อภิปรายแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธคุณมา 1 ประเด็น

            �. ���� �繼����⪤ ���çᨡ�觸��� ��;��ͧ��ç��º���������¤س����������� �ѹ�繼����ķ�����觾�к���շ��ç������ �Ѻ�繼����⪤�ա��Ҥ���駻ǧ ���о��ͧ��ç�ӡ��㴡�����ǧ��ʹ��·ء��С�� ��ǹ ������ ����� ��çᨡ�觸���� ���¶֧ �վ�лѭ��������� ������ö��ṡ��������֡�������繷�����㨧��� ����վ�С�س����س��ṡ���¤�����͹�������ѵ����������

การทำบุญตามหลักคำสอนของศาสนา ที่ทุกคนนั้นสามารถทำได้ง่ายๆ ก็คือศีล 5  คือ 1.ไม่ฆ่าสัตว์ 2.ไม่ลักทรัพย์ 3.ไม่ผิดลูกผิดเมีย 4.ไม่พูดปด 5.ไม่ดื่มของมึนเมา ถือว่าเป็นสิ่งที่ทำแล้วจะมีชีวิตแนวทางที่ดีคิดอะไรก็จะสมหวัง

อภิปรายแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธคุณมา 1 ประเด็น

การบวชเรียนทางศาสนา

ชายไทยทุกคนต้องรู้ดีอยู่แล้วว่าหากเวลามาถึงตามอายุที่กำหนดครบ 20 ปีชายไทยทุกคนนั้นจะต้องบวชเรียนเป็นพระสงฆ์เพื่อศึกษาหาความรู้ทางศาสนาอย่างถูกต้องตามหลักคำสอนในคัมภีร์พระไตรปิฎกที่ได้กำหนดไว้

อภิปรายแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธคุณมา 1 ประเด็น

การทำบุญด้วยการใส่บาตร

คนไทยมีความเชื่อว่าการใส่บาตินั้นถือว่าเป็นการสร้างบุญให้ตัวเองเพื่อจีคลับจะให้กับคนที่จากเราไปหรือล่วงลับไปแล้วเพื่อให้บุญกุศลนั้นตกถึงบุคคลที่เราใส่ไปให้อีกความเชื่อก็คือว่าใส่บาตรแล้วสามารถจะนำไปกินได้ในชาติหน้า

อภิปรายแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธคุณมา 1 ประเด็น

การทำบุญด้วยการปล่อยปลาคนไทยทางด้านศาสนามีความเชื่อว่าชีวิตจะเรื่องเรื่องเบิกบานคิดอะไรก็จะได้สมดังใจหมายและเป็นอิสระตามทุกอย่างที่ใจต้องการประสงค์

อภิปรายแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธคุณมา 1 ประเด็น

การทำบุญด้วยการปล่อยปลาถือว่าเป็นการได้ทำบุญอีกหนึ่งแบบที่ทุกคนชาวไทยนั้น gclub มือถือ ได้ทำตามกันมาอย่างยาวนานมีความเชื่อกันว่าหากปล่อยแล้วจะได้เงินทองลาภยศตลอด ทำดีได้ดีเสมอ

อภิปรายแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธคุณมา 1 ประเด็น

การทำบุญด้วยการปล่อยปลาไหลนั้นมีความเชื่อว่าเงินทองจะไหลมาเทมาดั่งสายน้ำที่ไหลไม่มีวันหยุดและถือว่าเป็นการไถ่บาปที่ตนเองได้ทำไม่ดีกับคนอื่นๆหรือสัตว์ด้วย

อภิปรายแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธคุณมา 1 ประเด็น

การรวมกลุ่มกันตักบาตรนั้นถือว่าเป็นการทำบุญใหญ่ทางความเชื่อของชาวพุธรได้บอกไว้ว่าใส่วันนี้ได้บุญชาติหน้าและจะส่งผลให้กับคนที่ใฝ่ทำแต่ความดีไม่หวังประโยชน์

อภิปรายแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธคุณมา 1 ประเด็น

การทำบุญด้วยการถวายสังฆทานถือว่าครบวงจรในการทำบุญเลยก็ว่าได้เนื่องจากในสังฆทานจะมีอาหารข้าวปลาครบทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นยาสามัญประจำบ้านคนไทยก็เชื่อกันว่าหากทำบุญด้วยสังฆทานชีวิตจะเจริญรุ่งเรื่องไปเรื่อยไม่เจ็บไม่ป่วยไม่จนไม่มีโรคร้ายๆ เข้ามาในชีวิตประจำวันแคล้วคลาดจากสิ่งที่ประสงค์ร้ายทั้งกายวาจาและใจ ประเทศไทยถือว่าเป็นประเทศแห่งการทำบุญอันดับต้นๆ ของโลกเลยก็ว่าได้กับการทำบุญ

    คือความรู้อุปการคุณที่มีผู้ทำไว่ก่อน เป็นคุณธรรมคู่กับความกตเวที คือ การตอบแทนอุปการคุณที่ผู้อื่นทำไว้นั้น 

           • บิดามารดา มีอุปการคุณแก่ลูก ในฐานะผู้ให้กำเนิดและเลี้ยงดูจนเติบโต ให้การศึกษาอบรมสั่งสอน ให้เว้นจากความชั่ว มั่นคงในการทำความดี เมื่อถึงคราวมีคู่ครองได้จัดหาคู่ครองที่เหมาะสมให้ และมอบทรัพย์สมบัติให้ไว้เป็นมรดก
           • ลูกเมื่อรู้อุปการะคุณที่บิดามารดาทำไว้ ย่อมตอบแทนด้วยการประพฤติตัวดี สร้างชื่อเสียงให้ แก่วงศ์ตระกูล เลี้ยงดูท่าน และช่วยทำงานของ ท่าน และเมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ก็ทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้ท่าน
           • ครูอาจารย์มีอุปการคุณแก่ศิษย์ ในฐานะเป็นผู้ประสาทความรู้ให้ ฝึกฝนแนะนำให้เป็นคนดี สอนศิลปวิทยาให้อย่างไม่ปิดบังยกย่องให้ปรากฎแก่คนอื่น และช่วยคุ้มครองให้ศิษย์ทั้งหลาย
           • ศิษย์เมื่อรู้อุปการคุณที่ครูอาจารย์ทำไว้ ย่อมตอบแทนด้วยการตั้งใจเรียน ให้เกียรติ และให้ความเคารไม่ล่วงละเมิดโอวาทของครู
           • ความกตัญญูและความกตเวทีนี้ ถือว่าเป็นเครื่องหมายของคนดี ส่งผลให้ครอบครัว และสังคมมีความสุขได้เพราะ บิดามารดาจะรู้จักหน้าที่ของตนเอง ด้วยการทำอุปการคุณให้ก่อน และลูกก็จะรู้จักหน้าที่ของตนเองด้วยการทำดีตอบแทน
           • นอกจากบิดากับลูก และครูอาจารย์กับศิษย์แล้ว คุณธรรมข้อนี้ก็สามารถนำไปใช้ได้แม้ระหว่าง นายจ้างกับลูกจ้าง อันจะส่งผลให้สังคมอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข

            • ในทางพระพุทธศาสนาพระพุทธเจ้า ทรงเป็นบุพการรีในฐานะที่ทรงสถาปนาพระพุทธศาสนา และทรงสอนทางพ้นทุกข์ให้แก่เวไนยสัตว์                                                                                                                                                                                                                                                                 

            • พุทธศาสนิกชน รู้พระคุณอันนี้จึงตอบแทนด้วยอามิสบูชาและปฎิบัติบูชากล่าวคือการจัดกิจกรรม ในวันวิสาขบูชา เป็นส่วนหนึ่งที่ชาวพุทธแสดงออก ซึ่งความกตัญญูกตเวที ต่อพระองค์ด้วยการทำนุ บำรุงส่งเสริมพระพุทธศาสนา และประพฤติปฎิบัติธรรม เพื่อดำรงอายุพระพุทธศาสนาสืบไป

๒. อ ริ ย สั จ ๔
           อริยสัจ ๔ คือ ความจริงอันประเสริฐ หมายถึงความจริงของชีวิตที่ไม่ผันแปร เกิดมีได้แก่ทุกคน มี ๔ ประการ คือ
           • ทุกข์ ได้แก่ปัญหาของชีวิตพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ก็เพื่อให้ทราบว่ามนุษย์ทุกคนมีทุกข์เหมือนกัน ทั้งทุกข์ขั้นพื้นฐาน และทุกข์เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตประจำวัน ทุกข์ขั้นพื้นฐานคือทุกข์ที่เกิดจาก การเกิด การแก่ และการตาย ส่วนทุกข์ที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตประจำวัน คือทุกข์ที่เกิด จากการพลัดพรากจากสิ่งที่รัก ทุกข์ที่เกิดจากการประสบกันสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก ทุกข์ที่เกิดจากไม่ได้ตั้งใจปรารถนา รวมทั้งทุกข์ที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตด้านต่างๆ อาทิความ ยากจน
           • สมุทัย คือ เหตุแห่งปัญหาพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ก็เพื่อให้ทราบว่า ทุกข์ทั้งหมดซึ่งเป็นปัญหา ของชีวิตล้วนมีเหตุให้เกิดเหตุนั้น คือ ตัญหา อันได้แก่ความอยากได้ต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วยความยึดมั่น
           • นิโรธ คือ การแก้ปัญหาได้ พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ก็เพื่อให้ทราบว่า ทุกข์คือปัญหาของชีวิต ทั้งหมดที่สามารถแก้ไข ได้นั้นต้องแก้ไขตามทางหรือวิธีแก้ ๘ ประการ ( ดูมัชฌิมาปฎิปทา )
           • มรรค การปฏิบัติเพื่อจำกัดทุกข์ เพื่อหลุดพ้นจากทุกข์ การปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา เพื่อบรรลุเป้าหมายการแก้ปัญหาที่ต้องการ

๓. ค ว า ม ไ ม่ ป ร ะ ม า ท
           ความไม่ประมาทคือ การมีสติเสมอทั้ง ขณะทำขณะพูด และขณะคิด สติคือการระลึกได้ ในภาคปฎิบัติเพื่อนำ มาใช้ในชีวิตประจำวัน หมายถึง การระลึกรู้ทันการเคลื่อนไหว ของอริยาบท ๔ คือ เดิน ยืน นั่ง นอน การฝึกให้เกิดสติทำได้โดยตั้งสติกำหนดการเคลื่อนไหวของอริยาบท กล่าวคือ ระลึกทันทั้งในขณะ ยืน เดิน นั่ง และนอน รวมทั้ง ระลึกรู้ทัน ในขณะพูดคิด และขณะทำงานต่างๆ เมื่อทำได้อย่างนี้ก็ชื่อว่า มีความไม่ประมาท
           การทำงานต่างๆ สำเร็จได้ก็ด้วยความไม่ประมาท กล่าวคือผู้ทำย่อมต้องมีสติระลึกรู้อยู่ว่า ตนเองเป็นใครมีหน้าที่อะไร และกำลังทำอย่างไร หากมีสติระลึกรู้ได้อย่างนั้น ก็ย่อมไม่ผิดพลาด

หลักปฏิบัติอย่างไรตามหลักศาสนาพุทธ

1. ไม่ขาดการเยี่ยมเยือนพบปะพระภิกษุ คือ การหมั่นเข้าวัด สนทนากับพระภิกษุที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ 2. ไม่ละเลยการฟังธรรม คือ ให้ความใส่ใจในการฟังธรรมเทศนา 3. ศึกษาในอธิศีล คือ รักษาศีลให้บริสุทธิ์ 4. มากด้วยความเลื่อมใสในภิกษุทั้งหลาย ทั้งที่เป็นเถระ นวกะ และปูนกลาง คือ ให้ความศรัทธาต่อพระภิกษุโดยเสมอภาค ไม่แบ่งแยกพรรษา

การปฏิบัติตามหลักธรรมคืออะไร

การปฏิบัติธรรมเป็นการเอาหลักธรรมหรือธรรมะมาใช้ในชีวิตประจำวัน จนทำให้ชีวิตมี การอยู่ด้วยธรรม ซึ่งเป็นการตามอยู่รู้ความสงบภายในจิตใจอยู่ การปฏิบัติธรรมนี้เมื่อว่าโดยหลักการ แล้วก็ถือว่าเป็นกระบวนการในการพัฒนาจิตใจและพัฒนาชีวิตให้มีสติปัญญาจนนำไปสู่ความพ้นทุกข์ ซึ่งพุทธศาสนาเรียกแนวทางนั้นว่า วิปัสสนา ที่มุ่งเน้นให้ ...

นักเรียนมีหลักปฏิบัติอย่างไรตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ

- ควรแสดงความเคารพทักทายกันด้วยความสุภาพ - สนทนาด้วยวาจาไพเราะ - มีความอ่อนน้อมถ่อมตน - รู้จักกาลเทศะ - มีวิจารณญาณในการคิดใคร่ครวญว่าสิ่งใดควรพูดหรือไม่ควรพูด 2. เมื่อต้องใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับบุคคลในศาสนาอื่น ควรเรียนรู้ถึงหลักธรรม คาสอน คติความเชื่อ และหลักปฏิบัติของศาสนานั้น เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน

วิธีการปฏิบัติตนตามพุทธศาสนสุภาษิตมีอะไรบ้าง

- ให้ทาน โดยการบริจาคทรัพย์และสิ่งของแก่บุคคลที่ต้องการความช่วยเหลือ - ไม่รังแกทำร้ายผู้อื่นและพร้อมที่จะปกป้องผู้ที่อ่อนแอกว่า - ให้ความรักและความเอ็นดูต่อสัตว์ต่าง ๆ ไม่ควรทำร้ายหรือรังแกสัตว์ให้ได้รับความเจ็บปวดทุกข์ทรมาน