การปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 6

วันปิยมหาราช วันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ในรัชสมัยของพระองค์ สยามประเทศได้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สร้างความวัฒนาให้กับชาติเป็นจำนวนมาก และนอกจากการเลิกทาสที่พวกเรารู้กันอยู่แล้ว พระองค์ยังให้ความสำคัญกับการศึกษามากอีกด้วย

การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากที่พระองค์ได้ครองราชย์แล้ว ก็ได้ทรงปรับปรุงประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในทุกๆ ด้าน ทั้งในด้านการปกครอง การศาล การคมนาคมและสาธารณสุข เป็นต้น โดยเฉพาะด้านการศึกษานั้นพระองค์ได้ทรงตระหนัก เพื่อปรับปรุงคนในประเทศให้มีความรู้ความสามารถจะช่วยให้ ประเทศชาติมีความเจริญก้าวหน้าในทุกๆ ด้าน ดังพระราชดำรัสที่ว่า

“ วิชาหนังสือเป็นวิชาที่น่านับถือและเป็นที่น่าสรรเสริญมาแต่โบราณว่า เป็นวิชาอย่างประเสริฐซึ่งผู้ยิ่งใหญ่นับแต่ พระมหากษัตริย์เป็นต้นมา ตลอดจนราษฎรพลเมืองสมควรและจำเป็นจะต้องรู้เพราะเป็นวิชาที่อาจทำให้การทั้งปวงสำเร็จในทุกสิ่งทุกอย่าง…"

(ประไพ เอกอุ่น. 2542 : 83 - 84)

การที่พระองค์ทรงเห็นความสำคัญของการศึกษา จึงได้มีการจัดการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผน (Formal education) มีโครงการศึกษาชาติ มีโรงเรียนเกิดขึ้นในวังและในวัด มีการกำหนดวิชาทีเรียน มีการเรียนการสอบไล่ และมีทุนเล่าเรียนหลวงให้ไปศึกษาวิชา ณ ต่างประเทศ ซึ่งปัจจัยที่มีผลในการปฏิรูปการศึกษาในครั้งนี้มีหลายปัจจัย

Timeline การปฏิรูปการศึกษาไทยในสมัยราชกาลที่ 5

พ.ศ. 2414 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาริยางกูร) เรียบเรียงแบบเรียนหลวงขึ้น 1 เล่ม ชุดมูลบรรพกิจ เพื่อใช้เป็นบทหลักสูตรวิชาชั้นต้นปี เริ่มมีการจัดแบบเรียนหลักสูตรและการสอบไล่ จัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง เพื่อฝึกคนให้เข้ารับราชการ มีพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาริยางกูร) ในขณะนั้นเป็นหลวงสารประเสริฐเป็นอาจารย์ใหญ่ โดยมีการสอนหนังสือไทย การคิดเลข และขนบธรรมเนียมราชการ นอกจากมีการจัดตั้งโรงเรียนหลวงสำหรับสอนภาษาอังกฤษในพระบรมมหาราชวัง เกิดจากแรงผลักดันทางการเมืองที่ส่งผลให้ไทยต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อจะได้เจรจากับมหาอำนาจตะวันตก และมีการส่งนักเรียนไทยไปศึกษาวิชาครูที่ประเทศอังกฤษ

พ.ศ. 2423 จัดตั้งโรงเรียนสุนันทาลัยในพระบรมมหาราชวังเป็นโรงเรียนสตรี

พ.ศ. 2424 ปรับปรุงโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบให้เป็นโรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก ต่อมาได้กลายเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือน

พ.ศ. 2427 กำหนดหลักสูตรชั้นประโยคหนึ่ง โดยอนุโลมตามแบบเรียนหลวงหกเล่ม นับเป็นปีแรกที่จัดให้มีการสอบไล่วิชาสามัญ และมีการกำหนดหลักสูตรชั้นประโยคสอง ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เกี่ยวกับวิชาสามัญศึกษา หมายถึง ความรู้ต่าง ๆ ที่ต้องการใช้สำหรับเสมียนในราชการพลเรือนตามกระทรวงต่าง ๆ จัดตั้งโรงเรียนหลวงสำหรับราษฎรขึ้นตามวัดในกรุงเทพมหานครหลายแห่ง และแห่งแรก คือ โรงเรียนมหรรณพาราม

พ.ศ. 2430 ทรงโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้งกรมศึกษาธิการโดนโอนโรงเรียนที่สังกัดกรมทหารมหาดเล็กมาทั้งหมด ให้กรมหมื่นดำรงราชานุภาพเป็นผู้บัญชาการอีกตำแหน่งหนึ่ง

พ.ศ. 2432 รวมกรมศึกษาธิการเข้าไปอยู่ในบังคับบัญชาของกรมธรรมการ ตั้งโรงเรียนแพทย์ขึ้น เรียกว่า โรงเรียนแพทยากร ตั้งอยู่ที่ริมแม่น้ำหน้าโรงพยาบาลศิริราช ใช้เป็นที่สอนวิชาแพทย์แผนปัจจุบัน

พ.ศ. 2435 ประกาศตั้งกระทรวงธรรมการ มีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) เป็นเสนาบดี มีหน้าที่ในการจัดการศึกษา การพยาบาล พิพิธภัณฑ์และศาสนา จัดตั้งโรงเรียนมูลศึกษาขึ้นในวัดทั่วไปทั้งในกรุงเทพมหานครและหัวเมือง โดยประสงค์จะขยายการศึกษาเล่าเรียนหนังสือไทยให้แพร่หลายเป็นแบบแผนยิ่งขึ้น และตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเป็นแห่งแรกที่ตำบลโรงเลี้ยงเด็ก ต่อมาย้ายไปอยู่ที่วัดเทพศิรินทราวาส

การศึกษา ในรัชสมัย ร.6 from Jainjira Noo-Imsuk

��к���Ҫ⪺��㹡�û���ͧ����� ������������դ�����ԭ����˹�ҷѴ�����Ѻ�ҹһ���� �¡���觷���������Ѻ��������ѹ��Ե��ʧ�����š���駷�� 1 �͡�ҡ�����ͧ��ç���ҧ��������֡�ҵԹ���������ЪҪ���������������Ӥѭ�ͧ�ش���ó�ҵԹ��� ��� �����ѡ�ҵ� �������ѡ�ѡ�յ�;����ҡ�ѵ������Ф����ִ���㹾ط���ʹ�

  • ���ͧ��ç�֡���Ԫҡ�èҡ��ҧ����� ���������ʴ稡�Ѻ�����Ǿ��ͧ����ç�����Ẻ���ҧ����Ըա�÷���繻���ª����������ѡ㹡�û�Ѻ��ا����֡�� �� �ç�����Ẻ���ҧ����Ըա�÷���繻���ª����������ѡ㹡�û�Ѻ��ا����֡�� �� �ç������Ԫ��١���ͨҡ������ѧ�������ҨѴ��駡ͧ���ͻ�� ���ͧ��ç�繹ѡ��Ҫ���� �ç����ó��յ�ҧ���������������зç�Ծ�����ó��������������ͧ

  • ���ѹ���ͧ�ҡ��èѴ����֡����Ѫ���¾�кҷ���稾�Ш�Ũ���������������� ����ͤ���ǹ�ҡ������Ѻ����֡�� �դ����������ǤԴ����ǡѺ���

    ����ͧ�������кͺ�Ѱ�����٭��к��Ѱ��� �֧�դ������ö�Ҩ�����¹�ŧ��û���ͧ����кͺ��ЪҸԻ�� ��лѭ���ѹ�Դ�ҡ���鹧ҹ��Ф��з���Ҫվ��ж�蹰ҹ��� ��觷����ѹ�������Ҫվ�Ҫ����ҡ�Թ�

  • ���Ѳ�ҡ��㹡�èѴ����֡�� �մѧ���

    1. �� �.�. 2453 ��С�ȵ���ç���¹����Ҫ��þ����͹���ͽ֡������Ѻ�Ҫ��õ����з�ǧ ��ǧ �����ҧ � ��е���һ� �.�. 2459 ���С��¡�ҹ��ç���¹����Ҫ��þ����͹��� ����繨���ŧ�ó�����Է����� �Ѻ������Է���������á�ͧ�������

    2. �� �.�. 2454 ��駡ͧ�١�����������ͻ�Ң���繤����á�ç����֡�Ҿ.�. 2456 ��Щ�Ѻ��� �.�. 2458 ���������ЪҪ��դ������ҧ��ҹ��÷���������§�վ����ѵ�Ҿ�ͧ�� ��������������¹��ҹ����ͧ��ЪҪ���������觷�������Ѻ�Ҫ������ҧ���� �� �.�. 2459 �Ѵ��駡ͧ�١����˭ԧ���͹ءҪҴ�ç���¹���ʵ���ѧ��ѧ�����Ѵ��駡ͧ�١����˭ԧ��� ���¡��� ๵ù��� �� �.�. 2461 �ա�û�Ѻ��ا��Т��½֡�Ѵ��٢�����͹��Ѻ�Ң�鹡Ѻ��з�ǧ�֡�Ҹԡ�� ��������Ἱ�˹�觢ͧ�ç���¹����Ҫ��þ����͹

    3. �� �.�. 2461 ��С�������Ҫ�ѭ�ѵ��ç���¹��ɮ�� ���

    4. �� �.�. 2464��Ѻ��ا�ç����֡�Ҫҵ� ���ҧ�ç����֡�Ң�����������������������������§�վ �͡�˹�ͨҡ���Ҫ���

    5. �� �.�. 2464 �����Ҫ�ѭ�ѵԻ�ж��֡�Һѧ�Ѻ����硷ء����������� 7 �� ��Ժ�ó�������ҧ��һշ�� 8 ������¹������ç���¹���֧���� 14 �պ�Ժ�ó�������ҧ��һշ�� 15 ������ͧ���¤���������¹ ����ա�����¡���Թ�֡�Ҿ�ըҡ��ЪҪ����� 1- 3 �ҷ���͹�������㹡�èѴ���Թ��û�ж��֡��

      การปฏิรูปการศึกษาเกิดขึ้นในรัชกาลใด

      การปฏิรูปการศึกษาในรัชกาลที่ 5 นับได้ว่าเป็นการปฏิรูปที่สำคัญอีกประการหนึ่ง เพราะแสดงให้เห็นว่า รัชกาลที่ 5 ทรงเล็งเห็นความสำคัญของการศึกษา ซึ่งจะมีส่วนในการปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยตามแบบตะวันตกได้เป็นอย่างดี เพราะเป็นการปฏิรูปการศึกษาให้สอดคล้องกับระบบการศึกษาของตะวันตก ซึ่งมีความเจริญก้าวห้าไปมากแล้ว

      รัชกาลที่ 6 ทรงปฏิรูประบบการศึกษาไทยด้วยวิธีใด

      ด้านการศึกษาภาคบังคับของไทยเริ่มขึ้นเมื่อประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พระพุทธศักราช 2464 โดยบังคับให้เด็กทุกคนที่มีอายุตั้งแต่ 7 ปีบริบูรณ์ต้องเรียนอยู่ในโรงเรียนประถมศึกษาจนอายุได้ 14 ปีบริบูรณ์ ซึ่งบางอำเภอและตำบลอาจเขยิบขึ้นเป็น 8 ปี 9 ปี หรือ 10 ปีได้

      รัชกาลที่ 6 ทรงปฏิรูปเรื่องอะไรบ้าง

      ทรงปรับปรุงการปกครองส่วนกลาง เช่น ปรับปรุงระบบกระทรวงด้วยการจัดตั้งกระทรวงใหม่ เช่น กระทรวงทหารเรือ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงมุรธาธรกลับมามีบทบาทอีกครั้งหลังจากถูกยกเลิกไปในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการรวมกระทรวงนครบาลเข้ากับกระทรวงมหาดไทย รวมถึงเปลี่ยนชื่อกระทรวงโยธาธิการเป็นกระทรวงคมนาคมเพื่อให้เข้ากับยุคสมัย

      โครงการศึกษาฉบับที่เท่าไร เริ่มใช้ในสมัยรัชกาลที่ 6

      นับแต่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงประกาศให้ พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ.2464 เป็นครั้งแรก และมีผลบังคับให้เด็กไทยทั้งชายและหญิงต้องเข้าศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาในการศึกษาภาคบังคับ พระราชบัญญัติประถมศึกษาฉบับแรกและฉบับ ต่อๆ มา ก็ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมให้ทันกับยุคสมัยอีกหลายครั้ง