กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ต่างๆ

������������ҧ���ɰ�Ԩ ����Ӥѭ

������������ҧ���ɰ�Ԩ�ͧ����ȵ�ҧ � �Դ�Ҩҡ��ä�������ҧ����ȷ���� �ѭ���Դ�ҡ ������к��ѵ���š����¹��ҧ�ѹ ������Թ��ҵ�ҧ�ѹ �����˵ع������ � ����Ȩ֧�ѹ��������͡ѹ �֧�Դ�繡�������ɰ�Ԩ��ٻẺ��ҧ � �ѧ���

1. �ӹѡ�ҹ��͵�ŧ�������Ҵ��¡�ä����С���������ҡ� (General Agreement on Trade and Tariff : GATT) �繡�����������ҧ���ɰ�Ԩ�����ҧ����� �Դ��� ��ѧʧ�����š ���駷�� 2 ����ͻ� �.�. 2490 ���ӹѡ�ҹ�˭������� ��اਹ��� ��������������Ź�� ����Ҫԡ������á 23 ����� ������Ҫԡ ����ȷ�� 104
����ͻ� �.�.2504

2. ͧ���ä���š (World Trade Organization : WTO) ͧ���ä���š
�Դ�Ҩҡ ��� ��Ъ���ͺ���ء��� ��������·���������ȷ��Ѳ������¡��ԡ��͡մ�ѹ�ҧ��ä�ҷ�������� ��������ٻẺ ��ä���繡���觢ѹ���ҧ�����ҡ��� ��ô��Թ����蹹�����ȷ��Ѳ������ �������¼Ż���ª�� �֧��ͧ����¤��������������ç��ѡ�ѹ�ҡ����ȵ�ҧ � ��������ѹ ��䢻ѭ�ҡ�ä�������ҧ����� �Ӥ�����ŧ��ࡳ���ҧ � ���Ѵਹ

3. ��Ҵ����������û (European Economic Community : EEC)
�繡�� �������� ������ͷҧ���ɰ�Ԩ�����ҧ����ȷҧᶺ���û ��駢������ͻ� 2501 ����Ҫԡ������� ���»���� ���� ������� �����ѹ���ѹ�� �Ե��� �������� ������Ź�� ����ѡ������ �����ѧ�ҡ����ջ���� ᶺ���û�������Ҫԡ��������� �� �ѧ��� ഹ���� �����Ź�� ��ի ��е�á�

4. ��Ҥ�ࢵ��ä������������û (European Free Trade Association : EFTA)
�繡�������������������ͷҧ���ɰ�Ԩ �»��������û������������Ҫԡ�ͧ����� ��Ҵ���� (EEC) ���ͨ������ӹҨ㹡�õ���ͧ�Ѻ��Ҵ�������û㹻ѭ������ǡѺ��ä�� �������ä��������� ���û (EFTA) ��駢��㹻� 2503 ��Ҫԡ��Сͺ���� �ѧ��� ��������� ഹ���� �������� ���ഹ ���������Ź�� ����õ���

5. ��������ɰ�Ԩ㹻�������û���ѹ�͡ (Comecon)
�繡��������������� ������к� �����ǹ�ʵ� �����˵ؼ��Ҩҡ������ͧ����ѷ�ԡ�û���ͧ ������ͧ���������ѹ
���͡�ä�� ���� �������������᡹�ӡ���� �����������������ͷҧ����Թ������ɰ�Ԩ �Ѻ��������㹡���� ����ȷ������Ҫԡ ���� ������ ����������� ��š����� ��Ź�� ������� �ѧ���� �������

6. ��Ҥ���ä������¹ (Association of Southeast Asean Nation : ASEAN)
�繡�� ���������ѹ�ͧ����ȫ�������ᶺ����µ��ѹ�͡��§�� ��駢������� �.�. 2510 �������Ҫԡ�á �� 6 ����� ��Сͺ���� �Թⴹ���� �ԧ����� ������� ���Ի�Թ�� �� ��к��� �ջ�������� ���������������������ѧ��� ��� ���´��� ��о��� ����ӴѺ ����� 㹻� 2535 �ա�û�Ъ���ش�ʹ ����ԧ����� ��ŧ���ࢵ��ä����������¹���ͷ�����¡��� AFTA ��������Թ��Ңͧ�������Ҫԡ����͹���� ���ҧ���աѹ�����㹡����

7. �ӹѡ�ҹ�ͧ�ع����Թ�����ҧ����� (International Monetary Fund : IMF)
��ͧ���êӹҭ����ɢͧͧ�����˻�ЪҪҵ� (United National) ��͡��Դ㹢������ �Ѻ ������ա�á�͵�� ���Ҥ�����͡�ÿ�鹿���оѲ�Ҕ (International Bank for Resconstruction and Development : IBRD ���ͷ�����¡�ѹ���� � ���Ҹ�Ҥ���š) ����Ԣͧ��û�Ъ���˭�ͧ �˻�ЪҪҵ� 㹴�ҹ�Թ��� (Monetary) ��С���Թ (Financial) ������ͧ Bretton Wood ����Ѱ����ԡ� ����ͻ� �.�. 2487 �� IMF �����������ԡ������� �.�. 2490

8. ��Ҥ���š (World Bank)
��Ҥ���š �ժ����繷ҧ������ ��Ҥ�� �����ҧ ����� ���͡�ÿ�鹿���оѲ�� (The International bank for Reconstruction and Development : IBRD) ��駢������ͻ� �.�. 2490 ���ӹѡ�ҹ�˭��������ا�ͪԧ�ѹ ��.��.
���Ѱ����ԡ� �Ѩ�غѹ����Ҫԡ 127 ����� �����駻�����´���

9. ࢵ��ä����������ԡ��˹�� (The North America Free Trade Agreement : NAFTA)
���Ѱ����ԡ� ᤹Ҵ� �����硫�� ���èҵ�ŧ�����ѹ�繡�������ɰ�Ԩ ������ѹ��� 1 �ԧ�Ҥ� 2535 ��Ш��ռ���ѧ�Ѻ������ѹ��� 1 ���Ҥ� 2537 �繡��������� ���ɰ�Ԩ����բ�Ҵ�˭� ���ѹ�Ѻ�ͧ �ͧ�ҡࢵ���ɰ�Ԩ���û

10. ͧ���û���ȼ�����͡����ѹ (Organization of Petroleum Experting Countries : OPEC) ͧ���ù���͵�駢������ͻ� �.�. 2514 �ջ���ȫ�觼�Ե����ѹ ����Ҫԡ �����ѹ 13 ����� ���� �����ҹ ���ѡ ���ǵ ���ش�������� ��๫����� �Թⴹ���� �ҵ��� ����� �ҺٹҺ� ��Ũ����� 乨����� �ͤ�Ҵ��� ��С��ͧ �ش���ʧ��ͧ��èѴ��� ���͵�͵�ҹ ���Ŵ�Ҥҹ���ѹ�ͧ����ѷ����ѹ�����ҧ ����Ȣͧ����ȷ��Ѳ������

Ref : http://www2.se-ed.net/nfed/economic/index_eco.html 14/02/2008

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ

หลักการการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

      ความสัมพันธ์ของการค้าระหว่างประเทศมีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปจากการค้าในอดีต ทั้งในรูปแบบทางการค้า ขอบข่ายกิจกรรมทางการค้า ประเทศคู่ค้า และเทคโนโลยีสารสนเทศที่อำนวยความสะดวกทางการค้า การเจรจาทางการค้าเป็นเรื่องสำคัญ และเป้าหมายหลักของผู้เจรจาทางการค้าที่มาจากภาครัฐ คือ เพื่อสิทธิประโยชน์ทางการค้าของชาติตนเอง เนื่องจากการแข่งขันทางการค้า ประเทศต่าง ๆ จึงมีนโยบายและมาตรการที่ใช้บิดเบือนทางการค้า ซึ่งทำให้การค้าระหว่างประเทศขาดความเป็นธรรมและขาดความเป็นเสรี การเจรจาทางการค้านั้น มุ่งหวังว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยนหรือลดหย่อนสิทธิพิเศษทางการค้า จัดทำข้อตกลงทางการค้า ความร่วมมือและพัฒนารูปแบบการค้า และเพื่อแก้ไขข้อพิพาททางการค้าระหว่างประเทศ รูปแบบการเจรจาต่อรองทางการค้านั้นสามารถแบ่งได้ตามระดับของการเจรจา คือ ทวิภาคี (Bilateral) ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่อประเทศการเจรจามากฝ่าย (Plurilateral) อาทิเช่น การเจรจา 3 ฝ่าย หรือการเจรจา 4 ฝ่าย การเจรจาหลายฝ่ายหรือพหุภาคี (Multilateral) ซึ่งเป็นการเจรจาที่มีประเทศเข้าร่วมและใช้เวลายาวนานกว่าจะได้ข้อสรุป การเจรจาต่อรองทางการค้าเหล่านี้นำไปสู่ระดับความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างประเทศในรูปแบบต่างๆ ในปัจจุบันระดับความสัมพันธ์ในระดับกลุ่มประเทศในภูมิภาคใกล้เคียงกันและมีข้อตกลงต่อกัน (Regional Trade Arrangements) เป็นกลุ่มเศรษฐกิจและเป็นเรื่องสำคัญต่อการพัฒนาที่นำไปสู่การค้าเสรีของโลก

รูปแบบของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจมีได้หลายรูปแบบและมีวิวัฒนาการแตกต่างกันโดยแต่ละรูปแบบจะมีความเข้มข้นของความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันแตกต่างกันไป

1.  ข้อตกลงการให้สิทธิพิเศษทางศุลกากร (Preferential Tariff Agreement) เป็นข้อตกลงเพื่อลดภาษีให้แก่กันและกัน โดยอัตราภาษีที่เรียกเก็บจะน้อยกว่าอัตราภาษีที่เรียกเก็บจากประเทศที่สาม เช่น การรวมตัวกันของกลุ่ม LAIA (Latin American Integration Association), ASEAN และ Trade Expansion and Cooperation Agreement เป็นต้น

2.  สหภาพศุลกากรบางส่วน (Partial Customs Union) การรวมตัวทางเศรษฐกิจในรูปแบบนี้ประเทศที่ทำข้อตกลงกันยังคงอัตราภาษีไว้ในระดับเดิม แต่มีการกำหนดอัตราภาษีศุลกากรในการค้ากับประเทศภายนอกกลุ่มร่วมกัน (Common external tariff)

3.  เขตการค้าเสรี (Free Trade Areas) ในเขตการค้าเสรี การซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างประเทศภาคีสามารถทำได้อย่างเสรีปราศจากข้อกีดกันทางการค้า ทั้งมาตรการทางภาษี และมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี  ในขณะเดียวกัน แต่ละประเทศสมาชิกยังคงสามารถดำเนินนโยบายกีดกันทางการค้ากับประเทศนอกกลุ่มได้อย่างอิสระ เช่น การรวมตัวกันของกลุ่ม EFTA, NAFTA และ CER เป็นต้น

4.  สหภาพศุลกากร (Customs Union) เป็นรูปแบบของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่มีระดับความเข้มข้นสูงขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง โดยการรวมกลุ่มในลักษณะนี้นอกจากจะขจัดข้อกีดกันทางการค้าออกไปแล้ว ยังมีการกำหนดพิกัดอัตราภาษีศุลกากรในการค้ากับประเทศภายนอกกลุ่มร่วมกัน และให้มีอัตราเดียวกันด้วย (Common external tariff) เช่น การรวมตัวกันของกลุ่ม MERCOSUR, Equatorial Customs Union and Cameroon และ African Common Market เป็นตัน

5.  ตลาดร่วม (Common Market) รูปแบบของการรวมกลุ่มประเภทนี้นอกจากจะมีลักษณะเหมือนกับสหภาพศุลกากรแล้ว การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต (แรงงาน ทุน และเทคโนโลยี) สามารถทำได้อย่างเสรี เช่น การรวมตัวกันของกลุ่ม EU ก่อนปี 1992

6.  สหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union) นอกจากจะมีการค้าเสรี การเคลื่อนย้าย ปัจจัยการผลิตอย่างเสรี และนโยบายการค้าร่วมแล้ว ยังมีการประสานความร่วมมือกันในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ ทั้งนโยบายการเงิน และการคลังอีกด้วย เช่น การรวมตัวของกลุ่ม EU ในปัจจุบัน

7.  สหภาพทางเศรษฐกิจแบบสมบูรณ์ (Total Economic Union) เป็นการรวมตัวทางเศรษฐกิจที่มีความเข้มข้นมากที่สุด จะมีการจัดตั้งรัฐบาลเหนือชาติ (Supranational government) และมีนโยบายทางเศรษฐกิจเดียวกัน

การมีข้อตกลงทางการค้าเสรีและบทบาทของ WTO

            แกตต์หรือองค์การการค้าโลก (WTO) ในปัจจุบัน มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ต้องการให้การค้าโลกดำเนินไปอย่างเสรี บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันคือไม่มีการเลือกปฏิบัติ (Non-discrimination) ระหว่างประเทศภาคีสมาชิก การจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคไม่ว่าจะอยู่ในรูปทวิภาคีหรือพหุภาคี  โดยข้อเท็จจริงนั้นเป็นสร้างความเป็นเสรีทางการค้ามากขึ้นระหว่างประเทศในกลุ่ม แต่ไม่อาจหลีกเลี่ยงการกีดกันทางการค้าต่อประเทศนอกกลุ่มไปได้  แต่เมื่อพิจารณาจากบทบัญญัติของ WTO จะเห็นได้ว่า การรวมกลุ่มหรือการทำความตกลงทางการค้าระดับภูมิภาคเช่นนี้เป็นสิ่งที่ดำเนินการได้ ถือว่าเป็น “ข้อยกเว้น” (Exceptions) อย่างหนึ่งของ WTO ที่ประเทศภาคีสมาชิกสามารถเลือกปฏิบัติได้ (Non-MFN) ระหว่างประเทศในกลุ่มกับประเทศนอกกลุ่ม แต่จะต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในบทบัญญัติ มิฉะนั้นอาจจะขัดกับพันธกรณีภายใต้ WTO ได้

            นับแต่มีการก่อตั้งแกตต์เมื่อปี 1947 จนกลายเป็น WTO ในปี 1995 ประเทศต่าง ๆ ได้มีการจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจระดับภูมิภาคขึ้นมามากมายซึ่งแนวทางการดำเนินการเพื่อจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจนั้นกระทำได้หลายวิธีคือ  การจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจตามมาตรา 24

                 บทบัญญัติขององค์การการค้าโลกที่เกี่ยวกับการจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคระบุอยู่ในความตกลงแกตต์ 1994 มาตรา 24 วรรค 4 ถึงวรรค 9 ซึ่งยินยอมให้ประเทศที่เข้าร่วมในการจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจนี้ไม่ต้องปฏิบัติตามพันธกรณีบางประการของแกตต์ได้  อย่างไรก็ตาม ในเชิงวิชาการถือว่ามาตรา 24 นี้ค่อนข้างจะมีรายละเอียดและมีความซับซ้อนมาก (detailed and complex criteria) บทบัญญัติหนึ่งในอีกหลายหลายบทบัญญัติของแกตต์

            การจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจตามมาตรา 24 นั้นมีอยู่ 3 รูปแบบคือ

(1)  สหภาพศุลกากร (Customs Union)

(2)  เขตการค้าเสรี (Free-trade Area)

(3)  ข้อตกลงชั่วคราวก่อนที่จะจัดตั้งสหภาพศุลกากรหรือเขตการค้าเสรี (Interim Agreement)

            โดยในการดำเนินการนั้นจะต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์และเงื่อนไข (criteria and conditions) ที่ระบุไว้ในมาตรา 24  ดังนี้

(1)  สหภาพศุลกากร (Customs Union)   วรรค 8 (a) ระบุว่าการจัดตั้งสหภาพศุลกากรนั้น จะต้อง

- เป็นการขจัดข้อจำกัดทางการค้า (trade restrictions) ระหว่างประเทศสมาชิกของสหภาพลงอย่างมาก (substantially eliminated)

- มีการกำหนดข้อจำกัดทางการค้าที่ใช้กับประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกสหภาพให้เป็นรูปแบบเดียวกัน (uniform restrictions)

-   อัตราภาษี ค่าธรรมเนียม และข้อจำกัดทางการค้าทั้งหมด (the whole) ที่ประเทศสมาชิกสหภาพใช้กับประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกสหภาพจะต้องไม่สูงกว่า หรือมีความเข้มงวด (more restrictive) กว่าอัตราหรือระดับเดิมของแต่ละประเทศสมาชิกที่ใช้อยู่ก่อนการจัดตั้งสหภาพ  อย่างไรก็ตาม กระบวนการในการกำหนดอัตราภาษีเดียวกันต่อประเทศนอกกลุ่ม (common external tariff) อาจทำให้อัตราภาษีที่แต่ละประเทศผูกพันไว้กับแกตต์หรือ WTO ในสินค้าชนิดเดียวกันเพิ่มขึ้นหรือลดลงบ้างแล้วแต่กรณี วรรค 6 จึงกำหนดว่าหากจะต้องมีการชดเชยความเสียหายแก่ประเทศนอกกลุ่ม (compensatory adjustment) ก็ให้ดำเนินการตามมาตรา 28 (XXVIII) แต่การกำหนดวิธีการนี้ไว้ก็ไม่ได้หมายความว่า ประเทศที่จัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจจะต้องดำเนินการตามมาตรา 28 เสมอไป หมายความว่า หากประเทศนั้นๆ มิได้ปฏิบัติตามมาตรา 28 เพื่อชดเชยความเสียหายก็มิได้เป็นอุปสรรคต่อการจัดตั้งสหภาพแต่อย่างใด

(2)  เขตการค้าเสรี (Free-trade Area)

                   วรรค 8 (b) ระบุเงื่อนไขในการจัดตั้งเขตการค้าเสรีไว้น้อยกว่าการจัดตั้งสหภาพศุลกากร คือ กำหนดเพียงว่าจะต้องขจัดอัตราภาษี ค่าธรรมเนียม และข้อจำกัดทางการค้าทั้งหลายระหว่างประเทศสมาชิกเขตการค้าลงอย่างมาก (substantially all the trade) เท่านั้น  แต่ละประเทศสามารถกำหนดอัตราภาษี ค่าธรรมเนียม และข้อจำกัดทางการค้าที่ใช้กับประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกเขตการค้าได้โดยอิสระ แต่อัตราหรือระดับของอัตราภาษี ค่าธรรมเนียม และข้อจำกัดทางการค้าจะต้องไม่สูงหรือเข้มงวดกว่าเดิมก่อนที่จะเข้ามาร่วมกันจัดตั้งเขตการค้า

(3)  ข้อตกลงชั่วคราวก่อนที่จะจัดตั้งสหภาพศุลกากรหรือเขตการค้าเสรี (Interim Agreement)

                  เป็นข้อตกลงที่ประเทศที่เข้าร่วมมักใช้เพื่อเริ่มดำเนินการในการจัดตั้งสหภาพศุลกากรหรือเขตการค้าเสรี หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ เป็นข้อตกลงที่ใช้เพื่อการปรับตัว (transition) ของประเทศสมาชิกก่อนการจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจ มาตรา 24 วรรค 5 (c) ระบุว่าประเทศที่ลงนามในข้อตกลงชั่วคราวนี้ต้องดำเนินการร่วมกันในการ

-          กำหนดแผนและตารางเวลา (plan and schedule) เพื่อจะจัดตั้งสหภาพศุลกากรหรือเขตการค้าเสรี

-          โดยต้องดำเนินการปรับตัวภายในระยะเวลาพอควรที่กำหนดไว้ (reasonable length of time)

เหตุผลของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

            การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจมีจำนวนเพิ่มขึ้นมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น ความล่าช้าในการเจรจาในรอบอุรุกวัย ซึ่งทำให้ประเทศต่าง ๆ เกรงถึงการล่มสลายของการเจรจา และทำให้เกิดการรวมตัวเป็นกลุ่มเศรษฐกิจกันมากขึ้น  และรวมถึงการขยายขนาดของกลุ่มเศรษฐกิจที่มีอยู่แล้วเดิม  โดยการรับสมาชิกเพิ่มเติม อีกเหตุผลหนึ่งของการเพิ่มขึ้นของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ คือ การมีวิวัฒนาการของการก่อตัวของเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือจากเดิมเป็นลักษณะทวิภาคีระหว่างสหรัฐอเมริกาและแคนาดา เป็น NAFTA ซึ่งรวมเม็กซิโกไว้ด้วยในปี 1994 ในขณะที่กลุ่มสหภาพยุโรปเริ่มมีการปรับรับสมาชิกเพิ่มเติม และพัฒนาก้าวสู่ความเป็นยุโรปตลาดเดียว พัฒนาการจากทั้งสองกลุ่มเศรษฐกิจใหญ่กระตุ้นให้โดยเฉพาะประเทศเล็กที่กำลังพัฒนาก่อตัวเป็นกลุ่มเศรษฐกิจมากขึ้น  นอกจากนั้น นานาประเทศตระหนักว่าการที่มีตลาดใหญ่ การร่วมใช้ทรัพยากร การแบ่งงานกันทำอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะประเทศที่อยู่ในอาณาบริเวณใกล้เคียงกันจะนำไปสู่พัฒนาการทางเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งและสามารถแข่งขันกับตลาดใหญ่ๆ ได้

กลุ่มเศรษฐกิจที่สำคัญในภูมิภาคต่างๆ ของโลก มีดังนี้

            1. สหภาพยุโรป EU

            2. เขตการค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา FTAA

            3. เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ NAFTA

            4. กลุ่มตลาดร่วมอเมริกาใต้ตอนล่าง MERCOSUR

            5. กลุ่มประชาคมแอนเดียน Andean Community

            6. ประชาคมเพื่อการพัฒนาแอฟริกาตอนใต้ SADC

            7. สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ASEAN