาแหน่งท่าเชื่อมของรอยต่อต่าง

6. ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงคแ์ ละบรู ณาการตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพียง

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะการเรยี นรู้

รหสั วิชา ...........2103-1001............ ช่ือวิชา ..............งานเช่ือมโลหะเบอื้ งตน้ .............
จานวนหน่วยกิต .....2......หนว่ ยกิต จานวนช่วั โมงตอ่ สปั ดาห.์ ......6.......ชั่วโมง รวม ......108......ชั่วโมงตอ่ ภาคเรยี น

หน่วยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้

หน่วยการสอนท่ี 3. 4. ด้านความรู้

ชือ่ หน่วยการสอน กระบวกการเช่ือมไฟฟ้าดว้ ย 1. กระบวนการเชื่อมแก๊ส

ลวดเช่ือมหุ้มฟลกั ซ์ 2. ชนดิ ของแก๊ส

1. หลกั การเชือ่ มไฟฟา้ ดว้ ยลวดเชื่อมหมุ้ ฟลักซ์ 3. อุปกรณใ์ นงานเชอื่ มแกส๊

2. เคร่อื งเชื่อมไฟฟา้ ตามลกั ษณะพืน้ ฐาน 5. ด้านทกั ษะหรือการประยกุ ตใ์ ช้

3. รอบทางานของเครือ่ งเชื่อม 1. รหู้ ลักงานของการเชือ่ มแก๊ส

4. อุปกรณท์ ี่ใชก้ ับงานเชื่อมไฟฟ้า 2. รชู้ นดิ ของแกส๊ เชื้อเพลงิ ต่าง ๆ

5. ลาดับขั้นในการเตรยี มงานเชอื่ มไฟฟา้ 3. รชู้ นดิ และหลกั การทางานของเครือ่ งมอื อปุ กรณ์

เชื่อมออกซิ–อะเซทลิ ีน

6. ดา้ นคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลกั ษณะท่ีพงึ

ประสงค์และบรู ณาการตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ

พอเพยี ง

หน่วยการสอนที่ 4. 4. ดา้ นความรู้

ช่ือหน่วยการสอน องคป์ ระกอบการเช่ือมไฟฟ้า 1. กระบวนการเชือ่ มไฟฟ้าดว้ ยลวดเชอื่ มสารพอก

ดว้ ยลวดเชอื่ มหมุ้ ฟลกั ซ์ หุม้

1. การเลือกลวดเช่ือมให้เหมาะสมกบั งาน 2. อปุ กรณ์ในงานเชื่อม

2. เทคนิควิธีการเช่ือมไฟฟ้าด้วยลวดเช่ือม 5. ดา้ นทกั ษะหรือการประยุกตใ์ ช้

หุ้มฟลกั ซ์ 1. รหู้ ลกั การของงานเชอื่ มอาร์กดว้ ยลวดเชือ่ มสาร

3. การเร่ิมตน้ และสน้ิ สดุ รอยเช่อื ม พอกหุ้ม

4. การตอ่ รอยเชื่อม 2. รชู้ นิดของกระแสไฟและวงจรการเชอื่ มอารก์ ดว้ ย

5. การสา่ ยลวดเชอ่ื ม ลวดเชอื่ มสารพอกหุม้

3. ร้ชู นิดและหลกั การทางานของเคร่ืองมืออปุ กรณ์

เชอ่ื มอาร์กด้วยลวดเชอื่ มสารพอกหุ้ม

6. ด้านคุณธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคุณลกั ษณะที่พึง

ประสงค์และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ

พอเพยี ง

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะการเรยี นรู้

รหสั วิชา ...........2103-1001............ ช่อื วชิ า ..............งานเชอื่ มโลหะเบ้อื งต้น.............
จานวนหน่วยกิต .....2......หนว่ ยกิต จานวนชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์.......6.......ชั่วโมง รวม ......108......ชั่วโมงตอ่ ภาคเรียน

หน่วยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้

หน่วยการสอนที่ 5. 4. ด้านความรู้
ชือ่ หน่วยการสอน ลวดเช่อื มเช่ือมไฟฟา้ หุม้ ฟลกั ซ์ 1. ชนิดของลวดเชื่อม
2. ส่วนผสมของสารพอกหุ้ม
1. ลวดเช่ือม 3. การจาแนกชนดิ ของลวดเชอื่ ม
2. ลวดเช่ือมไฟฟา้ หมุ้ ฟลกั ซ์
3. มาตรฐานลวดเช่อื มไฟฟ้าห้มุ ฟลักซ์ 5. ด้านทกั ษะหรือการประยุกตใ์ ช้
4. ประเภทของฟลกั ซ์หุม้ 1. รู้ความหมายและการจาแนกชนิดของลวดเชื่อม
5. หน้าทีข่ องฟลักซ์
ไฟฟ้า
หนว่ ยการสอนท่ี 6. 2. รู้หน้าที่ของสารพอกหุ้มและส่วนผสมของแกน
ช่อื หน่วยการสอน งานเชือ่ มแกส๊
ลวดเชอื่ มเหล็กกลา้
1. หลกั การเชื่อมแก๊ส 3. จาแนกชนดิ ลวดเชอ่ื มสารพอกหุ้มตามมาตรฐาน
2. กระบวนการเช่ือมแก๊สออกชีอะเซทลิ ีน
3. แก๊สออกซิเจน ต่าง ๆ
4. แกส๊ อะเซทลิ ีน 6. ด้านคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลกั ษณะที่พึง
5. เคร่อื งมือละอุปกรณท์ ่ีใช้งานเชอ่ื มแก๊ส
6. ขนั้ ตอนการประกอบอุปกรณ์เชื่อมแกส๊ ประสงคแ์ ละบูรณาการตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ
7. ขั้นตอนการตรวจเซก็ รอยรวั่ และปรบั ค่า พอเพียง
เครอ่ื งควบคมุ ความดนั แกส๊
8. ข้ันตอนการเกบ็ อปุ กรณ์เชื่อมแก๊ส 1. ดา้ นความรู้
1. หลกั การเชอ่ื มแก๊ส
2. กระบวนการเชื่อมแกส๊ ออกชีอะเซทิลนี

2. ดา้ นทกั ษะหรอื การประยุกต์ใช้
1. รู้ความหมายและการจาแนกชนิดของลวดเชื่อม

แก๊สได้
3. ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลกั ษณะท่ีพึง
ประสงคแ์ ละบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพียง

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะการเรยี นรู้

รหสั วิชา ...........2103-1001............ ชอื่ วิชา ..............งานเชื่อมโลหะเบอื้ งตน้ .............
จานวนหน่วยกติ .....2......หนว่ ยกิต จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์.......6.......ช่ัวโมง รวม ......108......ชั่วโมงต่อภาคเรยี น

หน่วยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้

หน่วยการสอนที่ 7. 1. ด้านความรู้
ชอื่ หน่วยการสอน เปลวที่ใชใ้ นการเชื่อมแกส๊ ลวด 1. เปลวไฟที่ใชใ้ นการเชือ่ มแก๊ส
เชือ่ มแกส๊ และระบบการจา่ ยแกส๊ 2. เทคนคิ และวธิ ีการในการเช่ือมแกส๊

1. เปลวไฟท่ใี ชใ้ นการเชอื่ มแกส๊ 2. ดา้ นทักษะหรือการประยุกตใ์ ช้
2. เทคนิควธิ ีในการเช่อื มแกส๊ 3. ด้านคณุ ธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคุณลักษณะท่ีพึง
3. ลวดเชอื่ มแกส๊ ประสงคแ์ ละบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
หน่วยการสอนที่ 8.
ชอ่ื หน่วยการสอน งานตดั โลหะด้วยแก๊ส 1. ดา้ นความรู้
1. อธบิ ายงานตดั โลหะดว้ ยแก๊สได้
1. งานตัดโลหะด้วยแกส๊ 2. อธิบายอุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นการตัดแก๊สได้
2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการตัดแก๊ส
3. ชนิดของหัวตัดแก๊ส 2. ด้านทกั ษะหรือการประยุกตใ์ ช้
4. การจดุ เปลวไฟและปดิ เปลวไฟที่หวั ตัดแก๊ส 3. ดา้ นคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลกั ษณะที่พึง
5. ชนิดของการตัดโลหะด้วยแกส๊ ประสงคแ์ ละบูรณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ
6. ขอ้ ดีและข้อเสยี ของการตัดดว้ ยแกส๊ พอเพียง
7. งานตัดเหลก็ กลา้ ดว้ ยแกส๊

ตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู ร

รหัสวชิ า .....20103-2002........ วชิ า ......งานเชื่อมอารค์ ด้วยลวดเชอื่ มห้มุ ฟลกั ซ์2........ จานวน......2......หน่วย
ชน้ั ..........ปวช2/2........ สาขาวิชา/กลมุ่ วชิ า/..........ช่างเชือ่ มโลหะ........

ดา้ นพุทธพิ สิ ัย
ความรู้ (5)
พฤตกิ รรม ความ ้ขาใจ(5)
นาไปใ ้ช(5)
การเรยี นรู้ ิวเคราะ ์ห(5)
ัสงเคราะห์(5)
ชื่อหน่วยการสอน/การเรยี นรู้ ประเ ิมนค่า(5)
้ดานทักษะ ิพ ัสย(5)
ด้าน ิจตพิ ัสย(5)
รวม(40)
ลา ัดบความสาคัญ
จานวน ่ัชวโมง

9. ความปลอดภยั ในงานเชือ่ ม 5 4 - - - - - 2 11 5 4

10. ตาแหน่งทา่ เช่อื มและชนิดรอยตอ่ 4 3 2 - - - - 1 10 5 4

แนวเชอ่ื ม

11. กระบวกการเชอ่ื มไฟฟ้าดว้ ยลวด 4 4 2 - - - 3 2 15 5 20

เช่ือมหมุ้ ฟลกั ซ์

12. องคป์ ระกอบการเชือ่ มไฟฟา้ ด้วยลวด 4 4 2 - - - 3 2 15 5 4

เช่อื มหมุ้ ฟลกั ซ์

13. ลวดเช่อื มเชื่อมไฟฟ้าหุ้มฟลักซ์ 4 3 1 - - - 3 2 13 5 16

14. งานเช่อื มแกส๊ 4 3 2 - - - - 2 11 5 12

15. เปลวท่ใี ช้ในการเช่ือมแกส๊ ลวดเช่อื ม 4 3 2 - - - 2 2 13 5 8

แก๊สและระบบการจา่ ยแกส๊

16. งานตัดโลหะดว้ ยแกส๊ 3 4 2 - - - 2 2 13 5 4

32 28 13 - - - 13 14 100 55 72

รวมคะแนน 32 28 13 - - - 13 14 100 72

ลาดบั ความสาคญั 5555 55555 55

คาอธิบาย 5 หมายถงึ ระดบั ความสาคญั ของแตล่ ะรายการมี 5 ระดับ คือ 1, 2, 3, 4, 5

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวิชา
โดยบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั วิชา .....20103-2002........ วิชา ......งานเชือ่ มอาร์คด้วยลวดเชื่อมหุม้ ฟลักซ์2........ จานวน......2......หนว่ ย
ชั้น ..........ปวช2/2........ สาขาวชิ า/กลมุ่ วิชา/..........ชา่ งเชอื่ มโลหะ........

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เงื่อนไข
ความรู้ คุณธรรม
ช่อื หนว่ ยการสอน/
สมรรถนะรายวิชา พอประมาณ(5)
ีมเหตุผล(5)
ีมภู ิมคุ้ม ักน(5)
รอบรู้(5)
รอบคอบ(5)
ระ ัมดระ ัวง(5)
ซ่ือ ัสตย์ ุสจริต(5)
ข ัยนอดทน(5)
ีมส ิตปัญญา(5)
แบ่งปัน(5)
รวม(50)
ลา ัดบความสาคัญ

หนว่ ยการสอนท่ี 1
ชือ่ หน่วยการสอน 1 ความปลอดภยั ใน
งานเชอื่ ม
4. ความปลอดภัยทวั่ ไปในงานเช่ือม - 3 - 4 5 5 1 - 2 - 20 3

5. ความปลอดภัยในงานเช่ือมแก๊ส 1 2 1 4 4 5 1 1 3 - 22 2

6. ความปลอดภัยในงานเชือ่ มไฟฟา้ - - - 5 4 5 2 4 4 - 24 1

รวม 1 5 1 13 13 15 4 5 9 - 66

ลาดบั ความสาคัญ 8692317 5 4 -

โครงการสอนหรือโครงการจัดการเรยี นรู้แบบมุ่งเนน้ สมรรถนะอาชีพ
และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหสั วชิ า .....20103-2002........ วชิ า ......งานเชื่อมอาร์คด้วยลวดเช่อื มหมุ้ ฟลกั ซ์2........ จานวน......2......หนว่ ย
ช้นั ..........ปวช2/2........ สาขาวชิ า/กล่มุ วิชา/..........ชา่ งเชือ่ มโลหะ........

หนว่ ยที่ สปั ดาห์ที่ ชอื่ หน่วยการสอน/รายการสอน จานวนช่ัวโมง
ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
1 1-2 ความปลอดภยั ในงานเชือ่ ม 1-12
2 3-4 ตาแหน่งทา่ เชอ่ื มและชนิดรอยตอ่ แนวเชือ่ ม
3 5-6 กระบวกการเชื่อมไฟฟา้ ดว้ ยลวดเชอื่ มหมุ้ ฟลักซ์ 13-24
4 7-8 องคป์ ระกอบการเช่ือมไฟฟ้าด้วยลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ 25-36
5 9-10 ลวดเช่อื มเชื่อมไฟฟ้าห้มุ ฟลักซ์ 37-48
6 11-12 งานเชอ่ื มแก๊ส 49-60
7 13-14 เปลวท่ีใชใ้ นการเช่ือมแกส๊ ลวดเชอ่ื มแกส๊ และระบบการ 61-72
73-84
จ่ายแกส๊
8 15-16 งานตัดโลหะด้วยแก๊สปฏิบัตงิ านเชื่อมไฟฟา้ 85-96
97-108
17-18 ***สอบปลายภาค***

รวม 12 96
รวมทั้งสิน้ 108

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชพี
และบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหสั วิชา .....20103-2002........ วชิ า ......งานเชอ่ื มอารค์ ด้วยลวดเชือ่ มห้มุ ฟลกั ซ์2........ จานวน......2......หน่วย
ชัน้ ..........ปวช2/2........ สาขาวชิ า/กลมุ่ วชิ า/..........ชา่ งเชอ่ื มโลหะ........
ชือ่ เรือ่ ง................1. ความปลอดภัยทวั่ ไปในงานเชือ่ ม.......................... จานวน ........12.....ช่ัวโมง

2. ความปลอดภัยในงานเชือ่ มแก๊ส
3. ความปลอดภัยในงานเชอื่ มไฟฟ้า

1. สาระสาคญั

ในงานอุตสาหกรรมสิ่งที่คานึงถึงอันดับแรกคือความปลอดภัย หรือท่ีเขียนเป็นภาษาอังกฤษ “Safety
First” เพื่อใหเ้ กิดความปลอดภัยในขณะท่ีทางานและจัดสภาพการทางานท่ีดี ซ่ึงผู้ปฏบิ ัตงิ าน จะต้องระลกึ ถึงเสมอ
ในเร่ืองความปลอดภัยในงานเช่ือมแก๊สและไฟฟ้า อันตรายท่ีเกิดขึ้นในขณะปฏิบัติงาน มีมาจากสาเหตุที่ต่างๆ กัน
เช่น คน เครื่องมือ เคร่ืองจักร สภาพแวดล้อมจากการทางาน ซึ่งถ้าเกิดอุบัติเหตุ ข้ึนมาจะมีปัญหาตามมาอีก
มากมาย เช่น งานผลิตจะหยุดในช่วงท่ีเกิดอุบัติเหตุตรงจุดน้ัน ต้องปฐมพยาบาล เสียค่ารักษาพยาบาลเพ่ิมข้ึนอีก
อุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนสามารถป้องกันได้โดยการศึกษาเรื่องความปลอดภัย ในงานเชื่อมให้เข้าใจ และปฏิบัติตามอย่าง
เคร่งครัด

2. สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้

1 ความปลอดภยั ทว่ั ไปในงานเชอ่ื ม
2 ความปลอดภัยในงานเชือ่ มแก๊ส
3 ความปลอดภัยในงานเชอ่ื มไฟฟ้า

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

3.1 จุดประสงค์ทั่วไป
1 อธบิ ายวธิ กี ารปอ้ งกนั อันตรายทั่วไปในงานเชื่อมได้
2 อธบิ ายวธิ ีการปอ้ งกนั อนั ตรายในงานเชื่อมแกส๊ ได้
3 อธิบายวธิ ีการป้องกันอันตรายในงานเชอ่ื มไฟฟ้าได้
3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
......................................................................................................................................................... ...........................
........................................................................................................ ............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................

4. เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้

4.1 ด้านความรู้
1. ความปลอดภัยในงานเชือ่ ม
2. ความปลอดภัยในงานเชือ่ มแกส๊
3. ความปลอดภัยในงานเชอ่ื มไฟฟา้

4.2 ด้านทักษะหรือการประยุกตใ์ ช้
1. ปฏิบตั ติ ามกฎของโรงงานได้อยา่ งเคร่งครดั
2. บอกวิธปี อ้ งกนั อุบัตเิ หตใุ นงานเชอ่ื มแกส๊ และเช่อื มไฟฟ้าได้
3. บอกวิธกี ารป้องกันอุบัติเหตใุ นงานโลหะแผ่นได้
4. ศกึ ษาและเขา้ ใจความสาคัญของความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานได้
5. นาหลกั คิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งใช้รว่ มกับการปฏบิ ัตงิ าน

4.3 ด้านคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง

1 ความมมี นุษยสมั พันธ์
2 ความมวี นิ ัย
3 ความรับผดิ ชอบ
4 ความซื่อสัตย์สจุ ริต
5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
6 การประหยัด
7 ความสนใจใฝร่ ู้
8 การละเว้นสิง่ เสพตดิ และการพนัน
9 ความรกั สามัคคี
10 ความกตัญญูกตเวที

5. กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้

ขนั้ ตอนการสอนหรือกิจกรรมครู ขัน้ ตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของผ้เู รยี น

ขน้ั เตรยี ม(จานวน.....15....นาที) ขั้นเตรยี ม

ครูผู้สอนแนะนาการเรียนการสอนเก่ียวกับเนื้อหา ผู้เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยการสรปุ

รายวิชางานเช่ือมโลหะเบื้องต้น จุดประสงค์การเรยี นรู้ อภิปราย แล้วกล่าวนาเขา้ สูเ่ น้ือหาทจี่ ะศกึ ษา

และร่วมกันเสนอแนะแนวทางในการวัดผลประเมินผล

ตลอดภาคเรียน เพื่อให้ผู้เรียนใช้เป็นแนวทางในการ

พัฒนาการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง

ข้ันการสอน(จานวน....30.....นาท)ี
ครูผสู้ อนบอกจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 1 ความ
ปลอดภัยในงานเชอ่ื ม
ครูผสู้ อนอธบิ ายเก่ยี วกับเนื้อหาสาระ ดังน้ี

ความปลอดภยั ท่วั ไปในงานเชือ่ ม
ความปลอดภยั ในงานเชือ่ มแกส๊
ความปลอดภยั ในงานเช่อื มไฟฟา้
ครเู ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนคนอ่นื ๆ แสดงความคดิ เหน็
ร่วมกนั ทกุ คน
ทาแบบประเมินผลหลงั เรยี นหน่วยที่ 1

ร่วมกันวเิ คราะห์คาตอบ ครเู ฉลยคาตอบและร่วมกนั สง่ ช้ินงาน ประเมินผลงาน
อภิปรายผล

ขนั้ สรปุ (จานวน......15.....นาท)ี
ครผู ูส้ อนสรุปบทเรียน โดยการอภิปรายซักถามข้อ
สงสยั และอธิบายเพ่มิ เติมในส่วนที่เหน็ ว่าผเู้ รียน
สว่ นมากไมผ่ า่ นการประเมนิ เพอ่ื แก้ข้อสงสยั และ
ความไมเ่ ข้าใจของผ้เู รยี น
ผู้เรียนรบั ใบงาน ศกึ ษา ซกั ถาม อภิปราย พรอ้ มสาธติ
แลว้ ปฏบิ ัติตามใบงานในเวลาที่กาหนด
วิเคราะห์ผลการปฏิบตั งิ าน อภิปรายและสรุป

6. ส่ือการเรียนการสอน/การเรยี นรู้

6.1 สื่อส่ิงพิมพ์
1. หนังสือเรียน วชิ างานเชอื่ มโลหะเบอ้ื งต้น
2. ใบความรู้ ใบงาน
3. กิจกรรรมการเรียนการสอน

6.2 สอื่ โสตทัศน์
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................................................................... ................
................................................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................... .............................................

6.3 สอ่ื ของจรงิ
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................................................................... ................
.................................................................................................................. ..................................................................

7. แหลง่ การเรียนการสอน/การเรียนรู้

7.1 ภายในสถานศึกษา
ห้องสมดุ วิทยาลัย ศนู ย์วทิ ยุบรกิ าร หอ้ ง Internet

7.2 ภายนอกสถานศึกษา
...................................................................................................................... ..............................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................... .........................................
.......................................................................................... ..........................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

8. งานที่มอบหมาย

8.1 ก่อนเรยี น
ตรวจสอบ/จดั ทาแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 1 และใบงานที่ 1 ใหเ้ สรจ็ สมบรู ณ์ ส่งในคร้งั ต่อไป

8.2 ขณะเรียน
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................ ............................
...................................................................................................... ..............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................

8.3 หลังเรียน
คาชแี้ จง จงทาเคร่ืองหมาย( / )หนา้ ข้อความท่ีถูกต้องและเคร่ืองหมาย ( X ) หน้าข้อความทไี่ ม่ถูกตอ้ ง
............ 1. การยกของหนักควรยกโดยใชก้ าลังจากหลงั เข้าชว่ ย
............ 2. เม่ือแก๊สเหลือน้อยมคี วามดนั ต่า ควรนอนถังแก๊สเพ่ือใหแ้ ก๊สไหลไดส้ ะดวก
............ 3. หอ้ งเกบ็ แก็สควรเก็บใหเ้ ก็บมดิ ชิด ไม่ควรใหผ้ ูใ้ ดไดท้ ราบวา่ ห้องนนั้ เป็นห้องเกบ็ แกส๊
............ 4. กอ่ นทาการเช่ือมควรตรวจสอบรอยร่ัวของอุปกรณเ์ สียก่อน โดยใช้เทียนลนสารวจหารอยร่ัว
............ 5. การปฏิบตั ิงานในโรงงาน รองเทา้ หัวเหลก็ จะรูส้ ึกหนกั ทาให้ไม่สะดวกในการทางาน
............. 6. ขณะทาการเชื่อมสภาพอากาศโดยรอบจะรสู้ ึกรอ้ นและอบอ้าวถา้ มกี ารระบายอากาศไม่ดี

การทฝ่ี นตกลงมาจะทาใหผ้ เู้ ช่อื มร้สู กึ เยน็ สบาย
............ 7. เคร่อื งเช่ือมไมจ่ าเป็นตอ้ งต่อสายลงดิน เพราะในการเชื่อมมสี ายไฟเชอื่ มและสายดนิ อยู่แลว้
............ 8. ขณะทาการเปล่ียนลวดเชอ่ื มใหม่ ควรใส่ถงุ มือหรือวางลวดเชอ่ื มไว้ แลว้ นาหัวเชื่อมเขา้ ไปจบั
............ 9. ในการเชอื่ มภายในถงั หรือในทแ่ี คบ ๆ ควรมีการระบายอากาศทด่ี ี ดังนนั้ ควรปลอ่ ยออกซเิ จน

บรสิ ทุ ธ์ิเข้าไป เพ่อื ชว่ ยให้ช่างเชื่อมหายใจได้สะดวก
............ 10. ในการเช่ือมภายในท่อโลหะท่ีเปน็ ตัวนาไฟฟา้ ควรทาตะแกรงไมห้ รอื ยางท่ีเป็นฉนวนไฟฟ้า

มารองนง่ั

9. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกดิ จากการเรียนรขู้ องผู้เรียน

............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.............................................................................................................................................................. ......................
............................................................................................................ ........................................................................

10. เอกสารอา้ งอิง

............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................... .........................

11. การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธ์กบั รายวชิ าอ่นื

............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................................................................. ..................
................................................................................................................. ...................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

12. หลกั การประเมนิ ผลการเรยี น

12.1 กอ่ นเรยี น
1. จากการสงั เกตพฤติกรรมและความสนใจของนักศึกษา
2. จากการตอบคาถามของนักศึกษา

12.2 ขณะเรียน
1. จากการถามตอบระหว่างครกู ับนักศกึ ษา
2. จากการตอบคาถามของนักศึกษา
3. จากการสงั เกตการจดบนั ทึกลงในสมดุ

12.3 หลังเรยี น
1. จากการสังเกตการตอบคาถาม
2. จากแบบทดสอบหลงั เรยี นการเรยี น

13. รายละเอียดการประเมินผลการเรยี น

จดุ ประสงคข์ ้อที่ 1 ความปลอดภัยในงานเชอื่ มแก๊ส
3. ความปลอดภัยในงานโลหะแผน่
1. วธิ ีการประเมิน : แบบประเมินผลการเรยี นรแู้ ละแบบประเมินพฤติกรรม หน่วยที่ 1
2. เครื่องการประเมิน : แบบประเมนิ ใบงาน เกณฑ์ผ่าน คอื 50%
3. เกณฑ์การประเมนิ : เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มีชอ่ งปรบั ปรงุ
4. เกณฑ์การผา่ น : เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ

ปานกลาง (50 % ขนึ้ ไป)

จุดประสงค์ข้อท่ี 2 ความปลอดภยั ในงานเช่ือมไฟฟ้า
1. วธิ ีการประเมิน : แบบประเมินผลการเรยี นรู้และแบบประเมินพฤติกรรม หน่วยท่ี 1
2. เครือ่ งการประเมนิ : แบบประเมนิ ใบงาน เกณฑ์ผา่ น คอื 50%
3. เกณฑ์การประเมิน : เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มชี อ่ งปรับปรงุ
4. เกณฑ์การผ่าน : เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คอื

ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป)
จดุ ประสงค์ข้อท่ี 3 ความปลอดภยั ในงานโลหะแผน่
1. วธิ ีการประเมนิ : แบบประเมนิ ผลการเรยี นรูแ้ ละแบบประเมนิ พฤติกรรม หนว่ ยที่ 1
2. เครือ่ งการประเมิน : แบบประเมนิ ใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50%
3. เกณฑ์การประเมนิ : เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไม่มชี อ่ งปรบั ปรงุ
4. เกณฑ์การผา่ น : เกณฑ์ผา่ นการประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุม่ คอื

ปานกลาง (50 % ขึ้นไป)

14. แบบทดสอบก่อนเรยี น

หนว่ ยการสอนท่ี ....1..... ชือ่ หนว่ ยการสอน ความปลอดภัยในงานเชอื่ ม
วตั ถุประสงค์ เพื่อ 1. ปฏบิ ตั ิตามกฎของโรงงานไดอ้ ย่างเครง่ ครัด

2. บอกวธิ ีป้องกนั อุบัตเิ หตใุ นงานเชอ่ื มแกส๊ และเชอ่ื มไฟฟ้าได้
3. บอกวิธกี ารปอ้ งกันอบุ ัติเหตุในงานโลหะแผ่นได้
4. ศึกษาและเข้าใจความสาคัญของความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงานได้
5. นาหลักคิดของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงใชร้ ว่ มกับการปฏิบัติงาน
ขอ้ คาถาม
คาชแี้ จง จงทาเคร่ืองหมาย( / )หน้าข้อความทถ่ี ูกต้องและเครอ่ื งหมาย ( X ) หน้าขอ้ ความท่ไี มถ่ ูกต้อง
............ 1. การยกของหนักควรยกโดยใช้กาลงั จากหลงั เข้าช่วย
............ 2. เม่อื แกส๊ เหลอื น้อยมคี วามดันตา่ ควรนอนถังแก๊สเพอื่ ใหแ้ กส๊ ไหลได้สะดวก
............ 3. ห้องเก็บแก็สควรเก็บใหเ้ ก็บมิดชิด ไม่ควรใหผ้ ้ใู ดได้ทราบวา่ หอ้ งน้นั เปน็ ห้องเก็บแก๊ส
............ 4. ก่อนทาการเชื่อมควรตรวจสอบรอยรั่วของอุปกรณ์เสยี ก่อน โดยใช้เทียนลนสารวจหารอยร่ัว
............ 5. การปฏิบตั ิงานในโรงงาน รองเท้าหวั เหลก็ จะร้สู กึ หนักทาใหไ้ ม่สะดวกในการทางาน
............. 6. ขณะทาการเชอื่ มสภาพอากาศโดยรอบจะร้สู กึ ร้อนและอบอ้าวถ้ามกี ารระบายอากาศไม่ดี
การทฝ่ี นตกลงมาจะทาใหผ้ ูเ้ ช่ือมรู้สกึ เย็นสบาย
............ 7. เคร่อื งเชื่อมไม่จาเปน็ ต้องต่อสายลงดิน เพราะในการเชื่อมมีสายไฟเชื่อมและสายดินอย่แู ลว้
............ 8. ขณะทาการเปลี่ยนลวดเชื่อมใหม่ ควรใสถ่ ุงมือหรือวางลวดเชื่อมไว้ แลว้ นาหวั เชื่อมเข้าไปจับ
............ 9. ในการเช่อื มภายในถงั หรือในท่แี คบ ๆ ควรมกี ารระบายอากาศท่ีดี ดงั นน้ั ควรปลอ่ ยออกซเิ จน
บรสิ ทุ ธิ์เขา้ ไป เพอ่ื ช่วยให้ชา่ งเชอื่ มหายใจได้สะดวก
............ 10. ในการเชื่อมภายในท่อโลหะที่เปน็ ตัวนาไฟฟ้า ควรทาตะแกรงไม้หรือยางที่เปน็ ฉนวนไฟฟ้า
มารองนงั่

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน

1. ตอบ X
2. ตอบ X
3. ตอบ X
4. ตอบ X
5. ตอบ X
6. ตอบ X
7. ตอบ X
8. ตอบ /
9. ตอบ X
10. ตอบ /

15. แบบทดสอบหลงั เรยี น

หน่วยการสอนท่ี ......... ชอื่ หน่วยการสอน..............................................................................................................
วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อ ……………………………………………………………………………………………….
ขอ้ คาถาม
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................................................ ........................
.......................................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................... .....................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................................................................. .......
............................................................................................................................ ........................................................
............................................................................................................................. .......................................................

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................................................................... .
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
...................................................................................................................................................... ..............................
..................................................................................................... ...............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................

....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

16. ใบความรู้ท่ี ........

หน่วยการสอนท่ี ...1... ชอื่ หน่วยการสอน ความปลอดภัยในงานเชอ่ื ม
ชื่อหัวข้อเรือ่ ง 1. ความปลอดภัยท่วั ไปในงานเชื่อม

2. ความปลอดภยั ในงานเชื่อมแก๊ส
3. ความปลอดภัยในงานเชอ่ื มไฟฟา้
สาระสาคญั
ในวงการอุตสาหกรรมได้พยายามเน้นเรื่องการใช้เครื่องกาบัง เคร่ืองจักร เพ่ือให้เกิดความปลอดภัย
ในขณะทางานและไดจ้ ัดให้มีสภาพการทางานทีด่ ี เพียงเทา่ นม้ี ิได้ชว่ ยใหเ้ กดิ อุบตั ิเหตลุ ดลงได้เลย ถ้าหากไม่ไดเ้ น้น
ถึงตัวผู้ปฏิบัติงานด้วย เพราะจากสถิติของบริษัทหลาย ๆ แห่งจะแสดงให้เห็นว่าอันตรายที่เกิดขึ้นกับบุคคลน้ัน
สว่ นมากจะเกิดจากความประมาทและการละเลยทีจ่ ะปฏิบตั ิตามกฎความปลอดภยั ของตวั ผปู้ ฏบิ ัตงิ านเอง
ปัญหาเร่ืองการป้องกันอุบัติเหตุในโรงงานเป็นปัญหาใหญ่ของเจ้าของโรงงาน เพราะการเกิดอุบัติเหตุแต่ละครั้ง
นอกจากจะทาให้งานผลิตหยุดชะงักแล้ว ยังจะต้องเสียค่ารักษาพยาบาลเพิ่มอีกด้วย จึงจาเป็นอย่างย่ิงท่ี
จะตอ้ งปอ้ งกันมิให้เกดิ ข้นึ หรอื ลดอัตราการเกิดอุบตั ิเหตุใหน้ อ้ ยที่สดุ

ความปลอดภัยในการเชือ่ มไฟฟา้
ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้าก็เช่นกันก็คือจะต้องนึกถึงความปลอดภัยทุกครั้งในการปฏิบัติงาน

เชอื่ มดังนน้ั การปฏิบตั ิงานเช่ือมจงึ ต้องปฏิบัตติ ามดงั ขอ้ ต่อไปน้ี
1. ก่อนเชื่อมผู้เช่ือมต้องเตรียมเครื่องมือที่จาเป็นต้องใช้ในงานเชื่อม เช่น คีมจับงานร้อน ค้อน

เคาะสแลก แปรงลวด และอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการเช่ือม เช่น ถุงมือ เส้ือหนัง สนับแข้ง ปลอกแขน
หน้ากากพร้อมด้วยเสนส์ป้องกันแสง และภายในหอ้ งเชอ่ื มต้องมีมา่ นปอ้ งกนั แสงมที ่อดูดควันทใ่ี ช้งานได้

2. ไมค่ วรนาขากางใส่ไวใ้ นรองเทา้ หรอื สวมนาฬิกาขณะเช่อื ม เพราะสะเกด็ เชื่อมหรือสแลก อาจจะ
กระเด็นเข้าไปในราองเท้า หรือตดิ อยทู่ นี่ าฬกิ าขอ้ มอื ได้

3. เม่ือมกี ารเพ่ิมหรือลดกระแสไฟฟ้า ควรหยดุ เชอ่ื มกอ่ นเสมอ
4. แคลมป์ (Clamp) จับสายดินต้องแน่น และขนาดของสายเช่ือมต้องเหมาะสมกับกระไฟฟ้า
มฉิ ะน้นั สายเชอ่ื มจะรอ้ นและลกุ ตดิ ไฟในทส่ี ุด
5. อย่าเชื่อมงานกลางสายฝนหรือพื้นท่ีนองไปด้วยน้า เพราะกระแสไฟฟ้าอาจลัดวงจรเป็นอันตราย
ต่อผ้ทู าการเชอ่ื มได้ ดงั แสดงในรูปท่ี 1.4
รูปท่ี 1.4 แสดงการเกดิ อันตรายเม่ือทาการเชอื่ มบนพนื้ ที่เปียก
6. เม่ือเกิดไฟลุกติดโดยที่ผู้เชื่อมไม่รู้ตัว บุคคลท่ีพบเห็นไม่ควรดับไฟด้วยน้า เพราะไฟฟ้าอาจจะ
ลดั วงจรดดู ผูเ้ ชอ่ื มได้ ควรดบั ด้วยนา้ ยาดับเพลิง
7. อย่ามองแสงทีเกิดจาการเช่ือมด้วยตาเปล่าเพราะแสงที่สว่างมากเกินไปจะทาให้ตารับไม่ได้มองไม่
เหน็ ช่ัวขณะหนงึ่ แสงทีเ่ กิดจากการเชอื่ มสามารถมองด้วยตาเปลา่ ได้ต้องมีระยะห่าง 40 ฟุตขนึ้ ไป
8. ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ ตรวจสอบอุปกรณ์ดูดควันให้สามารถทางานได้ เม่ือทาการเชื่อมโลหะ
จาพวกตะก่ัว แคดเมียม โครเมียม แมงกานีส ทองเหลอื ง และสังกะสี เพราะจะเกดิ แก๊สพิษทอี่ ันตรายมาก
9. อย่าเช่ือมช้ินงานท่ีอยู่ใกล้ถังน้ามันเช้ือเพลิง เพราะสะเก็ดไฟอาจกระเด็นไปถูกถังและลุกไหม้ ดัง
แสดงในรปู ที่ 1.5

รูปท่ี 1.5 แสดงการเกิดอันตรายเม่อื ทาการเชอ่ื มใกลถ้ ังนา้ มนั เช้อื เพลิ
10. ไมค่ วรเช่ือมในห้องท่ีปดิ หมดทกุ ด้านควรเชอ่ื มในบรเิ วณทม่ี ีอากาศถา่ ยเทได้สะดวกและมีท่อลมดูดควนั พษิ

11. อย่าเช่อื มไฟฟา้ ด้วยตาเปล่า ตอ้ งใช้เลนสก์ รองแสงทุกคร้ัง และควรเชอื่ มในห้องทจ่ี ดั ไว้
โดยเฉพาะ ถ้าจาเป็นต้องเช่ือมนอกสถานท่ี ควรมฉี ากปอ้ งกนั แสงเพื่อไม่ให้เป็นอนั ตรายหรอื รบกวนผู้ข้างเคยี ง

12. อยา่ จังชนิ้ งานดว้ ยมือเปลา่ หรือใสถ่ งุ มอื จับเมือ่ เชือ่ มช้ินงานเสรจ็ ใหม่ ๆ ควรใชค้ มี จบั งานรอ้ น
13. การเชือ่ มงานทา่ เหนือศีรษะ ควรสวมหมวก ไมเ่ ช่นนั้นความรอ้ นจากชิ้นงานอาจลกุ ไหม้ตดิ ศีรษะ
ได้
14. ควรใสแ่ ว่นตาป้องกันเศษโลหะขณะทาการเคาะสแลก และให้เคาะออกจากตัวดว้ ยความ
ระมดั ระวงั เพราะอาจกระเดน็ ไปถกู ผอู้ น่ื ได้
15. หลงั จากเชือ่ มงานเสรจ็ ใหม่ ๆ ต้องระมัดระวงั ไม่ให้ปลายของลวดเชอ่ื มไปถกู เพื่อนข้างเคยี ง
16. อยา่ ซอ่ มเคร่อื งเชื่อมขณะทีเ่ ครื่องกาลงั ทางานอยู่ เพราะไฟฟ้าอาจจะดูดได้ขณะทาการซ่อม
17. ควรเลือกกระกรองแสงทีเหมาะสม เพราะถ้าความเข้มกระจกน้อยเกินไปจะเป็นอันตรายกับ
สายตาได้
18. การเชอื่ มในสถานท่สี งู ๆ ควรใช้เขม็ ขัดนิรภยั ชว่ ยทุกครัง้
19. การทางานเชื่อมในห้องเล็ก ๆ ในถา้ ในท่อ ในบอ่ หรือในถงั ตอ้ งมีอากาศถ่ายเทเขา้ ออกได้
ตลอดเวลาแต่ควรใชอ้ ากาศในบรรยากาศ ห้ามใช้ออกซเิ จนบริสทุ ธเ์ิ ติมเข้าไป เพราะออกซิเจนมากเกินไปอาจทา
ให้เกดิ ประกายไฟและลุกไหม้ไดง้ ่าย เป็นเหตใุ ห้ระเบดิ ได้
20. ขณะทาการเช่ือมไฟฟ้า ไม่ควรใส่เครื่องประดับ เช่น แหวน นาฬิกา สร้อยคอ หรือพก
เคร่ืองมือไว้ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพราะอุปกรณ์พวกน้ีถ้าไปกระทบกับช้ินงานท่ีมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
กระไฟอาจดูดได้
21. การเชอ่ื มไฟฟ้าภายในท่อโลหะ อาจเกิดกระแสไฟลัดวงจรและอาจเกิดไฟซ๊อดได้ง่ายดังนั้น เม่ือ
จาเป็นต้องเชื่อมภายในถงั ขนาดใหญ่ทีเป็นตวั นากระแสไฟฟ้า ควรใช้แผ่นไม้ หรือฉนวนไฟฟ้ารองนั่ง ชดุ ท่ีสวมใส่
ต้องไม่เปียกชื้น สายเช่ือมต้องไม่มีลวดทองแดงโผล่ออกมาและในขณะทางานต้องมีช่างคู่หู (Partner) คอย
ช่วยเหลอื เมื่อมปี ัญหา
22. ในการเปล่ียนลวดเชื่อมใหม่ เมื่อทาการเช่ือลวดเก่าหมดไปไม่ควรใช้มือเปล่าจับลวดใส่หัวจับ
เพราะอาจจะถูกไฟฟ้าดูดได้ ควรวางลวดเช่ือมในทใี่ กลเ้ คยี ง และสะดวกในการใชห้ ัวเชื่อมจับลวดเชอื่ ม
หรอื ใชถ้ ุงมือชว่ ยในการจับ
23. เคร่อื งเชอ่ื มทตี่ ่อสายไฟเมนเข้าเคร่ืองต่อสานดินจากตวั โครงเครอ่ื งลงดนิ เพ่ือปอ้ งกัน
กระแสไฟรั่ว ซ่งึ อาจจะซ็อตผทู้ ไ่ี ปสัมผัสเคร่อื งเช่อื มได้
24. ถึงมือไม่ว่างไม่ควรพักหัวเชื่อม ไว้ด้วยรักแร้ เพราะรักแร้เป็นส่วนท่ีอับชื้น มีโอกาสถูกไฟดูดได้
งา่ ย

ความปลอดภัยในงานเชื่อมแก๊ส
ปัจจบุ ันการปฏิบัติงานทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นงานเช่ือมหรืองานโลหะแผน่ ก็ตามต้องนึกถึงความปลอดภัย

เป็นอนั ดบั แรกดงั น้นั การปฏบิ ตั ิงานเชื่อมแก๊สจึงมคี วามปลอดภัย ดงั ตอ่ ไปนี้
1. ถ้าเป็นการเช่ือมในห้อง สิ่งท่ีต้องคานึงถึงคือ ห้องน้ันมีการระบายอากาศพอเพียงหรือไม่ ถ้ามี

ควันที่เกดิ จากการเช่อื ม มีอากาศบริสทุ ธ์หิ รอื การหายใจสะดวกหรือไม่ โดยทั่วไปพื้นทขี่ องหอ้ งทเี่ พียงพอต่อการ
ระบายอากาศจะมีพ้ืนท่ี 10,000 ลูกบาศก์ฟุต หรอื 283 ลูกบาศก์

2. กรณีเช่ือมในโรงงาน ซึ่งอาจจะมีขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ก็ตาม พื้นที่ท่ีจะทาให้มีการระบาย
อากาศท่ีดีนั้นควรมพี ื้นที่ 2,000 ลูกบาศก์ฟุต ต่อชา่ งเชื่อม 1 คน และต้องการมีการระบายอากาศ ซ่งึ จะทาให้
อากาศภายในบริเวณเชือ่ มดขี ึ้น

3. จาเป็นต้องระบายอากาศอยู่เสมอเมื่อทาการเชื่อมโลหะบางประเภท เช่น สังกะสี ตะกั่ว เบริล
เลยี แคดเมยี ม เมอร์ควิ ร่ี ทองแดง หรอื โลหะทเี่ ชื่อมแล้วเกิดควนั พิษ ซ่งึ จะทาให้เกดิ อนั ตรายต่อร่างกาย

4. การเก็บรักษาท่อแก๊ส หรือการนาท่อแก๊สมาใช้งาน ควรใช้โซ่คล้องยึดติดกับผนังเพ่ือไม่ให้ท่อล้ม
เม่อื เกดิ อบุ ตั เิ หตขุ นึ้

5. การเกบ็ รักษาทอ่ แกส๊ และการใช้งานควรห่างจากสารติดไฟไม่นอ้ ยกวา่ 25 ฟตุ หรอื 7.6 เมตร
6. การเก็บรักษาท่อแก๊ส และท่อออกซิเจน ควรแยกออกจากกัน โดยมีกาแพงก้ันกลางมีความสูง
อยา่ งน้อย 5 ฟตุ หรือ 1.5 เมตร
7. หอ้ งที่ใช้เกบ็ แก๊สอะเซทลิ ีนต้องมีช่องระบายอากาศและทป่ี ระตูต้องมีตาเตือน หา้ มนาเช้ือเพลงิ
หรอื ไฟเขา้ ไปใกลด้ งั แสดงในรูปท่ี 1.1

รปู ที่ 1.1 แสดงลกั ษณะของห้องเกบ็ อะเซทิลนี
9. ถ้าวางท่อแก๊สอะเซทลิ นี ในตาแหนง่ นอนนานๆหรอื นาท่อตง้ั ขน้ึ แล้วใช้งานทันทีสารอะซโี ตน
จะเคลือ่ นตัวตัวออกมาจากท่อ สารอะซิโตนทอ่ี อกมาจากท่อจะทาให้เปลวไฟมีอุณหภูมิต่ากว่าปกติ และทาความ
เสียหายต่อมาตรวัดความดัน (Regulator) หรือบริเวณลิ้นปิดเปิด (Valve) ของกระบอกเช่ือม (Torch) ถ้าการ
เคล่ือนย้ายจาเป็นต้องวางท่อลักษณะนอน เม่ือจะใช้งานควรนาต้ังข้ึน และมีระยะเวลาเพื่อให้สารอะซีโตนเข้าที่
หรือจดั ระเบียบตัวเองระยะเวลาหน่ึง จึงจะใชง้ านได้อย่างปลอดภยั

10. ก่อนทาการเชื่อมต้องสังเกตพ้ืนที่รอบข้างเสียก่อนว่ามีถังแก๊ส ถังสี หรือกาน้ามันอยู่ในบริเวณ
เชอื่ มหรือไม่เพราะถ้ามีประกายไฟอาจกระเด็นไปถูก ทาใหน้ ้ามันหรือแกส๊ ลุกติดไฟได้

11. ภายในโรงงานเช่ือมต้องมีอุปกรณ์ดับไฟ สามารถที่จะหยิบใช้ได้อย่างง่ายเม่ือเกิดเพลิงไหม้และ
ควรตดิ ต้ังสูงจากพ้นื ทีป่ ระมาณ 1-1.5 เมตร

12. ผนังกาแพงท่ีติดต้ังอุปกรณ์ดับเพลิงควรทาสีแดงไว้รอบ ๆ อุปกรณ์ดับเพลิง และถ้าหากไม่มี
กาแพงควรทากลอ่ งตดิ ตัง้ อุปกรณ์ดับเพลิง และทาสพี ืน้ กล่องดว้ ยสแี ดงทุกวนั

13. การใชอ้ ปุ กรณ์ดับเพลิงน้นั ให้ดงึ สลักบริเวณไก ใช้มอื เหน่ยี วไกพร้อมทัง้ พ่นนา้ ยาดบั เพลงิ ไปท่ีวสั ดุ
ทกี่ าลังลกุ ไหม้ ไมใ่ ชพ่ ่นไปทเ่ี ปลวไฟ

14. ช่างเชื่อมที่จะทาการเชื่อมพึงสังวรอยู่ตลอดเวลาว่า ชุดปฏิบัติงานท่ีสวมใส่อยู่นั้นจะต้องไม่เปื้อน
นา้ มันเพราะถ้าเป้ือนน้ามันจะมีโอกาสตดิ ไฟได้มากกวา่ ชุดปฏิบตั งิ านท่สี ะอาด

15. อย่าทาการเชื่อมใกล้ถังแก๊ส เพราะความร้อนจากการเชื่อมจะทาให้แก๊สภายในถังขยายตัว และ
อาจจะระเบิดได้

16. อยา่ หลอกล้อกันขณะทาการเชอื่ ม หรือนาเปลวไฟจากหวั เชื่อมมาหยอกลอ้ กัน เพราะอาจจะเกิด
อนั ตรายได้เมอื่ ไม่สามารถควบคุมเปลวไฟได้

17. อย่าใช้ท่อแก๊สเป้ือนน้ามันหรือจาระบี โดยเฉพาะคอขวดและท่ีเปิดปิดแก๊ส เพราะน้ามันหนทอ
จาระบอี าจทาปฏิกริ ยิ ากบั แก๊สทรี่ ่ัวซึมออกมา ทาให้ลกุ ตดิ ไฟและระเบิดได้

18. ขณะเช่อื มไมค่ วรนอนท่อแก๊สอะเซทิลนี เพราะสารอะซโี ตนอาจจะไม่ไหลออกมาและทาลายมาตร
วดั และล้ินเปดิ ปิด ทก่ี ระบอกเชอ่ื ม

19. ไม่ควรเช่ือมงานบนพ้ืนซีเมนต์ เพราะพื้นซีเมนต์เม่ือถูกความร้อนจะขยายตัว และระเบิดแตก
กระเดน็ ออกมา อาจจะเข้าตาหรือทาให้แสบร้อนได้

20. ก่อนเช่ือมต้องตรวจสอบเสยี ก่อนว่าสายแก๊สอยูใ่ นสภาพดีหรือไม่ เพราะถ้าหากสายร่ัวประกายไฟ
จากการเชื่อมอาจจะกระเด็นลงไปทาให้เกิดการลุกไหม้ และลามไปยังแก๊สได้โดยท่ีผู้เช่ือมมองไม่เห็น เน่ืองจาก
กาลงั เช่ือมและใส่แว่นตากรองแสงอยู่

21. ขณะเชื่อมงานควรงอปลายลวดเชื่อมด้านที่ไม่ได้ใช้เสียก่อน เพ่ือป้องกันมิให้ไปถูกเพ่ือนข้างเคียง
ที่มาดเู ม่ือผปู้ ฏบิ ัติงานทาการเชื่อมเสรจ็ แลว้ และลากแนวเชื่อม

22. อย่าใชไ้ ม่ขดี ไปจดุ เปลวไฟ เพราะขณะทเี่ ปลวแกส๊ ตดิ ไฟอยู่อาจจะไหม้มอื ได้
23. อย่าจดุ เปลวไฟจากโลหะที่ร้อนหรอื ใช้ความรอ้ นจากชนิ้ งานเช่ือมจุดไฟเชื่อม เพราะแก๊สจะไปกอง
รวมตวั อยูบ่ รเิ วณน้นั มาก บรเิ วณชนิ้ งานร้อนทาให้เกิดการะเบิดได้
24. อยา่ ทิ้งหัวเชอื่ มแก๊สทก่ี าลังตดิ ไฟอยู่ในขณะที่ผู้เช่ือมไปทางานอย่างอื่น
25. อย่าเช่ือมภาชนะโลหะท่ีปิดฝาอยู่และไม่มีช่องระบายอากาศ เพราะอากาศหรือแก๊สภายในจะ
ขยายตวั ทาใหเ้ กิดการระเบดิ ได้
26. ไม่ควรใช้ประแจเลอื่ นหรอื คีมล็อก เปิดทอ่ แกส๊ อะเซทลิ ีน ควรใช้ประแจเปดิ ถังแกส๊ เฉพาะตัวของมัน
เอง
27. ควรเปิดลิ้นท่อแก๊สอะเซทิลีน ประมาณ 1/2-1 รอบพร้อมท้ังปล่อยประแจเปิดล้ินคาไว้เพราะถ้า
เกดิ อุบตั เิ หตุจะไดป้ ดิ ไดท้ นั ทว่ งที
28.อยา่ นาแกส๊ อะเซทิลีนไปใช้โดยไม่มมี าตรวดั ความดนั และคอยตรวจสอบความดนั ขณะใชง้ าน
29. ไม่ควรมุดเข้าไปเชื่อมท่อท่ีแคบ ๆ เพราะจะหนีออกมาได้ช้าหรือออกมาไม่ได้ กรณีเกิดไฟไหม้
ภายในท่อ
30. ในกรณีไม่มีเสา หรือกาแพงอยู่ในบริเวณใกล้เคียงท่ีจะล่ามท่อแก๊ส ขณะทาการเชื่อมต้อง
ตรวจสอบความยาวของเสาเชือ่ มเสยี กอ่ นวา่ มคี วามยาวเพียงพอหรือไม่เพราะอาจจะเผลอดึงท่อแก๊สลม้ ได้

31. ควรใสแ่ ว่นตากรองแสงขณะทาการเชือ่ ม และไมค่ วรใช้สายแกส๊ พาดไหล่ เพราะถ้าแก๊สรั่วอาจถูก
ไฟ ไหมไ้ ด้ ดงั แสดงในรปู ท่ี 1.3

รปู ท่ี 1.3 แสดงการเชื่อมไม่ถกู ต้อง

17. ใบงานที่ .....1...

หนว่ ยการสอนท่ี ....1..... ชอ่ื หน่วยการสอน ความปลอดภัยในงานเชื่อม
ชือ่ หัวข้อเรอื่ ง 1. ความปลอดภยั ในงานเชอ่ื ม

2. ความปลอดภยั ในงานเชอ่ื มแกส๊
3. ความปลอดภัยในงานเช่อื มไฟฟ้า
จดุ ประสงค์ เพื่อ
1. ปฏบิ ัตติ ามกฎของโรงงานได้อย่างเคร่งครัด
2. บอกวธิ ปี ้องกนั อบุ ัติเหตใุ นงานเช่ือมแก๊ส และเชอื่ มไฟฟา้ ได้
3. บอกวิธกี ารปอ้ งกนั อบุ ัตเิ หตุในงานโลหะแผน่ ได้
4. ศึกษาและเข้าใจความสาคัญของความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ านได้
5. นาหลกั คดิ ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงใช้รว่ มกบั การปฏบิ ัตงิ าน

ลาดบั กจิ กรรม/ลาดบั การปฏบิ ตั ิ

............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
...................................................................................................................................................................... ..............
.................................................................................................................... ................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
......................................................................................................................................... ...........................................
....................................................................................... .............................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................

เกณฑ์การพิจารณา

...................................................................................................................................................................... ..............
..................................................................................................................... ...............................................................
............................................................................................................................. .......................................................