วิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการอาชีพ ppt

หนังสอื หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชพี รหัสวิชา 30001-2003 เทคโนโลยดี จิ ิทัล เพือ่ การจดั การอาชพี (Digital Technology for Works) หนังสือเลม่ นเ้ี รียบเรยี งตามจุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ าและคำ�อธบิ ายรายวชิ า หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) พทุ ธศกั ราช 2563 ของส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เหมาะแก่การเรียนร้เู พ่อื นำ�ไปประกอบอาชีพ ศวิ ชั กาญจนชุม ค.บ., ศษ.ม. (บริหารการศกึ ษา) ชาญณรงค์ ดษุ ฎรี งั สีกุล วท.บ., (วิทยาการคอมพิวเตอร)์ วท.ม. (ระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร์) 128.00

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื การจัดการอาชพี ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของสำ�นักหอสมดุ แห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data เทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพือ่ การจัดการอาชพี .-- กรุงเทพฯ : จิตรวัฒน,์ 2563. 154 หน้า. ISBN ปที ่ีพมิ พ์ : 2563 พิมพ์ครงั้ ที่ 1 : เลม่ ราคา 128 บาท สงวนลิขสิทธ์ิตามพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิฯ ห้ามมิให้ผู้ใด คัดลอก เลียนแบบ ทำ�ซ้ำ� ทำ�สำ�เนา ดัดแปลง จำ�ลองงาน ต้นฉบับ หรือเปลี่ยนแปลงในรูปแบบวิธีการอื่นๆ ทั้งหมด หรือแต่บางส่วน โดยมิได้รับอนุญาตจากสำ�นักพิมพ์จิตรวัฒน์ ผใู้ ดฝา่ ฝนื มคี วามผดิ ตามกฎหมายทางอาญาและแพง่ บรรณาธกิ ารวิชาการ ศาสตราจารย์สมชาย สุพนั ธว์ุ ณชิ พ.บ., ส.ม., M.P.H. & T.M. หวั หนา้ ฝา่ ยพสิ ูจนอ์ กั ษร วรรณา ตนั สกลุ ศศ.บ., วท.ม. บรรณาธกิ ารบริหาร ศรนิ ทิพย์ มนี มณี วท.บ., ศษ.ม. (บรหิ ารการศึกษา) กรรมการผจู้ ัดการ เบญจรตั น์ มนี มณี นศ.บ., บธ.ม.

คÓนÓ หนงั สือวชิ า เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพื่อการจัดการอาชพี (Digital Technology for Works) รหัสวิชา 30001-2003 เล่มน้ี ได้จดั ท�ำขน้ึ ตามหลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชัน้ สงู (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ส�ำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ซึ่งจะเป็นเน้ือหาท่ีสอดคล้องกับการใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัย และ สอดคล้องกับค�ำอธบิ ายรายวชิ า โดยจะประกอบด้วยเน้ือหา ความรพู้ ้ืนฐาน ความหมาย องค์ประกอบ การจัดการขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (Big Data) อนิ เทอร์เน็ตทุกสรรพส่งิ (Internet of Things) เทคโนโลยที ่ีใช้ ในการท�ำธุรกรรมโดยไมต่ ้องผา่ นบุคคลทสี่ าม (Blockchain) ธรุ กรรมการเงินดิจิทลั (Fintech) ระบบเงิน ดจิ ทิ ลั สกลุ เงินดจิ ิทลั หรอื ครปิ โทเคอรเ์ รนซี (Cryptocurrency) การท�ำธรุ กิจดิจทิ ัลบนสือ่ สงั คมออนไลน์ การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพของการเปน็ พลเมืองยคุ ดจิ ิทลั และกรณีศกึ ษาเทคโนโลยีดิจิทลั เช่อื มโยงอาชีพ นอกจากนี้ หนงั สอื เลม่ นย้ี งั ประกอบดว้ ยเนอื้ หาทเี่ ปน็ แนวทางในการประกอบอาชพี โดยใชเ้ ทคโนโลยี ดิจิทัลในการสร้างงาน สร้างรายได้ ได้รับข้อมูลจากผู้ท่ีประสบความส�ำเร็จจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ต่าง ๆ จึงหวังว่าหนังสือเล่มนี้นอกจากจะให้ความรู้และแนวคิดแล้ว ยังจะช่วยจุดประกายในการสร้าง รายได้และสร้างอาชพี ด้วยเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลได้เป็นอยา่ งดี ขอขอบคุณผู้รู้ทุกท่าน ท่ีได้ช่วยแนะน�ำจนท�ำให้หนังสือเล่มน้ีส�ำเร็จ เป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน และผู้ที่สนใจเรื่องเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการจัดการอาชีพเป็นอย่างมาก หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผเู้ รียบเรยี งต้องขออภยั มา ณ ที่นด้ี ้วย ศวิ ชั กาญจนชุม ในนามผู้เรยี บเรียง

30ร0ห0ัส1ว-2ิช0า03 เทคโนโลยดี ิจิทัลเพือ่ การจดั การอาชพี 2-2-3 (Digital Technology for Works) จดุ ประสงค์รายวชิ า เพื่อให้ 1. เข้าใจเกีย่ วกับความรูพ้ ้นื ฐาน ความหมาย องคป์ ระกอบ การจัดการข้อมลู ขนาดใหญ่ (Big Data) อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง (Internet of Things) เทคโนโลยีที่ใช้ในการท�ำธุรกรรมโดยไม่ต้องผ่าน บุคคลท่สี าม (Blockchain) ธรุ กรรมการเงินดิจิทลั (Fintech) ระบบเงนิ ดิจิทลั สกุลเงนิ ดิจทิ ัล หรือ ครปิ โทเคอร์เรนซี (cryptocurrency) ธรุ กิจดิจิทลั บนสื่อสังคมออนไลน์ 2. กรณีศึกษาเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเช่อื มโยงอาชีพ และประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัลในอาชีพยคุ ดิจทิ ัล 3. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความรับผดิ ชอบ ตระหนกั ถงึ การเปน็ พลเมอื งดจิ ิทัล สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรูพ้ ้ืนฐานเกย่ี วกบั ความหมาย องค์ประกอบ การจดั การข้อมลู ขนาดใหญ่ (Big Data) อินเทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิง (Internet of Things) เทคโนโลยีที่ใช้ในการท�ำธุรกรรมโดยไม่ต้องผ่าน บุคคลที่สาม (Blockchain) ธุรกรรมการเงินดิจิทัล (Fintech) ระบบเงินดิจิทัล สกุลเงินดิจิทัล หรือคริปโทเคอร์เรนซี (Cryptocurrency) ธุรกิจดิจิทัลบนสื่อสังคมออนไลน์ และการเชื่อมโยง เทคโนโลยดี ิจทิ ัลในอาชพี 2. กรณศี กึ ษา วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ความร้ดู า้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ัล ในการจดั การอาชีพ 3. การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั ในการจดั การอาชีพ และการเป็นพลเมอื งดิจทิ ัล ค�ำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกีย่ วกบั ความรูพ้ ้นื ฐาน ความหมาย องคป์ ระกอบ การจดั การข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) อนิ เทอรเ์ นต็ ทกุ สรรพสง่ิ (Internet of Things) เทคโนโลยที ใี่ ชใ้ นการทำ� ธรุ กรรมโดยไมต่ อ้ ง ผา่ นบคุ คลทสี่ าม (Blockchain) ธรุ กรรมการเงนิ ดจิ ทิ ลั (Fintech) ระบบเงนิ ดจิ ทิ ลั สกลุ เงนิ ดจิ ทิ ลั หรอื ครปิ โทเคอรเ์ รนซี(Cryptocurrency) การทำ� ธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั บนสอ่ื สงั คมออนไลน์ กรณศี กึ ษาเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เชอื่ มโยงอาชพี และประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในอาชพี ของการเปน็ พลเมอื งยคุ ดจิ ทิ ลั

สารบญั หนว่ ยที่  หนว่ ยท่ี  ความรพู้ นื้ ฐานการจัดการขอ้ มูลขนาดใหญ่ เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำ�ธุรกรรมโดยไมต่ ้อง (Big Data) 1 ผา่ นบุคคลท่สี าม (Blockchain) 37 • ความน�ำ 2 • ความนำ� 38 1. ความหมายของ Big Data 2 1. ความหมายของบล็อกเชน (Blockchain) 38 2. องค์ประกอบท่ีสำ� คัญของข้อมูล 3 2. ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยบี ล็อกเชน 3. ลักษณะทสี่ �ำคัญของ Big Data 4 (Blockchain) 39 4. วิวัฒนาการของ Big Data 5 3. หลักการท�ำงานของเทคโนโลยีบลอ็ กเชน 5. รูปแบบของข้อมูล Big Data 6 (Blockchain) 39 6. การจดั การขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) 6 4. องคป์ ระกอบของเทคโนโลยีบล็อกเชน 7. การน�ำ Big Data ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ 8 (Blockchain) 40 8. กระบวนการจาก Big Data ส่คู วามสัมพนั ธ์ของ 5. ประเภทของบลอ็ กเชน (Blockchain) 43 ข้อมูล 10 6. รูปแบบของเครือข่ายบล็อกเชน (Blockchain) 45 9. วธิ กี ารจัดทำ� Big Data 10 7. คุณลกั ษณะพน้ื ฐานที่สำ� คัญของเทคโนโลยี 10. ตวั อย่างการนำ� Big Data ไปใช้ 11 บล็อกเชน (Blockchain) 46 11. ตัวอยา่ งแบรนดต์ า่ ง ๆ ท่ีใช้ Big Data ในการ 8. ประโยชนข์ องเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Blockchain) 47 วเิ คราะห์ข้อมูล 12 9. การน�ำบล็อกเชน (Blockchain) ไปประยกุ ต์ใชใ้ น • สรุปประเดน็ ส�ำคญั 16 กระบวนการห่วงโซ่อปุ ทาน 48 • แบบทดสอบหลังเรยี น 17 • สรุปประเดน็ ส�ำคญั 50 • แบบทดสอบหลงั เรียน 51 หน่วยท่ี  19 หน่วยที่  53 อินเทอรเ์ น็ตทุกสรรพส่งิ (Internet of Things) 20 ธรุ กรรมการเงนิ ดจิ ทิ ลั (Fintech) • ความน�ำ 1. ความหมายของ Internet of Things 20 • ความน�ำ 54 2. วิวัฒนาการของ Internet of Things 21 1. ความหมายของ Fintech 54 3. ลักษณะการทำ� งานของ Internet of Things 22 2. ววิ ัฒนาการของธรุ กรรมการเงินดจิ ิทัล (Fintech) 55 4. ประเภทของ Internet of Things 22 3. ประเภทของธุรกรรมการเงนิ ดิจทิ ัล (Fintech) 56 5. ส่วนประกอบของ Internet of Things 23 4. ประโยชนข์ องธรุ กรรมการเงนิ ดจิ ิทัล (Fintech) 59 6. ประโยชน์ของ Internet of Things 24 5. ผลกระทบของ Fintech ที่มตี อ่ ธนาคารและ 7. ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง Internet of Things และ อตุ สาหกรรมอืน่ 60 Big Data 24 6. บทบาทของ Fintech กบั ระบบการเงินของไทย 8. การน�ำ Internet of Things ไปใชใ้ นงานตา่ ง ๆ 25 ในอนาคต 61 9. ผลกระทบท่ีอาจจะเกิดข้นึ 27 7. ผลส�ำเรจ็ ของธรุ กรรมการเงนิ ดจิ ทิ ลั (Fintech) 64 10. ตวั อย่างอุปกรณ์ท่ีใช้ Internet of Things 28 8. Fintech Startup 65 11. ทกั ษะทจ่ี ำ� เปน็ ของบคุ ลากรดา้ น Internet of Things 31 • สรุปประเด็นส�ำคัญ 67 • สรุปประเดน็ สำ� คัญ 33 • แบบทดสอบหลงั เรยี น 68 • แบบทดสอบหลังเรียน 34

หน่วยท่ี  หน่วยท่ี  ระบบเงนิ ดจิ ทิ ลั สกลุ เงนิ ดจิ ทิ ลั หรอื การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในอาชพี ครปิ โทเคอรเ์ รนซี (Cryptocurrency) 71 ของการเปน็ พลเมอื งยคุ ดจิ ทิ ลั 117 • ความน�ำ 72 • ความน�ำ 118 1. ความหมายของ Cryptocurrency 72 1. ความหมายของพลเมอื งดิจทิ ลั 118 2. วิวฒั นาการของระบบเงินดิจทิ ลั สกุลเงนิ ดิจิทัล 73 2. มิติของพลเมืองดจิ ิทลั 119 3. วิธีการทำ� งานของ Cryptocurrency 74 3. แนวคดิ ในการเปน็ พลเมืองดิจทิ ลั 119 4. การใชส้ กุลเงนิ ดิจทิ ัลในประเทศไทย 75 4. ประเภทของพลเมืองดิจิทัล 120 5. สกุลเงินดิจิทัลท่นี ยิ มใช้ 75 5. คุณลักษณะท่ดี ขี องพลเมอื งดจิ ทิ ลั 121 6. กฎหมายกับสกุลเงนิ ดจิ ิทัล 85 6. ทกั ษะของพลเมืองยคุ ดิจทิ ลั 122 7. ข้อดีและขอ้ เสยี ของสกลุ เงนิ ดิจิทลั 87 7. Digital Literacy 124 • สรุปประเด็นส�ำคญั 89 8. เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในอาชีพทีค่ วรเรยี นรู้ 127 • แบบทดสอบหลังเรยี น 90 • สรุปประเดน็ ส�ำคญั 132 • แบบทดสอบหลงั เรียน 133 หน่วยท่ี  93 กรณศี ึกษาการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั การทำ�ธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั บนสอ่ื สังคมออนไลน์ 94 ในอาชีพของการเปน็ พลเมืองยคุ ดจิ ทิ ัล 135 • ความนำ� 1. ความหมายของธุรกจิ ดจิ ิทลั บนสอ่ื สงั คมออนไลน์ 94 2. องคป์ ระกอบของธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั บนสอ่ื สงั คมออนไลน์ 95 คำ�ศัพทท์ ่คี วรรู้ 153 3. ประเภทของธุรกิจดิจิทลั ออนไลน์ 95 บรรณานุกรม 154 4. จุดเด่นของธุรกิจดจิ ทิ ัลออนไลน์ 96 5. จุดด้อยของการท�ำธรุ กจิ ดิจิทัลออนไลน์ 96 6. ความหมายของ Digital Marketing 97 7. ขั้นตอนเร่ิมต้นธุรกจิ ดจิ ทิ ัล 98 8. ทักษะท่จี �ำเป็นใน Digital Marketing 100 9. ธุรกจิ ดิจทิ ลั สินค้าออนไลน์ทข่ี ายแล้วประสบผล ส�ำเร็จ 102 10. ตัวอยา่ งการต้ังกลุ่ม Facebook Fanpage 103 11. การรวี ิวสินค้า 104 12. วธิ ีการสร้างรายไดจ้ ากส่อื สงั คมออนไลน์ดว้ ย Youtube 105 13. การอปั โหลดวดิ โี อลงบนสอ่ื สงั คมออนไลน์ YouTube 106 14. การทำ� ธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั ออนไลนด์ ว้ ยการเปน็ ยทู บู เบอร์ 109 • สรปุ ประเดน็ ส�ำคญั 114 • แบบทดสอบหลังเรียน 115

ตารางวิเคราะห์หลกั สตู ร ระดบั พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ การบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง พทุ ธิพสิ ัย เวลา (ชว่ั โมง) 123456 หน่วย ี่ท ทักษะพิ ัสย ิจต ิพ ัสย พอประมาณ มีเห ุตผล ูภ ิมคุ้มกัน เง่ือนไขความรู้ เ ่งือนไข ุคณธรรม ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ 1 ความรู้พนื้ ฐานการจดั การข้อมลู ขนาดใหญ่ (Big Data) ü  - - - - -    -   4 2 อนิ เทอรเ์ นต็ ทกุ สรรพสงิ่ (Internet of Things) ü - - - - -  -  -  4 3 เทคโนโลยที ี่ใช้ในการทำ� ธรุ กรรมโดยไมต่ ้องผา่ นบคุ คลที่ ü    -  -  -  8 สาม (Blockchain) 4 ธรุ กรรมการเงนิ ดิจิทลั (Fintech) ü - -  -  -  4 5 ระบบเงนิ ดจิ ิทัล สกลุ เงินดิจทิ ลั หรือครปิ โทเคอรเ์ รนซี ü        -  -   12 (Cryptocurrency) 6 การทำ� ธุรกจิ ดิจทิ ลั บนสอ่ื สังคมออนไลน์ ü - -  -  -  8 7 การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั ในอาชีพของการเปน็ ü - -  -  -  8 พลเมืองยคุ ดิจทิ ลั ü - -  -  -  8 8 กรณีศึกษาการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในอาชพี ของการเปน็ พลเมอื งยุคดิจิทัล 72 หมายเหตุ : ระดับพทุ ธพิ สิ ยั 1 = ความร ู้ 2 = ความเข้าใจ 3 = การนำ�ไปใช้ 4 = วิเคราะห์ 5 = สังเคราะห ์ 6 = ประเมนิ ค่า

ก�ำหนดการสอน หน่วยท่ี ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ สปั ดาหท์ ี่ ชั่วโมงที่ 1 ความร้ทู วั่ ไปเกย่ี วกับการขาย 14 2 หลกั การขาย 2 5-8 3 ประเภทและลกั ษณะของงานขาย 3-4 9-16 4 ความรู้เกย่ี วกบั ตนเอง 5 17-20 5 ความรเู้ กย่ี วกับกิจการ 6 21-24 6 ความรูเ้ กี่ยวกบั ผลติ ภณั ฑ์ 7-8 25-32 7 ความรเู้ กีย่ วกบั ลูกค้า 9 33-36 8 ความรเู้ กย่ี วกบั คแู่ ขง่ ขัน 10 37-40 9 กระบวนการขาย 11-13 41-52 10 โอกาสและความกา้ วหนา้ ของพนกั งานขาย 14 53-56 11 เทคโนโลยกี บั งานขาย 15-17 57-68 18 69-72 สอบปลายภาค

1หน่วยท่ี ความร้พู ้นื ฐาน การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) สาระการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความหมายของ Big Data 1. บอกความหมายและองค์ประกอบท่ีส�ำคัญของ Big 2. องคป์ ระกอบท่สี �ำคัญของขอ้ มลู Data ได้ 3. ลกั ษณะทสี่ ำ� คัญของ Big Data 4. ววิ ฒั นาการของ Big Data 2. อธิบายลักษณะและรูปแบบของ Big Data ได้ 5. รูปแบบของขอ้ มลู Big Data 3. อธิบายการจดั การขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) ได้ 6. การจัดการขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (Big Data) 4. ปฏิบัติการใช้ Big Data ในการวเิ คราะห์ข้อมูลได้ 7. การน�ำ Big Data ไปใช้ประโยชนใ์ นด้านต่าง ๆ 5. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความรบั ผดิ ชอบ ตระหนกั ถงึ 8. กระบวนการจาก Big Data สู่ความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู 9. วิธีการจดั ท�ำ Big Data การเปน็ พลเมืองดิจิทัล 10. ตวั อยา่ งการน�ำ Big Data ไปใช้ 11. ตัวอยา่ งแบรนดต์ า่ ง ๆ ทีใ่ ช้ Big Data ในการวเิ คราะห์ สมรรถนะประจำ�หนว่ ย ข้อมูล 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับความรู้พื้นฐานการจัดการข้อมูล ขนาดใหญ่ (Big Data) 2. แสดงความรู้เก่ียวกับการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) 3. แสดงความรู้เกยี่ วกับวธิ กี ารจดั ท�ำ Big Data 4. มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและความรับผดิ ชอบ ตระหนักถงึ การเป็นพลเมอื งดจิ ทิ ัล

2 แผนผังความคดิ (Mind Mapping) ความรู้พน้ื ฐาน การจดั การขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) ความหมายของ Big Data การน�ำ Big Data ไปใช้ประโยชน์ในดา้ นตา่ ง ๆ องคป์ ระกอบที่ส�ำคัญของขอ้ มลู กระบวนการจาก B igDataสคู่ วามสัมพนั ธข์ องข้อมูล ลักษณะที่ส�ำคญั ของ Big Data การจัดทำ� Big Data ตัวอยา่ งการน�ำ Big Data ไปใช้ วิวฒั นาการของ Big Data ตัวอยา่ งแบรนด์ต่าง ๆ ท่ีใช้ Big Data ในการวเิ คราะห์ข้อมลู รูปแบบของข้อมูล Big Data การจดั การข้อมลู ขนาดใหญ่ (Big Data) ความนำ� การปฏิบัติงานตามหน่วยงานต่าง ๆ โดยทั่วไปแล้วเป็นการจัดเก็บหรือบริหารจัดการข้อมูล ขนาดเลก็ จะมเี นอื้ ทขี่ องขอ้ มลู ไมม่ าก แตถ่ า้ เปน็ หนว่ ยงานขนาดใหญ่ เชน่ ธนาคาร หนว่ ยงานราชการ หนว่ ยงานรฐั วสิ าหกจิ หรอื ระบบการสอ่ื สารอนื่ ๆ ทมี่ ปี รมิ าณจำ� นวนมาก เปน็ ตน้ ตอ้ งมกี ารจดั เกบ็ และบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ขนาดใหญม่ าก จงึ ตอ้ งมกี ารบรหิ ารจดั การทดี่ แี ละมคี วามพรอ้ มทจี่ ะจดั การกบั ขอ้ มลู ขนาดใหญเ่ หลา่ นนั้ 1. ความหมายของ Big Data ภาพที่ 1.1 Big Data BigData หมายถงึ การนำ� ขอ้ มลู จำ� นวนมหาศาลที่ ท่มี า : https://bit.ly/2Ygh5eI ไดจ้ ากการใหบ้ รกิ ารมาวเิ คราะห์ เพอื่ หาโอกาสทางธรุ กจิ ใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจในเร่ืองส�ำคญั ๆ ทง้ั การพฒั นา ดา้ นการขายและการตลาด การปรบั ปรงุ สนิ คา้ บรกิ ารให้ ตรงกบั ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคยคุ ใหมท่ เ่ี ปลยี่ นแปลง อย่างรวดเรว็ รวมถึงภาคการผลิตที่น�ำข้อมูล Big Data ไปใช้ในการวิเคราะห์เพื่อเพิ่มผลิตภาพหรือค่าเฉลี่ย ของประสทิ ธภิ าพการผลติ (Productivity) ในกระบวนการ ผลติ และการดำ� เนนิ งาน

Big Data เป็นข้อมูลท่ีมีโครงสร้างชัดเจน (Structured Data) เช่น ข้อมูลท่ีเก็บอยู่ในตารางข้อมูล 3 และฐานขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ปกตโิ ดยทวั่ ไป หรอื อาจเปน็ ขอ้ มลู กง่ึ มโี ครงสรา้ ง (Semi-Structured Data) เชน่ ลอ็ ก ไฟล์ (Log files) หรือแม้กระท่ังข้อมูลท่ีไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Data) เช่น ข้อมูลการโต้ตอบ ปฏิสมั พันธผ์ า่ นสังคมเครอื ข่าย(Social Network) เช่น เฟซบุก๊ (Facebook) ทวิตตเอร์ (Twitter) ไลน์ (Line) หรอื ไฟล์จ�ำพวกมีเดยี (Media) และข้อมูลที่ใช้การเซนเซอร์ เช่น การตรวจจบั ความเร็ว เปน็ ตน้ ซง่ึ อาจ จะเป็นข้อมูลภายในองค์กรและภายนอกที่มาจากการติดต่อระหว่างองค์กร หรือจากทุกช่องทางการติดต่อ กบั ลูกค้า แตท่ ง้ั หมดน้กี ย็ งั คงเปน็ เพยี งขอ้ มลู ดิบทีร่ อการนำ� มาประมวลและวเิ คราะห์เพ่อื น�ำผลที่ไดม้ าสร้าง มูลคา่ ทางธุรกิจ ขอ้ มูลเหล่าน้อี าจจะไมไ่ ดอ้ ยู่ในรปู แบบท่อี งค์กรสามารถน�ำไปใชไ้ ด้ทันที แตอ่ าจมขี ้อมลู ท่ี เปน็ ประโยชน์ต่อองคก์ รบางอยา่ งแฝงอยู่ 2. องคป์ ระกอบทส่ี �ำคัญของข้อมูล องคป์ ระกอบของ Big Data จะประกอบด้วยสว่ นส�ำคญั ต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 Device/Data Source (แหลง่ ท่มี าของข้อมูล) ซง่ึ ถือไดว้ ่า เปน็ ตน้ น้ำ� เป็นแหลง่ กำ� เนิดของขอ้ มลู อาจจะเป็นระบบ โปรแกรม หรอื จะเป็นมนุษย์ที่ท�ำให้เกิดขอ้ มลู ข้นึ มา ทัง้ นี้ เมื่อได้ช่อื วา่ เปน็ Big Data แล้ว ขอ้ มูลต่าง ๆ มักจะมาจากแหล่งข้อมลู ทีห่ ลากหลาย ซง่ึ มคี วามยากล�ำบากในการจัดการโครงสร้างหรือ จดั เตรยี มใหข้ อ้ มลู ทน่ี ำ� มารวมกนั นน้ั มคี วามพรอ้ มใชต้ อ่ ไป 2.2 Gateway (ช่องทางการเชื่อมโยงข้อมูล) การเชอ่ื มโยงขอ้ มลู เปน็ สว่ นทสี่ ำ� คญั มาก และเปน็ ปญั หา ใหญ่ในการท�ำ Big Data Project ต้องอาศัยทักษะ ของ Data Engineer ทงั้ การเขียนโปรแกรมเอง และ ใชเ้ ครอ่ื งมือทีม่ อี ยู่มากมาย ทัง้ น้ี การจะออกแบบช่อง ทางการเชื่อมโยงข้อมูลได้อย่างสมบูรณ์แบบ จ�ำเป็น ต้องทราบก่อนว่าจะน�ำข้อมูลใดไปท�ำอะไรต่อบ้าง มิเช่นน้ัน การสร้างช่องทางการเชื่อมท่ีไม่มีเป้าหมาย ภาพทที่ 1มี่ .า2:อhงtคtpป์ sร:/ะ/bกitอ.lyบ/2ขSอiง5kBRigv Data กอ็ าจเปน็ การเสียเวลาโดยเปลา่ ประโยชน์ 2.3 Storage(แหลง่ เกบ็ ขอ้ มลู ) แหลง่ เกบ็ ขอ้ มลู นี้ ไม่ใชก่ ารเกบ็ ขอ้ มลู จากแหลง่ ขอ้ มลู เพยี งอยา่ งเดยี ว แต่เป็นการเกบ็ ข้อมูลจากแหลง่ ข้อมูลหลาย ๆ แหลง่ เอามาไว้เพอ่ื รอการใชง้ าน ซึง่ อาจจะเป็นท่พี ักข้อมูล ให้พร้อมใช้ หรอื จะเปน็ แหล่งเกบ็ ขอ้ มลู ในอดีตก็เป็นได้ 2.4 Analytics (การวเิ คราะห์ข้อมูล) สว่ นนี้เป็นหนา้ ที่หลกั ของ Data Scientist ซง่ึ แบง่ งานออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คอื การวิเคราะหเ์ บอื้ งตน้ โดยการใชว้ ธิ ีทางสถิติ หรอื จะเป็นการวิเคราะห์เชิงลึกโดยการสรา้ ง Model แบบตา่ ง ๆ รวมไปถงึ การใช้ Machine Learning (การเรียนรูข้ องเคร่อื งจกั ร โดยเคร่ืองจกั รในท่ีน้ี หมายถงึ Program Computer) เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลลัพธเ์ ฉพาะเจาะจงในแต่ละปัญหาและแตล่ ะชดุ ข้อมูล 2.5 Report/Action (การใชผ้ ลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ) ผลลพั ธท์ ่ีไดจ้ ากการวเิ คราะหส์ ามารถนำ� ไปใชง้ าน ได้ 2 รูปแบบ คอื ออกเปน็ รายงาน เพ่อื ให้ Data Analyst น�ำผลลัพธ์ที่ไดไ้ ปใช้กับงานทางธรุ กิจตอ่ ไป หรือ จะเปน็ การน�ำไปกระท�ำเลยโดยที่ไมต่ ้องมี “มนุษย”์ คอยตรวจสอบ ซง่ึ จ�ำเป็นต้องมกี ารเขยี นโปรแกรมเพ่ิม เพือ่ ใหม้ ีการกระท�ำออกไป ทเ่ี รยี กวา่ Artificial Intelligence : AI (ปญั ญาประดิษฐ)์

4 3. ลักษณะทส่ี ำ� คัญของ Big Data Big Data มีคุณลักษณะส�ำคัญอยู่ 6 อย่าง คอื 3.1 ปริมาณ (Volume) หมายถึง ขอ้ มลู น้ันตอ้ งมีขนาดใหญ่มาก ซงึ่ ไม่สามารถประมวลผลปริมาณ ของข้อมูลด้วยระบบฐานข้อมูลได้ จ�ำเป็นต้องใช้คลังข้อมูล (Data Warehouse) และซอฟต์แวร์ฮาดูป (Hadoop) ท�ำงานประสานกันในการบรหิ ารจดั การข้อมลู ปรมิ าณข้อมูลท่ีมากจงึ เป็นปจั จัยที่มีความสำ� คญั ในปริมาณข้อมูลมากมายมหาศาล ส่วนท่ีจะต้องประมวลผลเป็นข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้าง มีความหนาแน่น ของข้อมูลต�่ำ และข้อมูลพวกนี้อาจเป็นข้อมูลท่ีไม่ทราบค่า เช่น ฟีดข้อมูลของ เฟซบุ๊ก (Facebook) ทวิตตเอร์ (Twitter) ไลน์ (Line) การคลิกบนเว็บไซต์หรืออุปกรณ์แอปพลิเคชันต่าง ๆ หรืออุปกรณ์ท่ีมี เซนเซอร์ บางองค์กรอาจมีข้อมูลให้ประมวลผลเป็นสิบ ๆ เทระไบต์ (Terabyte : TB) หรือบางองค์กร อาจมีเปน็ หลายรอ้ ยเพตะไบต์ (Petabyte : PB) ภาพที่ 1.3 The Six Vs of Big Data ท่ีมา : https://www.perceptra.tech/6-vs-of-big-data/ 3.2 ความหลากหลาย (Variety) หมายถึง ความหลากหลายของชนิดข้อมูล อาจจะเป็นข้อมูลที่มี โครงสร้าง ไมม่ โี ครงสรา้ ง และกึง่ มีโครงสรา้ ง ต้ังแต่ของขอ้ มูลแบบดงั้ เดิมไปจนถึงเอกสาร ขอ้ ความ อเี มล วดิ โี อ เสยี ง ข้อมูลห้นุ และธรุ กรรมทางการเงิน ซ่งึ ไมไ่ ด้จ�ำกดั แคพ่ วกขอ้ ความ อีเมล รูปภาพ ฯลฯ เท่านน้ั ข้อมลู ในสมัยก่อนมกั จะเป็นขอ้ มลู ท่ีเป็นโครงสรา้ งและมคี วามพอดีกบั ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์ ปจั จบุ นั ข้อมูล

มขี นาดใหญข่ น้ึ และเปน็ ขอ้ มลู แบบไมม่ โี ครงสรา้ งหรอื กงึ่ โครงสรา้ ง เชน่ ขอ้ มลู แบบตวั อกั ษร ขอ้ มลู ภาพ ขอ้ มลู เสยี ง 5 ซงึ่ ตอ้ งการการประมวลผลเพม่ิ เตมิ เพอ่ื ทจ่ี ะแปลความหมาย และหารายละเอยี ดคำ� อธบิ ายของขอ้ มลู (MetaData) 3.3 ความเรว็ (Velocity) หมายถงึ ข้อมลู ดงั กล่าวตอ้ งมีอตั ราการเพิ่มข้นึ อยา่ งรวดเรว็ เช่น ข้อมูล จากภาพถา่ ยโทรศพั ทท์ ถี่ กู อปั โหลดขน้ึ ขอ้ มลู การพมิ พส์ นทนา ขอ้ มลู วดิ โี อ รวมไปถงึ ขอ้ มลู การสงั่ ซอ้ื สนิ คา้ โดยข้อมูลทั้งหมดล้วนเป็นข้อมูลท่ีมีการเพิ่มขึ้นตลอดเวลาแบบไม่สิ้นสุด เรียกว่า เป็นการประมวลผล แบบเรียลไทม์ (Real-Time) ซ่ึงโดยการเตบิ โตของ Internet of Things ขอ้ มูลจะถกู ส่งไปยงั ธุรกิจตา่ ง ๆ ด้วยความเร็วที่ไม่เคยมีมาก่อนและต้องได้รับการจัดการในเวลาที่เหมาะสม แท็ก RFID เซนเซอร์ และ สมาร์ตมเิ ตอร์ชว่ ยผลกั ดันความตอ้ งการในการจดั การกับกระแสข้อมลู เหล่านี้ในแบบเรียลไทม์ 3.4 ความถูกต้อง (Veracity) เป็นข้อมูลที่มีความคลุมเครือ มีความไม่แน่นอน เนื่องจากข้อมูลมี ความหลากหลายและมาจากแหลง่ ตา่ ง ๆ เชน่ เฟซบกุ๊ (Facebook) ทวติ ตเอร์ (Twitter) และยทู บู (Youtube) ซง่ึ เปน็ สง่ิ ทสี่ ามารถควบคมุ คณุ ภาพของขอ้ มลู ไดย้ ากขอ้ มลู ทม่ี คี ณุ ภาพนนั้ จะตอ้ งถกู ตอ้ งแมน่ ยำ� และเชอ่ื ถอื ได้ ถ้าข้อมูลไร้คุณภาพก็จะส่งผลต่อการวิเคราะห์ต่อไป แต่จะท�ำให้ข้อมูลท่ียังไม่ได้คุณภาพนี้กลายเป็นข้อมูล ทด่ี ีได้อย่างไร ข้ึนอยูก่ ับวิธีในการเก็บและกระบวนการทำ� ความสะอาดขอ้ มลู (Data Cleansing) 3.5 คณุ คา่ (Value) หมายถึง ข้อมลู มปี ระโยชนแ์ ละมคี วามสมั พนั ธ์ในเชงิ ธุรกจิ ซึ่งอาจจะไม่ใช่ทุก ขอ้ มลู ทจี่ ะมปี ระโยชน์ในการเกบ็ และวเิ คราะห์ ขอ้ มลู ทม่ี ปี ระโยชนจ์ ะตอ้ งเกย่ี วขอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคท์ างธรุ กจิ เช่นถ้าต้องการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดของผลิตภัณฑ์ท่ีขาย ข้อมูลที่มีประโยชน์ท่ีสุด นา่ จะเปน็ ข้อมลู ผลติ ภณั ฑข์ องคู่แข่งขนั 3.6 ความแปรผนั ได้ (Variability) หมายถงึ เป็นเรอ่ื งความไมเ่ ขา้ กันของขอ้ มลู ทีส่ ามารถเกดิ ขึน้ ได้ ตลอดเวลา ซ่ึงอาจจะกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาได้ ดังนั้น จ�ำเป็นตอ้ งมีกระบวนการเพ่อื ดกั จับ และแก้ไขให้ทนั ท่วงที 4. ววิ ัฒนาการของ Big Data ถึงแม้ว่าแนวคิดเรื่องข้อมูลขนาดใหญ่หรือ Big Data จะเป็นเรื่องใหม่และเริ่มท�ำกันในไม่ก่ีปีมาน้ี แต่ต้นก�ำเนิดของชุดข้อมลู ขนาดใหญ่ไดม้ กี ารรเิ ริม่ สร้างมาตั้งแตย่ คุ 60 และในยุค 70 โลกของข้อมูลก็ได้ เรม่ิ ต้นและไดพ้ ัฒนาศนู ยข์ อ้ มลู แหง่ แรกขนึ้ และมกี ารพฒั นาฐานขอ้ มูลเชงิ สัมพันธข์ น้ึ มา ประมาณปี 2005 เริ่มมีการตระหนักถึงข้อมูลปริมาณมากที่ผู้คนได้สร้างข้ึนมาผ่านส่ือออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊ก (Facebook) ยูทูบ (Youtube) และ สอ่ื ออนไลน์แบบอ่ืน ๆ โดยมโี ปรแกรม Hadoop ทเ่ี ปน็ โอเพนซอรส์ เฟรมเวริ ก์ ทถี่ กู สรา้ งขนึ้ มาในชว่ งเวลาเดยี วกนั ใหเ้ ปน็ ทเี่ กบ็ และวเิ คราะหข์ อ้ มลู ขนาดใหญ่ และในชว่ งเวลา เดยี วกัน NoSQL เร่มิ ขึน้ และไดร้ ับความนยิ มมากขน้ึ การพฒั นาโอเพนซอร์สเฟรมเวิร์ก เช่น Hadoop (และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มี Spark) มีความส�ำคัญต่อการ ภาพที่ 1.4 Big Data เตบิ โตของขอ้ มลู ขนาดใหญ่ เนอื่ งจากทำ� ใหข้ อ้ มลู ขนาด ท่ีมา : https://www.khundee.com/big-data ใหญท่ ำ� งานไดง้ า่ ยและประหยดั กวา่ ในชว่ งหลายปที ผ่ี า่ นมาปรมิ าณขอ้ มลู ขนาดใหญไ่ ดเ้ พมิ่ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ ผคู้ นยงั คงสรา้ งขอ้ มูลจ�ำนวนมาก ซึง่ ไม่ใช่แคม่ นุษยท์ สี่ ร้างมนั ขึน้ มา

6 พฒั นาการของ IoT (Internet of Things) ซึ่งเป็นเครอื่ งมืออปุ กรณ์ทเ่ี ชื่อมตอ่ กับอนิ เทอรเ์ นต็ ไดท้ �ำการ เก็บและรวบรวมข้อมูลซ่ึงอาจเป็นเร่ืองท่ีเก่ียวกับพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้า ประสิทธิภาพของสินค้า หรอื การเรยี นรู้ของเครอื่ งจกั ร พวกนลี้ ้วนทำ� ให้มีข้อมลู ขนาดใหญ่ แมว้ า่ ยุคของข้อมูลขนาดใหญ่ Big Data มาถึงและได้เรมิ่ ต้นแล้ว แตก่ ็ยงั เป็นเพยี งชว่ งแรก ๆ และ ระบบคลาวด์คอมพิวติง (Cloud Computing) ก็ได้ขยายความเป็นไปได้มากขึ้น คลาวด์มีความสามารถ ในการใช้งานได้อยา่ งยืดหยุน่ 5. รปู แบบของขอ้ มูล Big Data Big Data มีรปู แบบของข้อมลู ดังนี้ 5.1 ข้อมูลเชิงพฤติกรรม เช่น เซิร์ฟเวอร์ล็อก การคลิกเข้ามาดูข้อมูลทางเว็บไซต์ การเข้ามาใช้ บตั ร ATM ในการกดเงนิ 5.2 ข้อมูลภาพและเสยี ง เช่น วิดโี อ รูปภาพ เสียงที่ถกู บนั ทึกไว้ 5.3 ข้อมลู ข้อความ เชน่ การส่งข้อมลู ทาง Message 5.4 ขอ้ มูลที่ถูกบันทึกไว้ เชน่ ขอ้ มูลทางการแพทย์ ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการส�ำรวจ ข้อมูลทางภาษี 5.5 ขอ้ มูลเซนเซอร์ เช่น ขอ้ มลู ทางภมู ิศาสตร์ ขอ้ มูลอณุ หภมู ติ า่ ง ๆ ขอ้ มูลการตรวจจับความเรว็ 6. การจดั การข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ก่อนที่ธุรกิจจะสามารถน�ำ Big Data มาใช้งานได้ ควรพิจารณาว่าข้อมูลจะไหลเวียนไปยังสถานที่ แหลง่ ท่มี า ระบบ เจา้ ของ และผู้ใชจ้ �ำนวนมากได้อย่างไร มีขน้ั ตอนสำ� คญั ในการจัดการ “โครงสรา้ งขอ้ มูล” ขนาดใหญน่ ้ี ซง่ึ รวมถงึ ขอ้ มลู แบบดง้ั เดมิ ขอ้ มลู ทมี่ โี ครงสรา้ ง และขอ้ มลู ท่ีไมม่ โี ครงสรา้ งและกงึ่ มโี ครงสรา้ ง ดงั น้ี 6.1 ก�ำหนดกลยทุ ธ์เกย่ี วกบั ข้อมลู ขนาดใหญ่ ในระดบั สงู กลยทุ ธข์ อ้ มลู ขนาดใหญเ่ ปน็ แผนทอ่ี อกแบบมาเพอ่ื ชว่ ยในการกำ� กบั ดแู ลและปรบั ปรงุ วธิ ที ี่ไดร้ บั จดั เกบ็ จดั การ แบง่ ปนั และใชข้ อ้ มลู ภายในและภายนอกองคก์ รเดยี วกนั กลยทุ ธข์ อ้ มลู ขนาดใหญ่ ชว่ ยสร้างหนทางไปสูค่ วามส�ำเร็จทางธุรกจิ ขอ้ มูลที่มีปรมิ าณจ�ำนวนมาก เมื่อพฒั นากลยุทธ์ สง่ิ สำ� คัญ คือ ตอ้ งพจิ ารณาเปา้ หมายทางธรุ กจิ และเทคโนโลยีในปจั จบุ นั และอนาคต และโครงการรเิ รมิ่ การปฏบิ ตั กิ บั ขอ้ มลู ขนาดใหญ่มีความจ�ำเป็น เช่น ทรัพย์สินทางธุรกิจท่ีมีค่า อน่ื ๆ แทนทจ่ี ะเปน็ เพยี งผลพลอยไดข้ องแอปพลเิ คชนั 6.2 รูแ้ หลง่ ทมี่ าของขอ้ มลู ขนาดใหญ่ กระแสขอ้ มูลมาจาก Internet of Things (IoT) และอุปกรณ์ที่เช่ือมต่ออื่น ๆ ท่ีไหลเข้าสู่ระบบไอทีจาก อุปกรณ์สวมใส่ รถยนต์อัจฉริยะ อุปกรณ์ทางการแพทย์ อปุ กรณอ์ ตุ สาหกรรม และอน่ื ๆ ซง่ึ สามารถวเิ คราะหข์ อ้ มลู ขนาดใหญ่นี้ได้ รวมถึงตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจะเก็บหรือ ภาพที่ 1.5 Internet of Things (IoT) ไม่เก็บ และข้อมลู ใดทตี่ อ้ งมกี ารวเิ คราะหเ์ พิม่ เติม ท่มี า : https://siambc.com/iot

7 ส่ือสงั คมออนไลน์ ข้อมูลเกิดจากการโตต้ อบบน เฟซบุ๊ก (Facebook) ยทู ูบ (Youtube) Instagram (อนิ สตาแกรม) ฯลฯ ซึง่ รวมถึงข้อมลู ขนาดใหญจ่ �ำนวนมหาศาลในรปู แบบของภาพ วิดโี อ คำ� พูด ขอ้ ความและเสียง มีประโยชน์ส�ำหรับฟังก์ชันการตลาด การขาย และการสนับสนุน ข้อมูลน้ีมักจะอยู่ในรูปแบบ ท่ีไม่มีโครงสร้างหรือก่งึ โครงสร้าง ดงั นัน้ จึงเป็นความท้าทายในแบบเฉพาะ ส�ำหรบั การบรโิ ภค และ การวเิ คราะห์ ภาพที่ 1.6 โซเชยี ลมีเดยี (Social Media) ทม่ี า : https://mklnd.com/2KKgxpG ข้อมูลที่เปดิ เผยตอ่ สาธารณชน มาจากแหลง่ ขอ้ มูลแบบเปิดขนาดใหญ่ เชน่ data.gov ของรฐั บาลสหรฐั CIA World Factbook หรอื พอรท์ ลั ข้อมูลแบบเปิดของสหภาพยโุ รป ขอ้ มลู ขนาดใหญอ่ นื่ ๆ อาจมาจากพื้นท่ีเก็บข้อมูลส่วนกลาง แหล่งข้อมูลบนระบบคลาวด์ ซัพพลายเออร์ (Could Supplier) และลกู ค้า ภาพที่ 1.7 Central Intelligence Agency ภาพที่ 1.8 Could Supplier ทม่ี า : https://bit.ly/3bZ3Jre ทมี่ า : https://bit.ly/2W7fXYm

8 6.3 การเขา้ ถงึ จดั การ และจดั เกบ็ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่มีความเร็วและความยืดหยุ่นท่ีจ�ำเป็นในการเข้าถึงข้อมูลจ�ำนวนมาก มหาศาลและประเภทของข้อมูลขนาดใหญไ่ ดอ้ ย่างรวดเรว็ นอกเหนอื จากการเข้าถึงท่ีเชือ่ ถอื ไดแ้ ลว้ บรษิ ัท ต่าง ๆ ยังตอ้ งมวี ธิ ใี นการรวมขอ้ มลู รบั ประกนั คณุ ภาพ ของข้อมูล การจัดระเบียบข้อมูลและการจัดเก็บ และ การเตรยี มข้อมูลส�ำหรับการวิเคราะห์ ข้อมูลบางอย่าง อาจถูกจัดเก็บในสถานที่ในคลงั ข้อมูลแบบดัง้ เดมิ แต่ยังมีตัวเลือกท่ียืดหยุ่นและราคาประหยัด สำ� หรบั การจดั เกบ็ และจดั การขอ้ มลู ขนาดใหญผ่ า่ นทาง โซลูชนั ระบบคลาวด์ พ้ืนทจี่ ัดเก็บขอ้ มลู สว่ นกลาง และ Hadoop ซงึ่ เปน็ ซอฟต์แวร์ประเภท Open Source ท่ี จดั ทำ� ขน้ึ เพอื่ เปน็ แพลตฟอรม์ ในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ซง่ึ มี กรอบการทำ� งานเพอื่ ใชใ้ นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู และประมวล ผลขอ้ มลู ทม่ี ขี นาดใหญม่ าก ๆ ทเี่ รยี กกนั วา่ Big Data ภาพท่ี 1.9 Hadoop ซง่ึ Hadoop กส็ ามารถปรบั ขยาย ยดื หย่นุ เพอื่ รองรับ ท่ีมา : https://bit.ly/3bMhjOF ข้อมูลท่ีมีจ�ำนวนมากมายมหาศาลได้ ทั้งนี้ ก็เพราะมีกระบวนการประมวลผลท่ีแข็งแกร่งมากซึ่งเป็นผล มาจากการประมวลผลข้อมูลแบบกระจายผ่านเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ท่ถี ูกจดั อยู่ในรูปแบบ Cluster อันน�ำไปสู่ ความสามารถในการรองรับขอ้ มลู ท่ีไม่จำ� กดั และงมีความนา่ เช่ือถือสงู อกี ด้วย 6.4 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ดว้ ยเทคโนโลยที ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู เชน่ GridComputing(การประมวลผลแบบกรดิ ) หรอื การวเิ คราะห์ ในหนว่ ยความจำ� องคก์ รตา่ ง ๆ จงึ สามารถเลอื กทจี่ ะใชข้ อ้ มลู ขนาดใหญท่ งั้ หมด แลว้ นำ� มาทำ� การวเิ คราะห์ได้ แตไ่ มว่ า่ จะใชว้ ธิ ีใด การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ขนาดใหญเ่ ปน็ วธิ ที บ่ี รษิ ทั ตา่ ง ๆ ไดร้ บั มลู คา่ และขอ้ มลู เชงิ ลกึ จากขอ้ มลู ปจั จบุ นั ซงึ่ เปน็ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ปอ้ นขอ้ มลู เขา้ สรู่ ะบบการวเิ คราะหท์ มี่ คี วามกา้ วหนา้ ทส่ี งู ขนึ้ เชน่ ปญั ญาประดษิ ฐ์ 6.5 ตดั สินใจอย่างชาญฉลาดและใช้ขอ้ มูลชว่ ย ข้อมูลที่ได้รับการจัดการและมีความน่าเชื่อถือน�ำไปสู่การวิเคราะห์ท่ีน่าเช่ือถือและการตัดสินใจท่ี น่าเชอ่ื ถือ เพ่อื ใหส้ ามารถแขง่ ขนั ได้ ธุรกจิ ตา่ ง ๆ จำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั ประโยชนส์ ูงสุดจากข้อมูลขนาดใหญ่และ ด�ำเนนิ งานบนพ้นื ฐานข้อมลู ทำ� การตัดสินใจบนพน้ื ฐานหลักฐานท่ีนำ� เสนอโดยขอ้ มูลขนาดใหญแ่ ละตอ้ งมี การขับเคลอื่ นด้วยขอ้ มลู มีประโยชน์ทช่ี ัดเจน 7. การนำ� Big Data ไปใช้ประโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ ในปัจจุบันน้ี มกี ารนำ� Big Data มาใช้ในภาครัฐ เพือ่ แกป้ ัญหาความเดือดร้อนและลดความเหล่อื มล�ำ้ โดยน�ำขอ้ มูลในระบบราชการจากหลายหนว่ ยงาน เช่น ข้อมูลสาธารณสุข ทะเบยี นราษฎร์ ทต่ี ง้ั ของธุรกิจ โรงพยาบาล สถานบำ� บดั สถานการณจ์ า้ งงานฯ มาวเิ คราะหแ์ ละโจทยเ์ ชอื่ มโยงกนั เกดิ เปน็ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ Big Data ของภาครฐั ผา่ นกระบวนการวิเคราะหเ์ ชอ่ื มโยงเพ่ือตอบการใหบ้ รกิ ารของภาครฐั ตวั อยา่ งเช่น รัฐบาลต้องการช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย แต่แทนที่จะช่วยเหลือโดยให้เงินอุดหนุนที่เท่า ๆ กันแบบปูพรม

ทัง้ ประเทศ ก็น�ำ Big Data ซงึ่ เป็นข้อมูลจากแหลง่ ตา่ ง ๆ มาใชช้ ้จี �ำเพาะว่าบคุ คลใดท่ีถอื ว่ามีรายไดน้ ้อย 9 พร้อมทั้งก�ำหนดระดับและลกั ษณะความชว่ ยเหลือท่แี ตกต่างกนั เช่น ผู้มรี ายได้นอ้ ยทส่ี ูงอายุ เป็นผพู้ ิการ อยกู่ บั บา้ น ใหล้ กู หลานดแู ล รฐั อาจชว่ ยโดยสนบั สนนุ ขาเทยี ม ใหค้ ปู องเขา้ รบั การทำ� กายภาพบำ� บดั พรอ้ ม ทั้งเลือกอาชพี ที่เหมาะสมกับกายภาพของผ้สู ูงอายุ ภาพที่ 1.10 ข้อมูลผู้ท่ีมีอายุระหวา่ ง 15 ปี ถงึ 60 ปี ระหวา่ งปี 2010 - 2040 ท่มี า : มลู นิธิพฒั นางานผสู้ ูงอายุ การฝกึ อาชพี เพอ่ื เพม่ิ รายไดใ้ หก้ บั ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย พรอ้ มทง้ั จบั คกู่ บั แหลง่ งานทอี่ ย่ใู กลเ้ คยี งกบั ทพี่ กั อาศยั อกี ทั้งยังตดิ ตามและเสนอโอกาสฝกึ อาชีพใหม่ ๆ เพมิ่ เติม เพอ่ื ให้มรี ายได้ที่สูงขึน้ และพฒั นาคุณภาพชีวติ ให้ดีขึ้น ซึ่งถ้าวิเคราะห์ดูจะเห็นว่า ข้อมูลจ�ำนวนมากเกิดการบูรณาการและวิเคราะห์ เพ่ือใช้ส�ำหรับ การตัดสินใจในการให้บริการของภาครัฐได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย โดยในปัจจุบันน้ี จะเห็นได้จากการใช้ บัตรประชาชนเพยี งบตั รเดยี วก็สามารถเข้าถงึ บรกิ ารภาครัฐได้มากขึน้ Big Data สำ� หรบั ภาคเอกชนที่น�ำมาใช้ประโยชน์ เชน่ เว็บไซต์อี-คอมเมริ ช์ ทจ่ี ัดเกบ็ ขอ้ มูลพฤติกรรม การซื้อสนิ ค้าของลูกคา้ อยา่ งตอ่ เน่ือง และมรี ะบบที่ท�ำหนา้ ท่ีคัดเลอื กสนิ ค้าอื่น ๆ ที่คาดวา่ ลกู ค้าจะต้องการ เพิ่มเติม แลว้ นำ� เสนอขึน้ มาใหโ้ ดยอตั โนมตั บิ นหนา้ เวบ็ ไซต์อี-คอมเมริ ช์ ของลกู คา้ รายนัน้ ๆ ท้งั นี้ ลูกคา้ แต่ละคนไม่จ�ำเป็นตอ้ งน�ำเสนอสนิ คา้ เดยี วกนั จากการสังเกตพฤติกรรมการซือ้ สินค้าพบว่าภาคเอกชนจะมี การเก็บขอ้ มูล ชือ่ ทีอ่ ยู่ เพศ เชือ้ ชาติ อายุ ประวัติการซอ้ื สินคา้ ชนดิ สินค้า เวลาท่ซี ้ือ มลู คา่ สนิ ค้า น�ำมา วิเคราะห์จบั ค่กู ับสนิ ค้าอนื่ ที่มศี ักยภาพ ท้ังน้ี เงอ่ื นไขหรือสตู รการจับค่อู าจแตกตา่ งกนั ไป ตามกลมุ่ ลกู คา้ หรอื ประชากรในแต่ละประเทศ หรือตามกลมุ่ สงั คมหรอื วฒั นธรรม นอกจากน้ัน ภาคเอกชนได้น�ำขอ้ มูล Big Data มาใช้ประโยชน์ เพอ่ื ยกระดับธุรกิจ ดว้ ยการพฒั นา เทคโนโลยแี ชตบอต (Chatbot) ทส่ี ามารถรบั มอื กบั ความตอ้ งการขอ้ มลู ของลกู คา้ ทตี่ ดิ ตอ่ เขา้ มาจำ� นวนมาก ผ่าน Messaging Application ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ฉบั ไว พร้อมให้บรกิ ารตลอด 24 ช่ัวโมง และน่ีคือจดุ เปลีย่ นส�ำคญั ของการใหบ้ ริการทจ่ี ะเข้ามาใชง้ านแทนคน (Agent) แมว้ า่ เร่อื งราวของBig Data จะมีความซับซ้อนหรือมีอุปสรรคตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะเป็นอปุ สรรคในระหวา่ ง การนำ� ไปประยกุ ต์ใชง้ าน ไปจนถงึ การปรบั กระบวนการทำ� งานใหม่ เพอื่ ใหเ้ ออ้ื ตอ่ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู จงึ จำ� เปน็ ท่ีจะตอ้ งปรับนโยบายรฐั หรอื เอกชนให้สอดคลอ้ งกับการทำ� Big Data ดว้ ยเป็นอย่างมาก

10 8. กระบวนการจาก Big Data สู่ความสัมพนั ธข์ องขอ้ มลู กระบวนการจาก Big Data สคู่ วามสัมพนั ธ์ของข้อมลู มีดังนี้ 8.1 Storage : การรวบรวมขอ้ มูลมาจดั เกบ็ การรวบรวมขอ้ มลู จากแหลง่ ตา่ ง ๆ ทงั้ ขอ้ มลู ทม่ี คี ณุ ภาพ ขอ้ มลู ทค่ี าดวา่ จะมปี ระโยชน/์ ไมค่ รบถว้ น ขอ้ มูลรูปภาพ วิดีโอ ไฟลเ์ สยี งทง้ั หลาย ถกู ส่งมาจดั เกบ็ ทีถ่ งั ขอ้ มูล 8.2 Processing : การประมวลผล เมอ่ื ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ถกู นำ� มารวมกนั ไวใ้ นทเ่ี ดยี วแลว้ จะถกู นำ� ไปจดั หมวดหมขู่ อ้ มลู ทมี่ คี วามเกย่ี วขอ้ ง สัมพันธ์กัน ให้ผลคล้ายคลึงกัน แล้วน�ำมาเปลี่ยนเป็นรูปแบบข้อมูลเพื่อเอาเข้าระบบคลังข้อมูลที่ผ่าน การประมวลผลแล้ว 8.3 Analyst : การวิเคราะห์และนำ� เสนอ จากนั้นข้อมูลมากมายท้ังหมดที่ถูกจัดเรียงแล้วในหลายมิติจะถูกน�ำมาวิเคราะห์หา Pattern ของข้อมลู ทม่ี องไมเ่ หน็ ด้วยตาเปลา่ เช่น หารปู แบบความสมั พันธท์ ่ีซอ่ นอยู่ หาแนวโนม้ การตลาด แนวโนม้ ความชอบของลกู คา้ และขอ้ มลู อนื่ ๆ ทเี่ ปน็ ประโยชนท์ างธรุ กจิ และถกู นำ� เสนอออกมาในรปู แบบทเี่ ขา้ ใจงา่ ย ผ่านทางสถติ ิ กราฟ หรือรูปภาพ 9. วธิ กี ารจดั ทำ� Big Data 9.1 ตง้ั เป้าหมายถึงสิ่งเลก็ ไวก้ ่อน ในชว่ งเรม่ิ ต้นไม่จ�ำเป็นตอ้ งต้งั เป้าหมายใหญ่ทสี่ ุด แต่การตง้ั เป้าหมายเล็ก ๆ ไวก้ อ่ นเพ่อื ท่จี ะได้ ดวู ่าตนเองต้องการทจ่ี ะร้เู ร่อื งอะไร เพ่อื แก้ปญั หาสงิ่ ใด 9.2 วางแผนรวบรวมขอ้ มูลจากแหลง่ ทมี่ ีอยู่ ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากกจิ กรรมทเ่ี กิดขึ้นทง้ั หน้าร้าน หลงั ร้านมอี ะไรบา้ ง ให้วางแผนการรวบรวมขอ้ มูล นอกจากนน้ั การรจู้ กั หาขอ้ มลู จากแหลง่ อน่ื บนสอื่ สงั คมออนไลน์ เชน่ แนวโนม้ ความนยิ มจาก Google trend หรือการใช้ Keyword ทีเ่ กยี่ วข้องกบั ธรุ กจิ ของตนเพื่อดูวา่ ผ้คู นพดู ถงึ สิง่ ทีต่ ้องการดว้ ยคำ� ว่าอะไรบ้าง 9.3 จับตาความเคล่ือนไหวและเขา้ ใจแหลง่ ทมี่ าของข้อมูล ใชน้ สอ่ื สงั คมออนไลนท์ มี่ อี ยใู่ หเ้ กดิ ประโยชน์ เรยี นรสู้ งิ่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ รอบตวั ทง้ั ลกู คา้ คแู่ ขง่ หรอื ประเดน็ ท่ี คนส่วนใหญ่ก�ำลงั พูดถึงสง่ิ เหลา่ นัน้ ว่าเป็นอย่างไร เก่ียวขอ้ งหรือไม่อย่างไรกบั ธรุ กิจของตน 9.4 ฝกึ หาความสัมพันธ์ของขอ้ มลู จะนำ� ขอ้ มลู ทางตรงและทางออ้ มมาลองหาความสมั พนั ธท์ อี่ าจเกดิ ขนึ้ กบั ธรุ กจิ ไดอ้ ยา่ งไร ยง่ิ เรม่ิ เรว็ ได้เท่าไหร่ย่ิงดี ในแต่ละขั้นตอนของการด�ำเนินงาน มีส่วนใดที่หากปรับการท�ำงานแล้วจะได้ข้อมูลท่ี คิดวา่ ตอ้ งการอยา่ งแทจ้ รงิ 9.5 จำ� ลองข้อมูลข้นึ มา เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจขอ้ มลู ทม่ี อี ยใู่ หม้ ากยง่ิ ขน้ึ และเหน็ ภาพรวมวา่ จะนำ� ขอ้ มลู ไปใชใ้ นแนวทางใด ระหวา่ งนน้ั กค็ ่อย ๆ พัฒนาไปเรือ่ ย ๆ

9.6 แยกผลลพั ธ์และขอ้ มลู รบกวนออกจากขอ้ มูลขนาดใหญ่ 11 เมื่อได้ผลลัพธ์แล้วให้ลองแยกข้อมูลส่วนเกินออกจากข้อมูลส่วนใหญ่ แล้วสนใจเพียงแค่ข้อมูล เชงิ ลึกทนี่ �ำไปใช้ต่อได้จริง ทดลองน�ำข้อมูลเชิงลึกท่ีไดเ้ ขา้ ไปใช้งานในกระบวนการทำ� ธรุ กิจ ถ้าไม่มผี ลลพั ธ์ อะไรเกดิ ข้นึ ใหเ้ ลกิ สนใจข้อมูลส่วนน้ี แล้วต้ังเป้าหมายและวาง ใหม่อกี คร้งั 10. ตัวอย่างการน�ำ Big Data ไปใช้ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่หรอื Big Data ชว่ ยให้สามารถจัดการงานทางธรุ กจิ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพไดต้ ้งั แต่ การเกบ็ ข้อมูลของลูกค้าเพ่ือสรา้ งประสบการณ์ที่ดีใหก้ บั ลกู คา้ เป็นต้น ตอ่ ไปน้เี ปน็ ตวั อยา่ งเพยี งสว่ นหนึ่ง ของการใชข้ ้อมลู Big Data 10.1 การพฒั นาผลิตภัณฑ์ บรษิ ทั Netflix และ บริษัท Procter & Gamble ไดใ้ ชข้ อ้ มลู Big Data ช่วยในการคาดการณ์ ความตอ้ งการของลกู คา้ โดยการสรา้ งโมเดลเชงิ คาดการณส์ �ำหรับผลิตภัณฑแ์ ละบริการใหม่ ๆ โดยการจำ� แนก คุณลักษณะท่ีส�ำคัญของผลิตภัณฑ์หรือบริการในอดีต และปจั จบุ ันแล้วสรา้ งแบบจำ� ลองความสัมพันธ์ระหวา่ ง คุณลักษณะเหล่าน้ีกับความส�ำเร็จในเชิงพาณิชย์ของ ขอ้ เสนอ นอกจากนี้ บริษทั P&G ยงั ใชข้ ้อมลู ของส่อื สังคมออนไลน์ในการวิเคราะห์การทดสอบตลาดและ เปิดตัวสินค้าในช่วงต้น เพื่อวางแผนการผลิตและเปิด ภาพที่ 1.11 NETFLIX ตวั สนิ ค้าใหม่ ทม่ี า: https://bit.ly/2yPif6q 10.2 การคาดการณ์เพื่อการบำ� รงุ รกั ษาเครือ่ งจกั ร ปัจจัยท่ีใช้ท�ำนายการช�ำรุดของเครื่องจักรนี้ มาจากข้อมูลท้ังท่ีเป็นแบบมีโครงสร้าง เช่น วัน เดอื น ปี ทผ่ี ลติ รนุ่ และขอ้ มลู ที่ไมม่ โี ครงสรา้ ง เชน่ ขอ้ มลู จากเซนเซอรต์ า่ ง ๆ เชน่ อณุ หภมู ขิ องเครอื่ งยนต์ การทำ� งานผดิ ปกตขิ องเครอื่ งจกั ร ซงึ่ ขอ้ มลู เหลา่ นจี้ ะตอ้ งไดร้ บั การวเิ คราะหก์ อ่ นทจ่ี ะเกดิ ปญั หา การวเิ คราะห์ ขอ้ มลู เหล่านี้ เพือ่ ก�ำหนดตารางซ่อมบ�ำรงุ ประหยดั งบการซอ่ มบ�ำรงุ และรวมไปถงึ การสตอ๊ กอะไหล่ตา่ ง ๆ เพื่อให้การซอ่ มบ�ำรุงมีประสิทธิภาพ ทันเวลา และประหยดั งบประมาณ 10.3 สรา้ งประสบการณ์ท่ดี ีใหก้ บั ลกู คา้ ในสภาวะการแขง่ ขนั ทางการคา้ ในปจั จบุ นั การเสนอประสบการณแ์ ละขอ้ เสนอทดี่ ที ส่ี ดุ และตรงใจตอ่ ลกู คา้ ทส่ี ดุ กจ็ ะเปน็ ผไู้ ดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขนั ขอ้ มลู ขนาดใหญห่ รอื Big Data ชว่ ยใหธ้ รุ กจิ รวบรวมขอ้ มลู จาก สอื่ สงั คมออนไลน์ ผเู้ ขา้ ชมเวบ็ ไซต์ ผเู้ ขา้ ใชแ้ อปพลเิ คชนั ขอ้ มลู การตอบโตท้ างโทรศพั ท์ ขอ้ มลู การสนทนา ผ่านส่ือต่าง ๆ เพื่อช่วยให้ปรับปรุงการสื่อสารกับลูกค้า และเพ่ิมมูลค่าให้ได้มากที่สุดด้วยการส่งข้อเสนอ สดุ พเิ ศษใหต้ รงใจกบั ลกู คา้ และยงั ชว่ ยแกป้ ญั หาทเี่ กดิ กบั ลกู คา้ เปน็ การแกป้ ญั หาเชงิ รกุ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 10.4 การตรวจสอบการโกงและการปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบ การโกงในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่ได้มีเฉพาะจากแฮ็กเกอร์เท่านั้น แต่จะต้องเผชิญกับ ผเู้ ชยี่ วชาญในหลาย ๆ รปู แบบ ในระบบการรกั ษาความปลอดภยั สมยั ใหมน่ ้ีไดม้ กี ารพฒั นาอยา่ งไมห่ ยดุ นงิ่ การใช้ข้อมูลขนาดใหญ่สามารถท�ำให้ระบุรูปแบบของข้อมูลที่เข้ามาในรูปที่มิชอบและไม่ถูกต้องตามข้อ กำ� หนดเองได้

12 10.5 การเรยี นรขู้ องเครอื่ งจกั ร(MachineLearning) การเรียนรู้ของเคร่ืองจักร หรือ Machine Learning กำ� ลังเป็นท่ีนิยมอยู่ในขณะน้ี ขอ้ มูลโดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ขอ้ มลู ขนาดใหญเ่ ปน็ เหตผุ ลทม่ี นษุ ยส์ ามารถสอน เครอื่ งจกั รได ้ การมขี อ้ มลู ขนาดใหญท่ ำ� ใหง้ า่ ยในการเตรยี ม ขอ้ มลู ในการสอนเครื่องจักรใหส้ ามารถเรียนรไู้ ด้ 10.6 ประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน ภาพท่ี 1.12 Machine Learning โดยปกติประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานจะ ทมี่ า : https://www.aware.co.th/machine-learning ไม่สามารถทราบว่าการด�ำเนินงานนั้นมีประสิทธิภาพเพียงใด แต่ในพื้นที่ท่ีมีข้อมูลขนาดใหญ่ ด้วยข้อมูล ขนาดใหญน่ ้ที �ำใหส้ ามารถวิเคราะหแ์ ละเข้าถึงการผลติ หรอื การปฏิบัติงานได้ การตอบรบั ของลูกค้า รวมถงึ ปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีจะท�ำให้ธุรกิจหยุดชะงักหรือขัดข้องได้ และสามารถคาดการณ์ความต้องการล่วงหน้าด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ ข้อมูลขนาดใหญ่หรือ Big Data น้ียังสามารถใช้เพ่ือปรับปรุงการตัดสินใจ ให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดในปจั จุบนั ได้อีกดว้ ย 10.7 การขับเคลอ่ื นในการสร้างสรรคส์ ิง่ ใหม่ ๆ ข้อมูลขนาดใหญ่สามารถช่วยคุณในการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ ได้ โดยการศึกษาความสัมพันธ์ ระหวา่ ง บคุ คล สถาบนั หนว่ ยงาน องคก์ รและกระบวนการ และดำ� เนนิ การกำ� หนดวธิ กี ารใหม่ในการใชข้ อ้ มลู เชิงลึกเหล่านั้น โดยใช้ข้อมูลเชิงลึกเพื่อปรับปรุงการตัดสินใจเก่ียวกับการพิจารณาเรื่องการเงิน วางแผน และพิจารณาแผนงาน ตรวจสอบแนวโน้มและส่ิงท่ีลูกค้าต้องการ น�ำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ ใชก้ ารกำ� หนดราคาแบบไดนามกิ ท่ีมคี วามเปน็ ไปได้ไม่มีท่ีสิ้นสุด 11. ตวั อยา่ งแบรนดต์ ่าง ๆ ท่ใี ช้ Big Data ในการวเิ คราะห์ข้อมลู แบรนต์ต่าง ๆ ที่ใช้ Big Data ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู มหี ลายรูปแบบ ดังน้ี 11.1 การใชข้ อ้ มลู ในการดงึ ดดู และรกั ษาลกู คา้ ลกู คา้ คอื ทรพั ยส์ นิ ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ ทต่ี อ้ งใส่ใจ ไมม่ ธี รุ กจิ ใด ที่สามารถประสบความส�ำเร็จได้โดยปราศจากการสร้างฐานลูกค้าท่ีแข็งแรง อย่างไรก็ตามต่อให้มีฐาน ลกู คา้ ที่แข็งแรง แต่หากละเลยที่จะศึกษาวา่ จรงิ ๆ แลว้ ลูกค้าตอ้ งการสิ่งใด มนั ง่ายมากที่จะน�ำเสนอสิ่งที่ “ลกู คา้ ไมต่ อ้ งการ” ในท่สี ดุ กจ็ ะทำ� ให้สูญเสียลูกคา้ ไปและสง่ิ น้ีจะเปน็ อุปสรรคตอ่ เสน้ ทางสู่ความส�ำเรจ็ การใช้ Big Data ชว่ ยให้ธรุ กจิ สามารถสงั เกตรูปแบบและแนวโน้มของลกู คา้ ไดม้ ากย่งิ ขึน้ ผ่าน การรวบรวมขอ้ มลู ของลกู คา้ ทงั้ หมดทตี่ อ้ งการไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย ซงึ่ หมายความวา่ เปน็ เรอ่ื งทงี่ า่ ยขนึ้ ทจี่ ะเขา้ ใจ ลกู คา้ ในยคุ ดจิ ทิ ลั ดว้ ยกลไกการวเิ คราะหข์ อ้ มลู และการสงั เกตพฤตกิ รรมของลกู คา้ จะทำ� ใหธ้ รุ กจิ ไดร้ บั ขอ้ มลู พฤติกรรมลกู คา้ เชิงลึกที่จำ� เป็นต่อการรักษาฐานลูกคา้ ของธุรกจิ การท�ำความเข้าใจข้อมูลเชิงลึกของลูกค้าจะช่วยให้ธุรกิจสามารถส่งมอบส่ิงท่ีลูกค้าต้องการ ซึ่งเป็นขั้นตอนพ้ืนฐานท่ีสุดเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการดูแลรักษาลูกค้า และเป็นส่ิงส�ำคัญที่ท�ำให้เกิด ความภกั ดีต่อธรุ กจิ หรอื แบรนด์

McDonald’s 13 ตวั อยา่ งธรุ กจิ ที่ใชข้ อ้ มลู ในการดแู ลและดงึ ดดู ลกู คา้ McDonald’s รา้ นอาหารจานดว่ นทเ่ี ปน็ ทนี่ ยิ ม ระดับโลกใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยในหลาย ๆ ด้านของการประกอบธุรกิจ รวมถึงการใช้ข้อมูลในการ ดูแลลูกค้าผ่านแอปพลิเคชันโทรศัพท์เคล่ือนท่ี ท่ีช่วยให้ลูกค้าสามารถส่ังซื้อและช�ำระเงิน เกือบทุกข้ันตอนผ่านอุปกรณ์โทรศัพท์เคล่ือนที่ และเพ่ือให้ประสบการณ์ของลูกค้าที่ดียิ่งข้ึน McDonald’sก็สามารถเข้าถึงข้อมูลท่ีจ�ำเป็น เกย่ี วกบั ผใู้ ชบ้ รกิ ารไดเ้ ชน่ การสงั่ อาหาร การใชบ้ รกิ าร ความถ่ีท่ีใช้ ใช้ผ่านเคร่ืองมือใด ข้อมูลทั้งหมดน้ี ชว่ ยให ้ McDonald’s สามารถออกแบบโปรโมชนั และข้อเสนอท่ีตรงเป้าหมายมากยิ่งข้ึน ซ่ึงใน ความเป็นจริงลูกค้าชาวญ่ีปุ่นท่ีใช้แอปพลิเคชัน ภาพที่ 1.13 McDonald’s โทรศัพท์เคล่ือนท่ีของ McDonald’s ได้มียอด ที่มา: https://bit.ly/l2x8pfL4 การซอ้ื ทมี่ ากขนึ้ ถงึ 35% เนอ่ื งจากการนำ� เสนอสนิ คา้ ทต่ี รงตามความตอ้ งการของลกู คา้ กอ่ นทจี่ ะสงั่ อาหาร 11.2 การใช้ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาผู้โฆษณาและเสนอข้อมูลเชิงลึกทางการตลาด การวิเคราะห์ Big Data สามารถชว่ ยจบั ครู่ ะหวา่ งความคาดหวงั ของลกู คา้ กบั ธรุ กจิ ได้ ซงึ่ รวมถงึ การเปลยี่ นสายผลติ ภณั ฑ์ ของธุรกิจให้ตอบโจทย์ความต้องการลูกค้ามากข้ึน และม่ันใจได้ว่าในการท�ำแคมเปญการตลาดและ การโฆษณานน้ั มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น ซง่ึ ในความเปน็ จรงิ นน้ั หลายธุรกิจได้สญู เสยี เงินไปจ�ำนวนมาก ในการท�ำแคมเปญโฆษณาทผี่ ลลัพธ์ไมเ่ ปน็ ไปตามความตอ้ งการนั้น อาจเป็นเพราะธรุ กจิ ต่าง ๆ เหล่าน้ันได้ข้ามข้ันตอนในการวิเคราะห์ข้อมูลก่อนลงมือท�ำโฆษณาแล้ว ในการท�ำการตลาดและการท�ำ โฆษณาน้ันสามารถท�ำการวิเคราะห์ท่ีซับซ้อนยิ่งขึ้น เช่น การสังเกตความเคล่ือนไหวบนโลกออนไลน์ ตรวจสอบ ณ จุดขาย รวมไปถงึ การวเิ คราะหพ์ ฤติกรรมของลูกคา้ ทเ่ี ปลี่ยนแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว สง่ิ เหล่าน้ี เป็นวิธีท่ีนักการตลาดและนักโฆษณาใช้ในการท�ำงานเพ่ือให้ข้อมูลเชิงลึกถึงส่ิงท่ีลูกค้าต้องการมากย่ิงข้ึน โดยน�ำมาซึง่ การบรรลเุ ป้าหมายในการทำ� แคมเปญการตลาดที่ตอบสอนงความตอ้ งการของลูกค้า แคมเปญที่ตรงกลุ่มเป้าหมายและเฉพาะบุคคลนั้นหมายความว่า ธุรกิจสามารถประหยัดเงิน และสามารถมน่ั ใจในประสทิ ธภิ าพของแคมเปญได้ เนอื่ งจากพวกเขาไดก้ ำ� หนดกลมุ่ เปา้ หมายทม่ี ศี กั ยภาพสงู บวกกบั สนิ คา้ ทเ่ี หมาะสม ดงั นน้ั ธรุ กจิ สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื หลกี เลยี่ ง ปญั หาการเสยี คา่ ใช้จ่ายในการโฆษณาไปจำ� นวนมากแตไ่ มไ่ ดผ้ ลลพั ธท์ ี่ดี

14 Netflix ตัวอย่างแบรนด์ท่ีใช้ข้อมูลส�ำหรับก�ำหนดเป้าหมายในการท�ำโฆษณา Netflix เป็นตัวอย่าง ที่ดีของแบรนด์ใหญ่ท่ีใช้ Big Data ในการวิเคราะห์ กลมุ่ เปา้ หมายในการนำ� สง่ โฆษณา ดว้ ยสมาชกิ มากกวา่ 100 ลา้ นราย บรษิ ทั ไดร้ วบรวมขอ้ มลู จำ� นวนมาก ซงึ่ เป็นกุญแจส�ำคัญท่ีท�ำให้ Netflix ประสบความส�ำเร็จ หากเป็นสมาชิกของ Netflix จะคุ้นเคยดีกับวิธีท่ี Netflix ส่งค�ำแนะน�ำของภาพยนตร์เรื่องต่อไปท่ีควรดู ภาพท่ี 1.14 NETFLIX ข้ันตอนน้ีได้ใช้ข้อมูลจากการค้นหาย้อนหลังของในการ ที่มา : https://bit.ly/2VJLZdT ประกอบคำ� แนะนำ� ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ� ซงึ่ บอกไดถ้ งึ จำ� นวนเปอรเ์ ซน็ ตข์ องภาพยนตรว์ า่ ตรงตอ่ ความชน่ื ชอบ ของคณุ เพยี งใด และขอ้ มลู นที้ ำ� ให้ Netflix สามารถใชข้ อ้ มลู เชงิ ลกึ ไดอ้ ยา่ งเปน็ ประโยชนแ์ ละนำ� เสนอได้ ตรงความตอ้ งการของลกู คา้ 11.3 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู สำ� หรบั การจดั การความเสยี่ ง แผนการจดั การความเสย่ี งเปน็ การลงทนุ ทส่ี ำ� คญั ส�ำหรับหลาย ๆ ธุรกิจ เพราะปัจจุบันหลาย ๆ อย่างต่างเคล่ือนไหวหรือเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งความสามารถในการมองเห็นถึงความเสี่ยงท่ีอาจเกิดขึ้นและสามารถลดความเส่ียงก่อนที่จะเกิดข้ึนน้ัน เป็นส่ิงสำ� คัญอย่างมากสำ� หรับการท�ำธรุ กิจ นน่ั คอื จะนำ� การวเิ คราะห์ข้อมูลมาใช้ในการวางแผน ประเมิน ความเสี่ยงท่ีอาจเกิดขึ้น โดยสามารถวัดและจ�ำลองถึงความเสี่ยงที่ต้องเผชิญหน้า หรืออีกนัยหนึ่งการลด ความเส่ียงท�ำให้ธุรกิจสามารถท�ำก�ำไรได้มากข้ึน การวิเคราะห์ Big Data มีส่วนส�ำคัญอย่างมากต่อ การพฒั นาทางเลอื กใหแ้ กก่ ารบรหิ ารจดั การความเสย่ี ง เมอื่ พจิ ารณาถงึ ความพรอ้ มของขอ้ มลู ทเี่ พมิ่ ขนึ้ และ ความหลากหลายของสถิติการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ท่ีมีศักยภาพมหาศาล ดังนั้นธุรกิจสามารถบรรลุ เป้าหมายและตดั สนิ ใจเชิงกลยุทธ์ไดด้ มี ากยง่ิ ข้นึ Starbucks ตัวอย่างแบรนด์ท่ีใช้การวิเคราะห์ข้อมูลในการ บริหารจัดการความเสี่ยง Starbucks ในฐานะบริษัท กาแฟชัน้ นำ� ของโลก Starbucks สามารถเปิดสาขาใหม่ ในบริเวณใกล้เคียงกับร้านค้าอื่น ๆ และยังรับประกัน ถงึ อตั ราการประสบความสำ� เรจ็ ทสี่ งู เพราะโดยปกตแิ ลว้ ในการตัดสินใจเปิดสาขาใหม่ข้ึนมาน้ันเป็นความเสี่ยง โดยไมจ่ ำ� เปน็ แต่Starbucks ไดใ้ ชฐ้ านขอ้ มลู ในการวเิ คราะห์ ค�ำนวณถึงอัตราความส�ำเร็จของทุกต�ำแหน่งท่ีตั้งใหม่ ภาพท่ี 1.15 Starbucks ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ด้วยข้อมูลตามพื้นที่น้ัน ๆ ว่ามี ทม่ี า : https://bit.ly/2zGni9L จ�ำนวนประชากร การจราจร มีผู้คนจ�ำนวนเท่าใด และจากการวิเคราะห์ข้อมูลน้ันทำ� ให้ Starbucks สามารถคำ� นวณถงึ ขอ้ มลู พนื้ ฐานทว่ั ไปของแตล่ ะสาขาทตี่ อ้ งการเปดิ ใหมไ่ ด้ เพอื่ ใหส้ ามารถเลอื กสถานท่ี ตง้ั ตามแนวโนม้ การเตบิ โตของรายได้ และสามารถลดความเสยี่ งในการลงทนุ จำ� นวนมากของแตล่ ะสาขา

11.4 การใช้ข้อมูลในการจัดการห่วงโซ่อุปทาน Supply Chain Management (SCM) หรอื การจดั การ 15 ห่วงโซ่อุปทาน คอื กระบวนการด�ำเนินงานของวัสดุ สนิ ค้า ตลอดจนการผลิต ขอ้ มลู และธรุ กรรมต่าง ๆ ผ่านองค์กรที่เปน็ ผู้สง่ มอบ ผผู้ ลิต ผ้จู ดั จ�ำหน่ายไปจนถงึ ลูกค้าหรอื ผบู้ รโิ ภค Big data ช่วยใหซ้ พั พลายเออร์หรอื คนทม่ี หี นา้ ทีจ่ ัดหาวตั ถดุ ิบตา่ ง ๆ ให้แก่โรงงานน�ำไปผลิต สินคา้ เพ่อื ขายนน้ั สามารถทำ� งานไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ� และชัดเจนมากขน้ึ ผ่านการวเิ คราะห์ขอ้ มลู จากปลายทาง เช่น ลูกค้าช่ืนชอบสินค้ารูปแบบใด สีใดเป็นพิเศษ ท�ำให้ซัพพลายเออร์สามารถค�ำนวณได้ว่าควรจัดหา วัตถุดบิ แบบใดเป็นจ�ำนวนเทา่ ใด เพ่อื ให้สามารถผลติ สนิ คา้ ไดเ้ หมาะสมกับความต้องการซอ้ื ด้วยวิธีการที่ทันสมัยจะช่วยให้ระบบการท�ำงานในขั้นตอนของการส่ัง ผลิตและการขนส่งสินค้า สามารถท�ำได้อย่างเป็นระบบมากข้ึนและสามารถลดความผิดพลาด สินค้าขาดหรือเกินสต๊อกอีกด้วย ซงึ่ ทำ� ไดจ้ ากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทม่ี อี ยู่ในระบบการผลติ ในแตล่ ะสว่ นมาทำ� การรวบรวมและวเิ คราะห ์ อกี สว่ น มาจากการแบ่งปันความรู้และการท�ำงานร่วมกันของแต่ละฝ่ายซึ่งจะเป็นรากฐานส�ำหรับการจัดการห่วงโซ่ อปุ ทาน ท�ำให้ซัพพลายเออร์สามารถใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มูลไดม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขนึ้ Supply Chain PepsiCo ภาพที่ 1.16 The Supply Chain ตวั อยา่ งแบรนดท์ ี่ใชข้ อ้ มลู เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ทมี่ า : https://bit.ly/2Sh4N28 ของ Supply Chain PepsiCo เป็นบริษัทบรรจุ สินค้าอุปโภคบริโภคที่ต้องใช้ข้อมูลจ�ำนวนมากเพื่อ การจดั การหว่ งโซอ่ ปุ ทานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ บรษิ ทั มงุ่ มน่ั ท่ีจะสร้างความม่ันใจว่าสามารถเติมเต็มชั้นวางของ ร้านค้าปลีกด้วยปริมาณและประเภทของผลิตภัณฑ์ ท่ีเหมาะสม ลูกค้าของบริษัทจัดท�ำรายงานซึ่งรวมถึง สนิ คา้ คงคลงั รายการสนิ คา้ และPOS(PointOfSale) เก็บข้อมูลการขายหน้าร้านให้กับบริษัทและข้อมูลนี้ จะใช้ในการวางแผนพยากรณ์การผลิตและการจัดส่ง ดว้ ยวธิ นี บ้ี รษิ ทั มน่ั ใจวา่ ผคู้ า้ ปลกี จะมผี ลติ ภณั ฑเ์ หมาะสม ในปรมิ าณทีพ่ อตอ่ ความตอ้ งการและเวลาที่เหมาะสม

16 สรุปประเดน็ ส�ำ คญั Big Data เป็นข้อมูลท่ีมีโครงสร้างชัดเจน (Structured Data) เช่น ข้อมูลที่เก็บอยู่ในตาราง ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ และฐานขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ปกตโิ ดยทวั่ ไปหรอื อาจเปน็ ขอ้ มลู กงึ่ มโี ครงสรา้ ง(Semi-Structured Data) เชน่ ลอ็ กไฟล์ (Log files) หรือแม้กระท่งั ข้อมลู ทไ่ี มม่ โี ครงสร้าง (Unstructured Data) เชน่ ข้อมูลการโต้ตอบปฏิสัมพันธ์ผ่านสังคมเครือข่าย (Social Network) เช่น เฟซบุ๊ก (Facebook) ทวิตตเอร์ (Twitter) ไลน์ (Line) หรือไฟล์จ�ำพวกมีเดีย (Media) และข้อมูลท่ีใช้การเซนเซอร์ เช่น การตรวจจบั ความเรว็ เปน็ ตน้ ฉะนนั้ กอ่ นทธี่ รุ กจิ จะสามารถนำ� Big Data มาใชง้ านได้ ควรพจิ ารณาวา่ ขอ้ มูลจะไหลเวียนไปยังสถานที่ แหล่งท่ีมา ระบบ เจา้ ของ และผูใ้ ชจ้ ำ� นวนมากได้อย่างไร มขี ้นั ตอน สำ� คญั ในการจดั การ “โครงสรา้ งขอ้ มลู ” ขนาดใหญน่ ี้ ซงึ่ รวมถงึ ขอ้ มลู แบบดงั้ เดมิ ขอ้ มลู ทม่ี โี ครงสรา้ ง และข้อมลู ท่ีไมม่ โี ครงสรา้ งและกงึ่ มโี ครงสรา้ ง กจิ กรรมเสนอแนะ 1. ให้ผูเ้ รียนแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ 3-5 คน ศึกษาหน่วยงานทางธุรกจิ หรือราชการท่ีใช้ Big Data ในการบรหิ ารจัดการ ข้อมูล กลุ่มละ 1 หนว่ ยงาน แลว้ นำ� เสนอหนา้ ช้ันเรยี น 2. ใหผ้ ู้เรียนแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 3-5 ศึกษาข้อมลู ตอ่ ไปน้ี กลุ่มละ 1 หัวข้อ แล้วน�ำเสนอหน้าช้ันเรียน 2.1 Could Supplier 2.2 Hadoop 2.3 Social Media 2.4 ววิ ฒั นาการของ Big Data 2.5 The Six Vs of Big Data 3. ใหผ้ เู้ รยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 3-5 คน ดำ� เนนิ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู คนในชมุ ชนใดชมุ ชนหนงึ่ เพอื่ นำ� มาวเิ คราะหเ์ กย่ี วกบั อาชพี ของคนในชมุ ชน แล้วน�ำเสนอหน้าช้นั เรยี น

17 แบบทดสอบหลังเรียน ตอนที่ 1 จงทำ� เครอ่ื งหมายกากบาท (✕) ลงหน้าข้อทถี่ กู ต้องท่ีสดุ 1. Productivity หมายถึงข้อใด 6. ซอฟตแ์ วร์ใดทีใ่ ช้ในการบริหารจดั การขอ้ มูล ก. การวเิ คราะห์ ก. Hadoop ข. การเพม่ิ ผลผลิต ข. Warehouse ค. Database ค. คา่ เฉลีย่ ของประสทิ ธภิ าพการผลติ ง. Access ง. การจ�ำหน่าย ขขขคจงคขจกงก....ออ้้...... กขใมถกขขขกขขดา้อากูลูา้อ้ออ้้อ้อหรรรมใทมมมมมชตดมตูลุกลลููลูููลลง่ัลทรากขจททกทนวายใี่งึ่ำ�้อา่มีี่ี่จไดจ้�ำชถมนรมหดัจโี้ใงึซโีวคนม่บัเนคกนอื้Bรกโีคกัรบ็งคขบiาวงgรสรอาุครสาถรงDยเยมลรซ้าสหู่aใ้าาเงรนนรงtกุน้ชa้าว็เตรัดซง าเอรจราน์งข ้อมูล 78.. หขจคคงขจขกกคง....้อ..ุณ....นV11V1VV11Vม่วลeiยoaeูPลZsMTGกัrrllจuaBuจoBBiษBBeัดacmcาณtlเiiกyttกeByyะภ็บขaาขs้อพ้อiใcดมถขลู่าอยใดงโมทBีมรigศากัพDททa่สี t์ทaุด่ีถูกอัปโหลดขึ้น 2. เปน็ 3. จ. การวัดอณุ หภมู ิ 4. ขอ้ ใดหมายถงึ การใชผ้ ลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู จ. Value 9. ขอ้ มลู ดา้ นภาพยนตรอ์ อนไลนท์ ม่ี ขี อ้ มลู เปน็ จำ� นวนมาก ก. Device/Data Source คือขอ้ ใด ข. Gateway ก. Netflix ค. Storage ข. Mono ง. Analytics ค. True Movie จ. Report/Action ง. Fox Movie จ. Hollywood 5. องคป์ ระกอบใดของ Big Data ทีจ่ ะตอ้ งอาศัยทกั ษะ 10. ธรุ กจิ ทใ่ี ชข้ อ้ มลู ในการดแู ลและดงึ ดดู ลกู คา้ ดา้ นอาหาร ของ Data Engineer คอื ขอ้ ใด ก. Device/Data Source ก. Starbucks ข. Gateway ข. McDonald’s ค. Storage ค. KFC ง. Analytics ง. MK จ. Report/Action จ. S&P

18 ตอนที่ 2 จงเตมิ คำ� หรอื ข้อความลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง 1. Big Data หมายถงึ 2. องค์ประกอบทีส่ ำ�คัญของข้อมลู ไดแ้ ก่ 3. ความหลากหลาย (Variety) หมายถงึ 4. อรูปแบบขอ้ มลู Big Data ได้แก่ 5. กระบวนการจาก Big Data สูค่ วามสมั พันธข์ องขอ้ มูล ได้แก่ 6. วิธกี ารจัดทำ� Big Data มขี น้ั ตอนในการปฏบิ ัติดงั น้ี 7. อธบิ ายธุรกจิ McDonald’s ในการใชข้ อ้ มลู Big Data 8. อธิบายธุรกิจ Netflix ในการใชข้ ้อมลู Big Data 9. อธิบายธรุ กิจ Starbucks ในการใชข้ อ้ มลู Big Data 10. อธบิ ายธุรกิจ Supply Chain PepsiCo ในการใช้ขอ้ มลู Big Data ตอนที่ 3 จงตอบคำ� ถามตอ่ ไปนใี้ หไ้ ด้ใจความสมบูรณ์ (ท�ำลงในสมดุ ) 1. อธิบายเก่ียวกบั ความรทู้ ่ัวไปของการขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คมตอ่ ไปน้ี มาพอเขา้ ใจ 2. อธบิ ายบทบาทของกล่มุ ตัวแทนของการขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คมต่อไปน้ี มาพอเขา้ ใจ 3. บรรทดั ฐานทางสังคมคืออะไร ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง อธบิ ายมาพอเขา้ ใจ 4. จงยกตัวอยา่ งปจั จยั ที่ส่งผลต่อการขัดเกลาและการจัดระเบยี บทางสงั คม พรอ้ มให้เหตผุ ล 5. เพราะเหตใุ ดจึงตอ้ งมีการขดั เกลาและการจัดระเบียบทางสังคม

2หน่วยที่ อนิ เทอร์เน็ต ทกุ สรรพส่ิง (Internet of Things) สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ความหมายของ Internet of Things 1. บอกความหมายและววิ ฒั นาการของInternetofThings ได้ 2. วิวัฒนาการของ Internet of Things 2. อธบิ ายลกั ษณะและประเภทของ Internet of Things ได้ 3. ลกั ษณะการท�ำงานของ Internet of Things 3. อธิบายประโยชนแ์ ละความสัมพนั ธร์ ะหว่าง Internet of 4. ประเภทของ Internet of Things Things และ Big Data ได้ 5. สว่ นประกอบของ Internet of Things 4. ปฏบิ ตั กิ ารน�ำ Internet of Things ไปใช้ในงานต่าง ๆ ได้ 6. ประโยชนข์ อง Internet of Things 5. มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบ ตระหนกั ถึง 7. ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง Internet of Things และ Big Data การเปน็ พลเมืองดิจทิ ลั 8. การน�ำ Internet of Things ไปใชใ้ นงานต่าง ๆ 9. ผลกระทบทอ่ี าจจะเกิดขนึ้ สมรรถนะประจ�ำ หนว่ ย 10. ตัวอย่างอปุ กรณท์ ีใ่ ช้ Internet of Things 11. ทักษะท่ีจ�ำเป็นของบุคลากรดา้ น Internet of Things 1. แสดงความรเู้ กยี่ วกับ Internet of Things 2. แสดงความรู้เก่ียวกบั ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง Internet of Things และ Big Data 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับทักษะท่ีจ�ำเป็นของบุคลากรด้าน Internet of Things 4. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความรบั ผิดชอบ ตระหนกั ถงึ การเปน็ พลเมืองดิจทิ ัล

20 แผนผังความคิด (Mind Mapping) อินเทอรเ์ น็ตทกุ สรรพสง่ิ (Internet of Things) ความหมายของ Internet of Things ความสมั พันธ์ระหวา่ ง Internet of Things และBig Data วิวฒั นาการของ Internet of Things การนำ� Internet of Things ไปใชใ้ นงานตา่ ง ๆ ลักษณะการท�ำงานของ Internet of Things ผลกระทบท่ีอาจจะเกิดขนึ้ ตวั อย่างอุปกรณ์ท่ีใช้ Internet of Things ประเภทของ Internet of Thing ทกั ษะทีจ่ ำ� เป็นของบุคลากรดา้ น Internet of Things สว่ นประกอบของ Internet of Things ประโยชนข์ อง Internet of Things ความน�ำ ปจั จบุ นั นี้ โลกเทคโนโลยไี ดก้ า้ วลำ้� หนา้ ไปอยา่ งมาก และมกี ารใชอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง เพราะปจั จบุ นั เป็นส่ิงที่จ�ำเป็นอย่างมากในการด�ำเนินงานหรือด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบัน โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ต ซง่ึ ถอื ไดว้ า่ เปน็ อนิ เทอรเ์ นต็ ทกุ สรรพสง่ิ หรอื อนิ เทอรเ์ นต็ เพอ่ื ทกุ สรรพสง่ิ (Internetof Things) เพราะ สามารถตอบสนองความตอ้ ของการสอ่ื สารหรอื การดำ� เนนิ งานดา้ นตา่ ง ๆ ใหส้ ะดวกและรวดเรว็ ยงิ่ ข้นึ 1. ความหมายของ Internet of Things อินเทอรเ์ นต็ ทกุ สรรพสิง่ (Internet of Things : IoT) คอื การที่อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สต์ า่ ง ๆ สามารถ เชอื่ มโยงหรอื สง่ ขอ้ มลู ถงึ กนั ไดด้ ว้ ยอนิ เทอรเ์ นต็ โดยไมต่ อ้ งปอ้ นขอ้ มลู การเชอ่ื มโยงนงี้ า่ ยจนทำ� ใหส้ ามารถ สั่งการควบคุมการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ ได้ ไปจนถงึ การเชอื่ มโยง การใชง้ านอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ ง ๆ ผา่ นทางเครอื ขา่ ย อินเทอร์เน็ตเข้ากับการใช้งานอื่น ๆ จนเกิดเป็นบรรดา Smart ต่าง ๆ ได้แก่ Smart Device, Smart Grid, Smart Home, Smart Network, Smart Intelligent Transportation ทัง้ หลายที่เคยได้ยนิ ซงึ่ แตกตา่ งจากใน ภาพที่ 2.1 Internet of Things อดีตท่ีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเพียงสื่อกลางในการส่ง ท่มี า : https://www.kaohoon.com/content/ และแสดงขอ้ มูลเทา่ นนั้ tag/internet-of-things

กล่าวไดว้ า่ Internet of Things นี้ ได้แก่ การเชื่อมโยงของอปุ กรณอ์ ัจฉริยะทัง้ หลายผ่านอินเทอรเ์ นต็ 21 เชน่ แอปพลิเคชัน แวน่ ตากเู กลิ กลาส รองเทา้ วงิ่ ท่ีสามารถเช่ือมต่อขอ้ มลู การวงิ่ ทงั้ ความเรว็ ระยะทาง สถานที่ และสถิติได้ Xiaomi 90 Ultra Smart Running Shoes หรือ รองเท้าวิง่ อจั ฉรยิ ะ 90 ของแท้จากเส่ยี วหม่ี ออกแบบ ให้ช่วยในการล็อกข้อเท้าและป้องกันข้อเท้าแพลงขณะ ออกกำ� ลังกาย มาพรอ้ มกับชิปอจั ฉรยิ ะ Curie module ของ Intel ท่ีมีขนาดเลก็ เท่ากระดมุ ถูกติดต้ังอยูภ่ ายใน รองเทา้ ทช่ี ว่ ยในการตรวจจบั การเคลอื่ นไหว เกบ็ ขอ้ มลู จ�ำนวนก้าว ระยะทาง การว่ิง และแคลอรีซึ่งสามารถ ภาพที่ 2.2 Xiaomi 90 Ultra Smart Running Shoes เชอื่ มตอ่ กบั แอปพลเิ คชนั เพอ่ื ดแู ละเกบ็ ขอ้ มลู ไดอ้ กี ดว้ ย หรือ รองเทา้ ว่งิ อจั ฉริยะ 90 กูเกิลกลาสนั้นเป็นแว่นตาที่กูเกิลผนึกเทคโนโลยี เออารห์ รอื เทคโนโลยเี สมอื นจรงิ (Augmented-Reality) ท่มี า : https://th.geekbuying.com/item/Xiaomi-Mi-90 -Minutes-Ultra-Smart-Shoes-for-Men--- Surf-Blue--Size-41-377007.html หรือการจ�ำลองภาพเสมือนจริงมาไว้ในแว่นไฮเทค ผู้สวมใส่แว่นออนไลน์ที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ไอทีพกพา อย่างสมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ตจะสามารถมองภาพ เสมอื นจรงิ ผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สค์ วบคไู่ ปกบั ทศั นยี ภาพ ทเี่ กดิ ขนึ้ จรงิ ในเวลานน้ั ได้ ตวั แวน่ สามารถรองรบั คำ� สงั่ เสยี ง ท�ำให้ผู้ใช้สามารถออกค�ำส่ังสมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ต ได้โดยไม่ต้องเอื้อมมือไป แตะหน้าจอ ขณะเดียวกัน กส็ ามารถถา่ ยภาพดจิ ทิ ลั โดยทตี่ ากลอ้ งไมต่ อ้ งยกมอื ขนึ้ เล็งอีกต่อไป ภาพที่ 2.3 เเวน่ ตากูเกิลกลาส ท่ีมา : https://technology.thaiza.com/news/288466/ 2. วิวฒั นาการของ Internet of Things เดิมมาจาก Kevin Ashton บิดาแห่ง Internet of Things ในปี 1999 ในขณะท่ีท�ำงานวิจัยอยู่ท่ี มหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT เขาได้รับเชิญให้ไปบรรยายเร่ืองน้ี ใหก้ ับบรษิ ทั Procter&Gamble(P&G) เขาไดน้ ำ� เสนอโครงการทชี่ อ่ื วา่ Auto-IDCenter ตอ่ ยอดมาจากเทคโนโลยี RFID ที่ในขณะนน้ั ถอื เปน็ มาตรฐานโลกสำ� หรบั การจบั สญั ญาณเซนเซอรต์ า่ ง ๆ(RFIDSensors) วา่ ตวั เซนเซอร์ เหล่าน้ันสามารถท�ำให้พูดคุยเช่ือมต่อกันได้ผ่านระบบ Auto-ID ของเขา โดยการบรรยายใหก้ บั P&G ในครง้ั นนั้ Kevin ไดใ้ ชค้ ำ� วา่ Internet of Things ในการบรรยายของ เขาเปน็ ครงั้ แรก โดยKevin นยิ ามเอาไวต้ อนนนั้ วา่ อปุ กรณ์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ใด ๆ กต็ ามทสี่ ามารถสอ่ื สารกนั ไดก้ ถ็ อื เปน็ “Internet-like” หรอื กลา่ วคอื อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สท์ สี่ อ่ื สาร ภาพท่ี 2.4 Kevin Ashton แบบเดยี วกนั กบั ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ โดยคำ� วา่ “Things” ทมี่ า : https://bit.ly/368vz3k กค็ อื คำ� ใชแ้ ทนอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ ง ๆ เหลา่ นน้ั

22 ตอ่ มาในยุคหลังปี 2000 ไดม้ ีการผลิตมอี ปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ออกจดั จำ� หนา่ ยเป็นจ�ำนวนมากทัว่ โลก จึงเร่ิมมกี ารใชค้ �ำวา่ Smart ซ่งึ ในท่นี ค้ี อื Smart Device, Smart Grid, Smart Home, Smart Network, Smart Intelligent Transportation ต่าง ๆ เหล่าน้ี ล้วนถูกฝงั RFID Sensors เสมอื นกับการเติม ID และ สมอง ท�ำให้สามารถเช่ือมต่อกับโลกอินเทอร์เน็ตได้ ซ่ึงการเชื่อมต่อเหล่านั้นเองกลายมาเป็นแนวคิดท่ีว่า อปุ กรณเ์ หลา่ นนั้ กย็ อ่ มสามารถสอื่ สารกนั ไดด้ ว้ ยเชน่ กนั โดยอาศยั ตวั เซนเซอร์ ในการสอื่ สารถงึ กนั นน่ั แปลวา่ นอกจากSmartDevice ตา่ ง ๆ จะเชอ่ื มตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ ไดแ้ ลว้ ยงั สามารถเชอ่ื มตอ่ ไปยงั อปุ กรณต์ วั อน่ื ไดด้ ว้ ย 3. ลกั ษณะการทำ� งานของ Internet of Things การท�ำงานของ Internet of Things มีลักษณะดงั น้ี 3.1 เป็นการเชอ่ื มตอ่ กันระหวา่ งสรรพสิง่ ใด ๆ (Interconnection of Things) 3.2 เช่อื มตอ่ สรรพส่ิงใด ๆ เขา้ กับโครงขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ (Connection of Things to the Internet) 3.3 สรรพสง่ิ ใด ๆ มลี กั ษณะทรี่ ะบุเอกลกั ษณ์ได้ (Uniquely Identifiable Things) 3.4 สามารถพบได้ทั่วไป (Ubiquity) 3.5 มีความสามารถในการรบั รู้และตอบสนองได้ (Sensing/Actuation capability) 3.6 เปน็ ระบบฝังตัวแบบอัจฉริยะ (Embedded intelligence) 3.7 มีความสามารถในการสอื่ สารทำ� งานรว่ มกันได้ (Interoperable Communication Capability) 3.8 สามารถตัง้ ค่าด้วยตนเองได้ (Self-configurability) 3.9 สามารถโปรแกรมหรือส่งั การท�ำงานได้ (Programmability) 4. ประเภทของ Internet of Things ปัจจบุ ันมกี ารแบง่ กลมุ่ Internet of Things ออกตามตลาดการใชง้ านเป็น 2 กล่มุ ได้แก่ 4.1 Industrial IoT คอื แบง่ จาก Local Network ทม่ี หี ลายเทคโนโลยที แี่ ตกตา่ งกนั ในโครงขา่ ย Sensor Nodes โดยตวั อปุ กรณ์ IoT Device กลุ่มน้ีจะเชอ่ื มต่อแบบ IP Network เพื่อเข้าสู่อนิ เทอรเ์ น็ต 4.2 Commercial IoT คอื แบง่ จาก Local communication ที่เป็น Bluetooth หรือ Ethernet (Wired or Wreless) โดยตัวอุปกรณ์ IoT Device ในกลมุ่ นจ้ี ะสือ่ สารภายในกล่มุ Sensor Nodes เดยี วกันเทา่ นั้นหรอื แบบ Local Devices เพียงอย่างเดียว อาจไม่ได้เชือ่ มต่อเพื่อเขา้ สอู่ ินเทอร์เนต็ ภาพที่ 2.5 Industrial IoT ภาพท่ี 2.6 Commercial Model for IoT ทม่ี า : https://medium.com/quick-code/industrial ทมี่ า : https://th.linkedin.com/company/onomondo? -iot-iiot-higher-productivity-higher-roi-94fe8ea15d6c trk=similar-pages_result-card_full-click

5. ส่วนประกอบของ Internet of Things 23 การทำ� งานของ IoT นนั้ ตอ้ งเรยี กวา่ เปน็ การออกแบบแหง่ อนาคต (Ecosystem) เพราะหากขาดสว่ นใด สว่ นหนงึ่ ไปกจ็ ะเกดิ ความบกพรอ่ งได้ ซง่ึ องคป์ ระกอบของ IoT ปัจจุบนั ประกอบด้วย 5.1 SmartDevice อปุ กรณท์ ม่ี หี นา้ ทเี่ ฉพาะ เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ท่ีตอบโจทย์การใช้ IoT โดยจ�ำเป็นต้องมีส่วนประกอบอย่าง Microprocessor และ Communication Device อย่ภู ายใน เพอื่ แลกเปลยี่ นขอ้ มลู ขอ้ มลู ท่ี Smart Device สง่ มอบไปยงั ระบบ ไม่เพียงแตเ่ ป็นข้อมูลตามหน้าทีเ่ ท่าน้ัน แต่ยงั รวมถงึ ภาพท่ี 2.7 Smart Device สภาพของอุปกรณ์ด้วย ผู้ใช้จึงไม่ต้องเดินทางมาตรวจสอบ ทมี่ า : https://www.whatphone.net/news/ อปุ กรณ์ด้วยตนเองเป็นประจ�ำ lenovo-annouced-5-lenovo-smart-device/ 5.2 Cloud Computing หรือ Wireless Network สื่อ กลางรบั สง่ ขอ้ มลู จากSmart Device ไปยงั ผใู้ ช้ ซงึ่ มที ง้ั การสง่ ขอ้ มูลผ่านระบบ Wireless ไปยงั ผู้ใชแ้ ละการส่งผา่ น Cloud Computer ซ่ึงการส่งข้อมูลไปยัง Cloud ช่วยรองรับการใช้ งาน Smart Device จำ� นวนมากกวา่ ระยะทางไกลกวา่ รวมถงึ อาจมีการติดต้ังระบบแปลงการแสดงผลข้อมูลให้เหมาะกับ ผใู้ ชใ้ นสว่ นน้ีได้ ภาพที่ 2.8 Cloud Computing 5.3 Dashboard ส่วนแสดงผลและควบคุมการท�ำงาน ท่มี า : https://www.sogoodweb.com/ Article/Detail/480 ในมือของผู้ใช้ อยู่ในรูปของ Device หรือแอปพลิเคชันใน คอมพวิ เตอรห์ รอื Smartphone ผใู้ ชจ้ ะดขู อ้ มลู ที่Smart Device สง่ มา ตรวจสอบสถานะของอปุ กรณแ์ ละระบบ รวมถงึ ถา่ ยทอด คำ� สัง่ ใหมไ่ ปยงั Smart Device จากสว่ นน้ี ท้ัง 3 ส่วนจะต้องท�ำงานสอดประสานกันเพ่ือให้ระบบ ท�ำหน้าที่ได้ลุล่วงและต้องท�ำได้เองโดยอัตโนมัติ ผู้ใช้มีหน้า ท่ีเพียงติดต้ังและซ่อมแซมอุปกรณ์ รับข้อมูลและอัปเดตการ ภาพท่ี 2.9 IoT Dashboard ทำ� งานของSmartDevice ไดโ้ ดยตรงผา่ นDashboard เทา่ นน้ั ทม่ี า : https://medium.com/flatlogic/how-to-build- คุณสมบัติท่ีส�ำคัญของ IoT ก็คือ สามารถส่งต่อหน้าท่ี an-iot-dashboard-3a31f92c47ba ไปยังอปุ กรณอ์ น่ื ๆ เชน่ Smartwatch หรอื Smart brand ท่ีเก็บข้อมลู สุขภาพสง่ ไปแสดงผลอย่างละเอียด บน Smartphone และ Sensor ตา่ ง ๆ ทจี่ บั ความผดิ ปกตแิ ละแสดงผลบนคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ เคยเหน็ อยบู่ อ่ ย ๆ หรือคุ้นเคยกนั ดี แต่ความจรงิ แลว้ IoT ยงั มปี ระโยชนแ์ ละสามารถนำ� ไปใชไ้ ด้อกี มากมาย

24 6. ประโยชน์ของ Internet of Things การทเี่ ทคโนโลยเี ปน็ ทแ่ี พรห่ ลายนน้ั ไมไ่ ดอ้ ยทู่ ปี่ จั จยั ดา้ นราคาอยา่ งเดยี ว แตเ่ ทคโนโลยนี นั้ ตอ้ งสง่ มอบ ประโยชน์ต่อชีวติ ของพวกเราด้วย ซึง่ Internet of Things ในปัจจบุ นั ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ในดา้ นตา่ ง ๆ 1. รับส่งข้อมูลรูปแบบดิจิทัล ปัจจุบัน ข้อมูลดิจิทัลมีความจ�ำเป็นมาก เพราะสามารถน�ำไปใช้กับ เทคโนโลยีอื่น ๆ ได้ทันที ซึ่ง IoT มีคุณสมบัติด้านการเก็บข้อมูลทางภายภาพให้อยู่ในรูปดิจิทัลได้อย่าง งา่ ยดายและรวดเรว็ จึงนับเปน็ ประโยชนอ์ ย่างมากในยคุ Digital Transformation 2. แมน่ ยำ� ใชไ้ ดต้ ลอดเวลา และสง่ ขอ้ มลู แบบReal-Time ขอ้ มลู จาก IoT ไมเ่ พยี งแตเ่ ปน็ ดจิ ทิ ลั เทา่ นน้ั แตย่ งั สามารถแลกเปลย่ี นไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ระดบั Real-Time มคี วามแมน่ ยำ� และสามารถใชง้ านไดต้ ลอดเวลา ชว่ ยให้มขี อ้ มลู ในการตัดสินใจไดท้ ันท่วงที 3. ลดภาระงานของบคุ ลากร ในอดตี การเกบ็ ขอ้ มลู อาจตอ้ งใชค้ นเดนิ ทางเขา้ ไปสอดสอ่ งทเ่ี ครอ่ื งมอื เพอ่ื หาความผดิ ปกติ แตป่ จั จุบนั IoT ไมเ่ พยี งแต่สอดส่องให้เราผ่าน Dashboard เทา่ นนั้ แตย่ ังสามารถเรียนรู้ การหาความผดิ ปกติดว้ ยเทคโนโลยีอื่น ๆ เช่น Artificial Intelligence : AI ได้ 4. ทำ� งานตรวจสอบในจดุ ทค่ี นเขา้ ไมถ่ งึ เราสามารถออกแบบSmartDevice ใหม้ ขี นาดเลก็ และทนทาน เพอ่ื ติดตง้ั ตามจุดที่คนเข้าถึงยากหรอื ในจุดทมี่ ีอนั ตรายระหว่างด�ำเนนิ การได้ เช่น ภายในทอ่ ส่งนำ�้ มัน หรือ บ่อบ�ำบัดน�้ำเสีย ช่วยลดความเสย่ี งต่อชีวิตและทรพั ยส์ นิ จากการตอ้ งเขา้ พน้ื ทีอ่ นั ตรายเป็นประจำ� ได้ ต้องถือวา่ Internet of Things เปน็ อีกหนงึ่ เทคโนโลยีท่สี ำ� คญั มากในยุค Digital Transformation โดย ปัจจุบนั เทคโนโลยีนีก้ ็เรมิ่ เข้าไปเก่ียวขอ้ งกับแวดวงต่าง ๆ ทง้ั ภาคธุรกิจและสงั คมเป็นอยา่ งมาก 7. ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง Internet of Things และ Big Data ปจั จบุ นั Internet of Things สามารถตอบสนองความต้องการทางดา้ นการใชง้ านไดม้ ากขึ้น สาเหตุ เพราะอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกสต์ ่าง ๆ มรี าคาถูกลง ทำ� ให้เกดิ การใช้งานจรงิ มากขึน้ มกี ารค้นพบ Use Case ใหม่ ๆ ในธรุ กิจ ทำ� ให้ผผู้ ลิตไดเ้ รียนรแู้ ละคอยแก้ปัญหา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้ตรงใจผู้ใช้ ท�ำให้เกิดนวัตกรรม ใหม่ ๆ ยิง่ ไปกวา่ น้นั Internet of Things มกี ารเชอื่ มโยง กนั อยา่ งเปน็ ระบบ จงึ เรมิ่ เหน็ ธรุ กจิ ทห่ี นั มาใหค้ วามสนใจ Internet of Things ในแง่ที่สามารถช่วยแก้ปัญหาทาง ธุรกิจ สังคม และช่วยแก้ไขปัญหาในชีวิตประจ�ำวันได้ โดยการนำ� เอาขอ้ มลู หรอื Big Data เขา้ มาใชใ้ นการพฒั นา ภาพที่ 2.10 Big Data เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของแตล่ ะรปู แบบ ทีม่ า : https://www.aware.co.th/iot Big Data ท่ีไดเ้ รยี นรใู้ นหนว่ ยที่ 1 คอื ขอ้ มลู ขนาดใหญท่ เี่ กดิ ขนึ้ ไมม่ โี ครงสรา้ งชดั เจน หนง่ึ ในตวั อยา่ ง ทจ่ี ะเหน็ ไดง้ า่ ยคอื ขอ้ มลู จากยคุ โซเชยี ล ผใู้ ชเ้ ปน็ คนสรา้ งขนึ้ มา ซง่ึ นอกจากเนอ้ื หาในสอ่ื สงั คมออนไลนแ์ ลว้ ยงั มขี ้อมลู อกี ประเภทหน่งึ คอื ขอ้ มลู จากอุปกรณท์ ี่ใชห้ รอื สวมใส่ เชน่ สายรดั วัดชีพจรตอนออกก�ำลังกาย

ตวั อยา่ ง เชน่ แบรนด์ไนกตี้ ง้ั โจทยข์ น้ึ มาวา่ จะสามารถรไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ ลกู คา้ ซอื้ รองเทา้ แลว้ นำ� ไปใสว่ งิ่ จรงิ 25 แต่ตอนนี้พิสูจน์ได้แล้วเพราะว่าไนก้ีใช้ IoTกับสินค้า ย่ิงไปกว่าน้ันตอนนี้ลูกค้าไม่ได้ผลิตข้อมูลที่น�ำไปสู่ Big Data จากการโพสต์ (Post) แสดงความคิดเหน็ (Comment) กดถกู ใจ (Like) หรือแบง่ ปนั (Share) เพียงอยา่ งเดียว แต่เกดิ จากกจิ กรรมในชวี ิตประจ�ำวันทีธ่ ุรกจิ หรอื แบรนดน์ �ำไปจับคู่กบั สนิ ค้า แลว้ สร้างเป็น เน้อื หาท่ีจงู ใจผ้รู ับสารขึน้ มา ส่งิ สำ� คญั คอื ข้อมูลพวกน้บี อกวา่ มีอะไรเกดิ ขึน้ ได้อย่างเดียว แต่สง่ิ สำ� คญั กว่า คอื ธรุ กจิ องค์กร และแบรนดต์ ่าง ๆ จะเปล่ยี นข้อมลู พวกน้ีเปน็ ประโยชน์ได้อย่างไร ทำ� อย่างไรขอ้ มูลจงึ จะ สามารถบอกไดว้ า่ ทำ� ไมส่งิ ตา่ ง ๆ เหล่านั้นถึงเกดิ ข้นึ จดุ นีจ้ ึงทำ� ให้รจู้ ักความตอ้ งการท่แี ท้จรงิ ของผบู้ รโิ ภค (Consumer Insight) และร้วู ่าต้องทำ� อย่างไรใหธ้ รุ กิจหรือบริการของตนมีประสทิ ธภิ าพย่ิงขนึ้ 8. การน�ำ Internet of Things ไปใชใ้ นงานต่าง ๆ 8.1 ภาคธุรกจิ คา้ ปลกี IoT รวมขอ้ มลู การวเิ คราะหแ์ ละกระบวนการทางการตลาดขา้ มสถานที่ ผคู้ า้ ปลกี จบั ขอ้ มลู IoTจาก ช่องทางในร้านและช่องทางดิจิทัลและใช้การวิเคราะห์ (รวมถึงปัญญาประดิษฐ์หรือ AI) แบบเรียลไทม์ การฟังตามบริบทและเพ่ือท�ำความเข้าใจรูปแบบพฤติกรรมและความพึงพอใจ พวกเขามักจะใช้อุปกรณ์ที่ เช่ือมต่อ IoT เชน่ ชปิ ติดตามสินคา้ คงคลงั RFID ระบบเซลลูลารแ์ ละ Wi-Fi บีคอนและชน้ั วางของอจั ฉริยะ ในกลยทุ ธ์ Internet of Things 8.2 ภาคภาคอุตสาหกรรมการผลิต IoT เชื่อมต่อทุกขั้นตอนของกระบวนการอุตสาหกรรมอินเทอร์เน็ตของส่ิงต่าง ๆ (Industrial Internet of Things : IIoT) จากห่วงโซ่อุปทานไปยังการจัดส่ง เพ่ือมุมมองท่ีเหนียวแน่นของการผลิต กระบวนการและขอ้ มูลผลิตภณั ฑ์ เซนเซอร์ IoT ข้นั สงู ในเครื่องจกั รโรงงานหรือช้ันวางคลงั สินคา้ พร้อมกับ การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่และการสร้างแบบจ�ำลองการคาดการณ์ สามารถป้องกันข้อบกพร่องและ การหยุดท�ำงานเพิ่มประสิทธิภาพอุปกรณ์ ลดต้นทุนการรับประกัน เพ่ิมผลผลิตและเพ่ิมประสบการณ์ของ ลกู คา้ 8.3 ภาคภาคการแพทย์และบริการด้านสุขภาพ เทคโนโลยี IoT รวบรวมการสตรมี ข้อมูลแบบเรียลไทม์จาก Internet of Medical Things (IoMT) เช่น อุปกรณ์สวมใส่และอปุ กรณ์เชอื่ มต่อทางการแพทยอ์ ืน่ ๆ ทต่ี รวจสอบการออกก�ำลังกาย การนอนหลบั และพฤติกรรมสุขภาพอ่ืน ๆ ข้อมูล IoT น้ีช่วยให้การวินิจฉัยและแผนการรักษาแม่นย�ำขึ้น ช่วยเพ่ิม ความปลอดภัยและผลลพั ธข์ องผูป้ ่วยและเพ่มิ ความคลอ่ งตัวในการดูแล 8.4 ภาคการขนสง่ และโลจสิ ตกิ ส์ IoT พรอ้ มด้วยระบบต�ำแหน่งอจั ฉริยะที่เปิดใช้งาน Geofence และ AI ซึง่ ติดตง้ั ในห่วงโซ่คุณค่า สามารถมอบประสิทธิภาพและความน่าเช่ือถือท่ีมากขึ้นส�ำหรับบริษัทขนส่งและโลจิสติกส์ เทคโนโลยีนี้ สามารถปรับปรุงคุณภาพการบริการ ลดการหยุดท�ำงานและเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า นอกจากน้ียัง สามารถเพ่ิมความปลอดภัยและลดค่าใช้จ่ายด้วยการจัดการติดตามและตรวจสอบยานพาหนะที่เช่ือมต่อ การขนส่งและทรัพยส์ นิ อน่ื ๆ จากโทรศพั ท์เคลื่อนทแี่ บบเรียลไทม์

26 8.5 ด้านภาครัฐ แอปพลิเคชัน IoT ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาในโลกแห่งความเป็นจริงมากมาย การจราจรท่ีติดขัด การบริการในเมือง การพัฒนาทางเศรษฐกิจ การมีส่วนร่วมของพลเมืองและความปลอดภัยสาธารณะ เมอื งทีช่ าญฉลาดมกั จะฝังเซนเซอร์ IoT ไว้ในโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ เชน่ ไฟถนน มาตรวัดน้�ำ และ สัญญาณไฟจราจร 8.6 ดา้ นภาคอุตสาหกรรมเกยี่ วกับพลงั งาน Internet of Things ช่วยให้ผใู้ หบ้ รกิ ารสง่ มอบบรกิ ารและผลติ ภณั ฑ์ทน่ี า่ เช่อื ถอื และราคายุตธิ รรม อุปกรณ์และเคร่ืองจักรที่เช่ือมต่อ IoT ท�ำนายปัญหาก่อนที่จะเกิดข้ึน ทรัพยากรกริดแบบกระจาย เช่น แสงอาทติ ย์และลมถกู รวมเขา้ ด้วยกันผ่าน IoT และข้อมลู พฤตกิ รรมทีร่ วบรวมจากบา้ นอัจฉริยะ ปรับปรุง ความสะดวกสบายและความปลอดภัยและแจ้งการพัฒนาบริการที่ก�ำหนดเอง 8.7 ดา้ นการใช้ชวี ติ ประจำ� วัน ดา้ นการเพมิ่ ความสะดวกสบายในชวี ติ ประจำ� วนั สำ� หรบั ผพู้ กั อาศยั ในบา้ นอจั ฉรยิ ะ(SmartHome) เช่น ตู้เย็นอัจฉริยะ โดยตู้เย็นสามารถบอกผ่านแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟนได้ว่า มีวัตถุดิบใดเหลือบ้าง ปริมาณเท่าใด วัตถุดิบใดใกล้หมดอายุ หรือวัตถุดิบเหล่านั้นสามารถน�ำมาประกอบเป็นรายการอาหาร อะไรไดบ้ ้าง หรือเพอ่ื เพม่ิ ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สนิ เช่น 8.7.1 อปุ กรณ์ตรวจจับความเคลอ่ื นไหว เม่อื มกี ารเคลื่อนไหวภายในบ้านขณะท่ีไม่มผี ูอ้ ยูอ่ าศัย ระบบจะแจง้ เตอื นมายงั สมารต์ โฟนวา่ มผี ไู้ มป่ ระสงคด์ กี ำ� ลงั บกุ รกุ เขา้ มา และเพอื่ การประหยดั พลงั งาน เชน่ การเปดิ -ปดิ ไฟอตั โนมตั ิ โดยใชเ้ ซนเซอรว์ ดั ความสวา่ งจากแสงอาทติ ย์ หรอื วดั จากการเคลอื่ นไหวของผอู้ าศยั ภายในห้อง 8.7.2 เครอื่ งซกั ผา้ อจั ฉรยิ ะทสี่ ามารถรายงานการทำ� งานของเครอื่ งไปยงั สมารต์ โฟนได้ กรณที ่ีใช้ เครื่องซกั ผ้าในขณะท่ีไม่อยูบ่ ้าน สามารถตัง้ คา่ เครอ่ื งซกั ผา้ ในโหมดพเิ ศษ โดยเมือ่ เครอื่ งซักผา้ ซกั เสร็จแลว้ เคร่ืองจะปั่นผ้าเบา ๆ ทุกสองนาที เพื่อให้มีอากาศไหลผ่าน ช่วยให้ผ้าไม่อับชื้น และเมื่อกลับถึงบ้าน เครือ่ งซกั ผา้ จะตรวจจบั ได้วา่ กลับบ้านแลว้ เคร่ืองซักผ้าจะจบการทำ� งานและแจ้งเตือน 8.7.3 นาฬกิ าอจั ฉรยิ ะทมี่ คี วามสามารถมากกวา่ ใชด้ เู วลา เชน่ ถา่ ยรปู บนั ทกึ วดิ โี อ รบั -สง่ อเี มล์ จับเวลานับก้าวเดิน ค�ำนวณระยะเวลาและพลังงานที่ร่างกายใช้ นอกจากนี้ยังใช้เป็นรีโมตคอนโทรลของ โทรทัศน์ได้อีกด้วย 8.8 ด้านการเกษตร ดา้ นการเกษตร Smart Farming หรอื เกษตรอจั ฉรยิ ะ ชว่ ยเพม่ิ ผลผลติ และแกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ 8.8.1 การวเิ คราะหพ์ น้ื ทเ่ี พาะปลกู เชน่ การใชอ้ ปุ กรณเ์ ซนเซอรต์ า่ ง ๆ มาวดั คณุ ภาพดนิ ความชนื้ หรอื สภาพอากาศ และนำ� ขอ้ มูลท่ีได้มาประมวลผลเพอ่ื เลือกพชื ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ ม 8.8.2 การดูแลรักษาและเพ่ิมผลผลิต เช่น ระบบให้น้�ำอัตโนมัติส�ำหรับพืชที่ต้องมีการควบคุม อณุ หภูมหิ รอื ความชืน้ 8.8.3 ทนุ่ แรงและลดภาระหรอื ความเสย่ี งใหก้ บั เกษตรกร เชน่ การใชโ้ ดรนตดิ ตงั้ อปุ กรณส์ ำ� หรบั ฉดี พน่ สารเคมีในทีส่ ูงหรอื ยากต่อการเข้าถึง อีกทง้ั ยังชว่ ยลดความเสยี่ งตอ่ ตวั เกษตรกรในการไดร้ ับสารเคมี ท่เี ป็นอันตรายโดยตรง

8.9 ดา้ นการเพม่ิ คณุ ภาพของคนเมือง 27 ดา้ นการเพมิ่ คณุ ภาพของคนเมอื งใหด้ ขี นึ้ SmartCity หรอื เมอื งอจั ฉรยิ ะ เชน่ การจดั การพลงั งาน การดูแลความปลอดภัย การอ�ำนวยความสะดวก (ที่จอดรถ การจราจร ฯลฯ) โดยใช้กล้องวงจรปิดและ เซ็นเซอรต์ ่าง ๆ รว่ มกบั ขอ้ มูลหรอื สารสนเทศท่ีเกีย่ วขอ้ ง เปน็ ตน้ 8.10 ดา้ นการโฆษณาประชาสมั พนั ธ์ ด้านการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ระหว่างท่ีเดินผ่านหน้าร้านสินค้า จะมีโฆษณาแสดงข้ึนมาโดย อตั โนมัติ ตวั อยา่ งเช่น หากมผี เู้ ดินผ่านหน้าร้านสนิ คา้ (ซ่ึงถูกตรวจจับได้โดยระบบเซนเซอร)์ ก็จะปรากฎ ภาพโฆษณาข้ึนให้ผู้คนท่ีเดินผ่านไปมาได้เห็นทันที ซ่ึงจะส่งผลให้สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้หลากหลาย ยิ่งข้ึน 8.11 ดา้ นการลดตน้ ทุน ด้านการลดต้นทุน เช่น มิเตอร์จะท�ำการส่งข้อมูลไปยังระบบที่คอยบันทึกข้อมูลการใช้ไฟของ การไฟฟ้าโดยไม่ต้องใช้คนจด ช่วยลดการใช้ไฟฟ้าได้อีกด้วย จากการที่สามารถบอกอัตราการใช้ไฟของ เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนดิ 8.12 ด้านการศึกษา อนิ เทอร์เน็ตทกุ สรรพสง่ิ (Internet of Things) เป็นเครือ่ งมือท่ชี ว่ ยอ�ำนวยความสะดวกในการจัด การเรียนการสอนท่ีตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคน ให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ท�ำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้เพ่ิมมากขึ้น เป็นการเสริมสร้างการใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรแหล่งสารสนเทศให้เกิดความค้มุ ค่าสูงสดุ 9. ผลกระทบที่อาจจะเกิดขน้ึ นอกจากประโยชน์ของ IoT แลว้ ควรใหค้ วามสำ� คัญกับผลกระทบท่อี าจเกดิ ขึ้น คอื ความปลอดภัยและ ความเสยี่ งต่าง ๆ ที่อาจเกดิ ข้นึ และส่งผลต่อประสทิ ธภิ าพในการท�ำงาน อนั ตรายที่ได้จาก IoT สรปุ ได้ดงั นี้ 9.1 เว็บอินเตอร์เฟสไมป่ ลอดภัย สามารถลว่ งรชู้ อื่ ผใู้ ช้ หรอื รหสั ผา่ นง่ายเกินไป 9.2 การพสิ จู นต์ วั ตนและการกำ� หนดสทิ ธทิ์ ี่ไมด่ พี อ ทำ� ใหส้ ามารถคาดเดารหสั ผา่ น เจาะเขา้ สรู่ ะบบได้ ง่ายข้นึ สง่ ผลใหข้ อ้ มลู อาจถูกขโมย หรืออุปกรณอ์ าจถูกแย่งสทิ ธิ์ควบคุมได้ 9.3 บรกิ ารด้านเครือขา่ ยไมป่ ลอดภยั มีชอ่ งโหว่ ท�ำใหง้ ่ายต่อการเจาะเขา้ ส่รู ะบบเครอื ข่าย 9.4 บรกิ ารเขา้ รหสั ขอ้ มลู ไมแ่ ขง็ แกรง่ สามารถแอบดขู อ้ มลู ทสี่ ง่ ผา่ นระบบเครอื ขา่ ยได้ สง่ ผลใหข้ อ้ มลู สำ� คญั ถูกขโมย หรือเปิดเผยส่โู ลกภายนอก 9.5 นโยบายความเปน็ สว่ นบคุ คล สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลของผใู้ ชท้ ี่ไมไ่ ดถ้ กู ปอ้ งกนั อยา่ งแนน่ หนาเพียงพอ สง่ ผลให้ข้อมลู ส่วนตวั ถกู ขโมยหรือเปิดเผยสู่ภายนอก 9.6 คลาวดอ์ นิ เตอรเ์ ฟสไมป่ ลอดภยั สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู หรอื เขา้ ควบคมุ ระบบผา่ นทางคลาวดเ์ วบ็ ไซต์ ส่งผลให้ข้อมลู อาจถูกขโมย หรอื อุปกรณอ์ าจถูกแย่งสิทธค์ิ วบคุมได้ 9.7 โมบายอนิ เตอรเ์ ฟสไมป่ ลอดภยั สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู หรอื ควบคมุ ระบบผา่ นทางอนิ เตอรเ์ ฟสของ อปุ กรณ์โมบาย สง่ ผลใหข้ ้อมลู อาจถกู ขโมย หรืออปุ กรณ์อาจถูกแย่งสทิ ธิค์ วบคมุ ได้

28 9.8 การตั้งค่าความปลอดภัยไม่ดีพอ อุปกรณ์มีการก�ำหนดสิทธ์ิในการเข้าถึงข้อมูลและการควบคุม ไมด่ ีพอ ทำ� ให้เกิดช่องโหว่ในการเขา้ รหัสหรอื การใช้รหสั ผา่ นทีง่ า่ ยจนเกนิ ไป เพ่ือโจมตีอุปกรณห์ รอื เข้าถึง ขอ้ มลู สำ� คัญได้ 9.9 ซอฟตแ์ วรห์ รือเฟิร์มแวร์ไมป่ ลอดภัย สามารถตรวจสอบขอ้ มูลของการอปั เดต ทำ� ให้ทราบได้ว่า ซอฟต์แวร์หรือเฟิรม์ แวร์ในปัจจบุ นั มชี อ่ งโหวอ่ ะไรอยู่บา้ ง ส่งผลให้ข้อมลู อาจถูกขโมย หรืออุปกรณ์อาจถกู แยง่ สทิ ธ์คิ วบคมุ ได้ 9.10 ปญั หาเชงิ กายภาพของอปุ กรณร์ กั ษาความปลอดภยั อปุ กรณร์ กั ษาความปลอดภยั ไมไ่ ดป้ ดิ กน้ั หรอื ควบคมุ การใช้ USB, SD Card หรอื อุปกรณเ์ ก็บข้อมลู ประเภทอน่ื ๆ อาจถกู ใชเ้ ป็นช่องทางในการเข้าถึง ระบบปฏิบัติการหรือข้อมูลท่ีถูกเก็บไว้ในอุปกรณ์ได้ ส่งผลให้ข้อมูลอาจถูกขโมย หรืออุปกรณ์อาจถูกแย่ง สิทธ์คิ วบคุมได้ 10. ตัวอยา่ งอุปกรณ์ที่ใช้ Internet of Things IoT หรอื Internet of Things ถอื วา่ เปน็ แนวคดิ ที่มีมานานมาก ซ่ึงในต่างประเทศมีการกล่าวถึงเร่ืองนี้ และติดตั้งใช้งานกันไปบ้างแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการสั่งซ้ือ อาหาร หรอื ดอู าหารทห่ี มดอายจุ ากขา้ งนอกบา้ น การสง่ั เปิด ปิดไฟ แอร์ หรอื อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์อืน่ ๆ หรอื การค�ำนวณค่าไฟ รวมทั้งการดูแลผู้สูงอายุของไทยที่มี จ�ำนวนมากยงิ่ ข้ึน ลว้ นแตม่ กี ารน�ำ IoT เข้ามาใชง้ าน ภาพที่ 2.11 อุปกรณท์ ี่ใช้ Internet of Things ผู้ผลติ เคร่ืองใช้ไฟฟ้ารายใหญ่ ไม่ว่าจะเป็น ซมั ซงุ ทมี่ า : https://zmyhome.com/content/IoT แอลจี Schneider หรือรายอนื่ ๆ ตงั้ ศนู ยเ์ กยี่ วกับอปุ กรณ์ IoT อย่างจรงิ จัง ติดต้งั ชอื่ ตา่ ง ๆ ให้คนท่ัวไป สามารถเลือกใช้บริการได้ ซึ่งก่อนหน้าน้ีผู้ท�ำโครงการที่อยู่อาศัยรายหน่ึงก็เปิดตัวใหญ่โต เพ่ือน�ำอุปกรณ์ IoT เข้าไปตดิ ตัง้ ภายในคอนโดของเขา ซง่ึ ทำ� หน้าท่ีในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ นาฬกิ าอจั ฉริยะ (Kidz Watch) เป็นนาฬิกาส�ำหรับเด็กท่ีสามารถโทรได้ ถ่ายรูปได้ พร้อมระบุต�ำแหน่งท่ีต้ัง โดยเชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟนส่ง ข้อมูลผ่านแอปพลิเคชัน ไม่ว่าบุตรหลานของคุณจะเล่น อยทู่ ไี่ หน กส็ ามารถตดิ ตามไดต้ ลอดเวลา ปลอดภยั ไรก้ งั วล ภาพท่ี 2.12 นาฬิกาอจั ฉรยิ ะ ท่มี า : http://truemoveh.truecorp.co.th/

ตูเ้ ย็นอัจฉรยิ ะ 29 เป็นส่ิงท่ีน่าประทับใจ เมื่อตู้เย็นสามารถตรวจจับ จ�ำนวนสิ่งของต่าง ๆ ได้ และเม่ืออาหารในตู้เย็นใกล้จะ หมดอายุ ระบบจะมีข้อความแจ้งเตือนไปยังสมาร์ตโฟน ใหว้ างแผนการซอื้ อาหารภายในตไู้ ดต้ ลอดเวลา ภาพที่ 2.13 ตู้เยน็ อจั ฉรยิ ะ ทม่ี า: https://bit.ly/3eSX041 เคร่อื งซกั ผา้ ภาพที่ 2.14 เครอื่ งซกั ผา้ สามารถสั่งให้เครื่องซักผ้าเร่ิมซักและปั่นล่วงหน้า ที่มา: https://bit.ly/3eSX041 ผา่ นสมารต์ โฟน เมอ่ื ซกั ผา้ เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ระบบกจ็ ะสง่ ขอ้ มลู รายงานอตั โนมตั ิ พรอ้ มกบั สง่ ขอ้ มลู ไปยงั ราวตากผา้ ใหเ้ คลือ่ นตวั ออกมากลางแดด เมื่อถงึ บา้ นก็น�ำผ้าไปตาก ได้เลย ทำ� ใหล้ ดเวลาในการทำ� งานบ้านไดม้ ากขน้ึ และที่ ฉลาดย่ิงกว่า หากราวตากผ้าได้รับพยากรณ์อากาศว่าจะ มีฝนตก ราวตากผ้ากจ็ ะเคลอื่ นตวั กลับเขา้ สทู่ ี่รม่ อตั โนมัติ ไมต่ ้องกังวลว่าผ้าท่ีซกั แล้วจะเปียกฝน กลอ้ งนิรภัย ภาพท่ี 2.15 กล้องนิรภยั ท่ีสามารถติดตั้งไว้ในบ้านเพื่อตรวจจับสิ่งผิดปกติ ทมี่ า: https://bit.ly/3eSX041 ที่อยู่ในบ้าน ถงึ แม้วา่ ในเวลากลางคืนจะมืดก็ตาม กลอ้ งก็ สามารถจบั ความผดิ ปกตแิ ละสง่ ขอ้ มลู ไปยงั สมารต์ โฟนได้ โดยผ่านการเชอื่ มตอ่ กบั ซิม โทรศัพทเ์ คลอ่ื นทท่ี ีส่ ่งขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว นอกจากนยี้ งั ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ กลอ้ งนริ ภยั สำ� หรบั ตดิ ตาม จดุ เสยี่ งตา่ ง ๆ ในเมอื ง เมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณผ์ ดิ ปกตริ ะบบจะ สง่ ขอ้ มลู ภาพไปยงั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง เพอื่ แจง้ ใหท้ ราบ ถงึ ความไม่ปลอดภัย

30 กล้องวงจรปิด การพัฒนาระบบ IoT เพ่ือความปลอดภัยเป็น สง่ิ ทท่ี นั สมยั มากทส่ี ดุ โดยเฉพาะความปลอดภยั ของชวี ติ และทรัพย์สิน โดยเร่ิมพัฒนาจากกล้องวงจรปิดไร้สายที่ เช่ือมต่อไวไฟได้ ไปจนถึงกล้องแบบเชื่อมต่อผ่านระบบ อนิ เทอรเ์ นต็ หรอื IoT แบบหมนุ กลอ้ งเพอื่ มองเหตกุ ารณ์ ได้เกือบ 360 องศา อย่าง Home Security Camera รุ่น WATASHI WIOT1004 2.0 MP (Robot) ภาพท่ี 2.16 กลอ้ งวงจรปิด ที่มา : https://www.topvalue. com/120024092-watashi-home-security- camera-wiot1004-2-0-mp-robot-.html บ้านอัจฉรยิ ะ บา้ นอจั ฉรยิ ะ หรอื Smart Home คอื การใชเ้ ทคโนโลยมี า ควบคมุ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ภายในบา้ นเพอ่ื อำ� นวยความสะดวก แก่ผู้อยู่อาศัย มีระบบการจัดการพลังงาน ระบบรักษา ความปลอดภยั อตั โนมตั ทิ งั้ ภายในและรอบตวั บา้ น สว่ นใหญ่ จะควบคมุ ดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ โดยทวั่ ไปเรยี กวา่ Home Automation ซง่ึ จำ� แนกความสามารถและความซบั ซอ้ น ภาพท่ี 2.17 Home Smart Home ในการควบคุมออกเปน็ ท่มี า : http://sjyglobal.co.th/blog 1. ระบบควบคมุ ไฟฟา้ แสงสวา่ ง เชน่ เปิด-ปดิ หรอื ปรบั ระดับความสวา่ ง 2. ระบบควบคมุ อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน เช่น สง่ั งานเคร่อื งปรับอากาศ หรือการเปดิ -ปดิ มา่ น 3. ระบบความบนั เทงิ ภายในบา้ น เช่น สงั่ Internet radio ให้ทำ� งานในห้องท่มี ผี ู้ใชอ้ ยู่ และปดิ เมอ่ื ผใู้ ช้ออกจากห้อง 4. ระบบบรหิ ารพลงั งานและพลังงานสำ� รอง เชน่ การปิด-เปดิ เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ต่าง ๆ โดยขึ้นกับ ส่ิงแวดลอ้ ม 5. ระบบสื่อสาร เชน่ รับ-สง่ ขอ้ ความหรือค�ำสั่งระหวา่ งผู้ใช้ 6. ระบบรกั ษาความปลอดภยั เช่น เชื่อมตอ่ ระบบกนั ขโมย/กลอ้ งกับบรษิ ทั รกั ษาความปลอดภัย ระดับของความซบั ซอ้ นนี้ ข้นึ อยกู่ ับงบประมาณของผอู้ ยอู่ าศยั วา่ จะเลือกใหอ้ ัตโนมัตเิ พียง และจะให้ มีอะไรอจั ฉริยะบา้ ง บางคนอาจจะต้องการเพียงแคส่ ามารถสัง่ เปดิ -ปิด อปุ กรณ์ต่าง ๆ จาก Tablet เช่น iPad หรือจากมือถือ หรือให้อุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้าน โคมไฟ แอร์ ทีวี เปิด-ปิดเองอัตโนมัติ จากการวัดดว้ ย Sensor หรอื ประมวลผลชดุ คำ� สั่งจาก User Profile ว่าผใู้ ช้จะตอ้ งการให้ระบบควบคมุ ปฏบิ ตั ิเช่นไร

หุน่ ยนตฮ์ ิวมานอยด์ 31 หุน่ ยนต์ฮวิ มานอยดต์ ัวจ๋วิ Robotic Mini ท�ำหนา้ ที่ เป็นทั้งเพ่ือนเล่น เพ่ือนสนิทที่ช่วยสร้างทักษะและ พฒั นาการในการเรยี นรขู้ องเดก็ ใหด้ ยี งิ่ ขน้ึ และTrueIoT ยงั มหี นุ่ ยนตน์ าโอะ (Nao) ทม่ี คี วามสามารถเคลอื่ นไหวได้ ใกลเ้ คยี งกบั มนษุ ย์ เดนิ ได้ ยนื เองได้ หยบิ ของ วางของได้ สามารถฟัง พูด และสื่อสารไดถ้ งึ 9 ภาษา สามารถใช้ ในธรุ กจิ ดา้ นการบรกิ าร ถอื วา่ เปน็ เพอ่ื นคู่ใจทางธรุ กจิ ได้ ภาพที่ 2.18 หุ่นยนต์ฮวิ มานอยด์ อย่างดี ทีม่ า : http://truemoveh.truecorp.co.th/ จากตวั อยา่ งดงั กลา่ ว เนน้ ยำ�้ เราวา่ เทคโนโลยี IoT จะชว่ ยเปลย่ี นแปลงการใชช้ วี ติ ของมนษุ ยแ์ ละ สงั คมรอบข้างในทางท่ีดยี ่ิงขน้ึ โดยเฉพาะความสะดวกสบายและความปลอดภยั ในการใช้ชีวิตประจำ� วัน นอกจากนี้ ยังมอี ปุ กรณอ์ น่ื ๆ อีกมากมายท่ีใช้เทคโนโลยี IoT หากเตรียมพรอ้ มท่จี ะกา้ วเขา้ สยู่ ุค ดจิ ิทลั อยา่ งแท้จรงิ กอ็ ย่าลืมติดตามเรือ่ งเทคโนโลยที ีเ่ ติบโตข้ึนอยูต่ ลอดเวลา 11. ทกั ษะท่จี �ำเปน็ ของบุคลากรดา้ น Internet of Things บุคลากรท่จี ะตอ้ งปฏบิ ตั ิเก่ยี วกับ Internet of Things ควรมีทักษะที่จำ� เปน็ ดังนี้ 11.1 Data Analysis ขอ้ มลู หรอื ทเี่ รยี กกนั วา่ Data เปน็ สงิ่ ทจี่ ำ� เปน็ ในทกุ แงท่ กุ มมุ ของการพฒั นาอตุ สาหกรรมดว้ ย IoT ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสรรค์หรือการซ่อมแซม เนื่องจากอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีต่าง ๆ จะประมวลผลและ ส่งกลับมายัง IoT Developer และในบางครั้งยังมีความจ�ำเป็นที่จะต้องวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างทันที (Real-Time) เพื่อน�ำมาปรบั ปรุงระบบการท�ำงานของ IoT ดังนน้ั การเข้าใจในเร่ือง Data อยา่ งถ่องแท้ จะเสริมสมรรถภาพใหก้ ารใช้งาน IoT เป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ 11.2 Automation อปุ กรณ์IoT ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสามารถปฏบิ ตั กิ ารดว้ ยระบบอตั โนมตั ิ(Automatically) และเชอ่ื มตอ่ กับเน็ตเวิร์กและอุปกรณ์อัจฉริยะอ่ืน ๆ ได้สะดวกและมีข้อดีมากกว่าอุปกรณ์ที่ปฏิบัติการโดยไม่ใช้ ระบบอตั โนมตั ิ (Non-Automated) ดงั นัน้ บริษทั ทางด้าน IoT จงึ มีแนวโน้มการลงทุนในเรื่องระบบอตั โนมตั ิ Automation มากยิง่ ขึน้ ส่งผลให้ IoT Developer ทมี่ ีความเช่ยี วชาญในเร่ืองระบบอตั โนมตั ิไดร้ บั ความสนใจ ในตลาดแรงงานเปน็ อันดับตน้ ๆ 11.3 Machine Learning อุปกรณ์ IoT สว่ นมากจ�ำเป็นตอ้ งอาศยั เทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence) เพอื่ ช่วยใหท้ ำ� งาน ได้อยา่ งล่ืนไหล และช่วยให้ขอบเขตการทำ� งานของอุปกรณ์ IoT ขยายออกไปได้กวา้ งข้นึ และตอบสนอง ลูกคา้ ไดด้ ยี ิ่งขึ้น สรา้ งมูลคา่ เพิม่ ทางการตลาดไดอ้ ีกด้วย จึงไม่ใชเ่ รอ่ื งแปลกที่บรษิ ทั ตา่ ง ๆ ให้ความสำ� คญั กบั การสนับสนนุ ให้บุคลากรศกึ ษาเรอ่ื ง AI และ Machine Learning เพื่อประโยชน์ในอนาคต

32 11.4 Interface Design เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ชง้ านหรอื ลกู คา้ ใหม้ คี วามสะดวกสบายและความมน่ั ใจในการ ใช้งานอปุ กรณ์ IoT การค�ำนึงถึง Interface Design จึงเปน็ องคป์ ระกอบส�ำคญั ในการพฒั นาเทคโนโลยี IoT ดงั น้ัน IoT Developer ทส่ี ามารถสรา้ งสรรคแ์ พลตฟอร์มท่ตี อบโจทยก์ ารใชง้ านอปุ กรณ์ได้ถอื เป็นทกั ษะทมี่ ี คุณค่าตอ่ องค์กรเปน็ อย่างมาก 11.5 Information Security อีกสิ่งหนึ่งท่ีมีความส�ำคัญ คือ Information Security เน่ืองจากบรรดา IoT Developer มี ความจ�ำเป็นท่ีตอ้ งสร้างความปลอดภัยของอุปกรณแ์ ละแอปลิเคชนั ต่าง ๆ เพ่มิ มากขน้ึ ในอนาคต 11.6 Embedded Systems IoT มสี ว่ นประกอบตา่ ง ๆ เปน็ อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ส่ี ามารถวดั รบั รู้ หรอื ตอบสนองตอ่ สภาพแวดลอ้ ม รอบตัวได้ โดยส่งสญั ญาณเชื่อมระหว่างเซนเซอรก์ ับเวบ็ ไซต์ เพอ่ื ให้ส่อื สารกนั เองได้ ดงั นั้น IoT Developer ตอ้ งมีทักษะเกยี่ วขอ้ งกับ Embedded Systems ซ่ึงมคี วามรคู้ วามสามารถเก่ยี วกบั การแปลงการเคล่ือนไหว เป็นขอ้ มลู ตลอดจนความรเู้ ก่ยี วกับการใชเ้ คร่ืองจักรตา่ ง ๆ 11.7 Networking สัญญาณโครงขา่ ยมคี วามส�ำคญั ท่ีจะช่วยเชอ่ื มตอ่ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ เข้าด้วยกนั ดงั น้นั ทักษะและ ความรคู้ วามสามารถเกยี่ วกับ Connectivity Solutions ตลอดจน Sensor Design จึงเป็นเรื่องส�ำคญั 11.8 Computer Programming IoT ใช้เซนเซอร์ในการส่ือสารกับอุปกรณ์ต่าง ๆ และถา่ ยโอนข้อมูลได้ และจะตอ้ งเขียนโปรแกรม ป้อนลงไปในซอฟต์แวรแ์ ละฝงั ไปในระบบ ดงั น้ัน จึงต้องการความรู้ ความสามารถเพ่อื ใหเ้ ขยี น Embedded Code ได้อย่างถกู ต้อง 11.9 Mobile Development สำ� หรบั แนวคดิ เรอื่ ง Internet of Things นนั้ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ IoT ตา่ ง ๆ ตอ้ งสามารถควบคมุ ไดด้ ว้ ย Mobile Devices Wearables ตลอดจน Tablets องค์กรจึงต้องการผู้มีความรู้ความสามารถเก่ียวกับ แอปพลิเคชันบนโทรศพั ทเ์ คลือ่ นท่ี ท้ังในระบบ iOS และ Android 11.10 Cloud Computing Computing IoT ต้องการจัดเก็บข้อมูลท่ีมีจ�ำนวนมากให้ได้ประโยชน์สูงสุด Cloud จึงเป็นอีก ทางเลือกเพอื่ จดั การขอ้ มูลหล่านั้น ดังน้นั บคุ ลากรจึงตอ้ งมคี วามรคู้ วามสามารถเก่ียวกับเทคโนโลยี Cloud Computing ในการเก็บและจดั การขอ้ มูลต่าง ๆ

สรปุ ประเด็นส�ำ คัญ 33 อินเทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิง (Internet of Things : IoT) คือ การท่ีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ สามารถเชอ่ื มโยงหรอื สง่ ข้อมูลถึงกนั ไดด้ ้วยอนิ เทอรเ์ น็ต โดยไม่ตอ้ งป้อนขอ้ มูล การเชอ่ื มโยงนีง้ า่ ย จนทำ� ใหส้ ามารถสงั่ การควบคมุ การใชง้ านอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ ง ๆ ผา่ นทางเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ได้ไปจนถึงการเชื่อมโยงการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เขา้ กับการใชง้ านอืน่ ๆ ซ่งึ จะมสี ่วนประกอบทส่ี �ำคัญ คอื Smart Device, Cloud Computing และ Dashboard โดยท้ัง 3 ส่วนจะตอ้ งท�ำงานสอดคลอ้ งกันเพือ่ ให้ระบบทำ� หน้าทไ่ี ด้ลุลว่ งและต้องท�ำได้ เองโดยอัตโนมัติ ผู้ใช้มีหน้าท่ีเพียงติดตั้งและซ่อมแซมอุปกรณ์ รับข้อมูล และอัปเดตการท�ำงาน ของ Smart Device ไดโ้ ดยตรงผ่าน Dashboard เทา่ นน้ั กจิ กรรมเสนอแนะ 1. ใหผ้ ู้เรียนแบง่ กลุม่ กลมุ่ ละ 3-5 คน จัดหาอปุ กรณ์หรือภาพของอุปกรณท์ ี่ใช้ Internet of Things ในการช่วย อ�ำนวยความสะดวก กลุ่มละ 1 ช้นิ แลว้ นำ� เสนอหน้าช้ันเรยี น 2. ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-5 ศึกษาแอปพลิเคชันท่ีช่วยอ�ำนวยความสะดวกเกี่ยวกับ Smart Home หรือ Smart Farmer กล่มุ ละ 1 แอปพลิเคชัน แล้วนำ� เสนอหน้าชน้ั เรียน 3. ใหผ้ เู้ รยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 3-5 คน บนั ทกึ วดิ โี อเกยี่ วกบั การใชเ้ ครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณท์ ่ีใช้ Internet of Things แลว้ น�ำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น

34 แบบทดสอบหลังเรียน ตอนที่ 1 จงทำ� เคร่ืองหมายกากบาท (✕) ลงหน้าขอ้ ที่ถูกตอ้ งทส่ี ุด 1. ขอ้ ใดไม่จัดว่าเปน็ Internet of Things 6. Embedded Intelligence หมายถงึ การทำ� งานของ ก. แวน่ ตากเู กิลกลาส Internet of Things ลกั ษณะใด ข. รองเทา้ วงิ่ วัดความเร็ว ก. การเชื่อมต่อกนั ค. นาฬิกาวัดระยะทาง ข. ระบุเอกลักษณ์ ง. แอปพลเิ คชันระบุสถานที่ ค. การรบั ร้แู ละตอบสนอง จ. ชดุ กฬี านาโน ง. ระบบฝังตัว 2. รองเทา้ ว่งิ อัจฉรยิ ะ Xiaomi 90 ไม่สามารถตรวจจับ จ. ตั้งค่าดว้ ยตนเอง เก็บขอ้ มลู ในข้อใด 7. ขอ้ ใดมลี กั ษณะการทำ� งานเดยี วกนั กบั Cloud Computing ก. ข้อมลู ท่มี ีโครงสรา้ งชดั เจน ก. Wireless Network ก. จำ� นวนก้าว ข. Smart Device ข. ระยะทาง ค. Communication Device ค. ชพี จร ง. Microprocessor ง. วดั แคลอรี จ. Dashboard จ. เช่อื มตอ่ แอปพลิเคชัน 8. การส่งขอ้ มูลแบบรวดเร็วเป็นประโยชน์ของ Internet 3. Curie Module หมายถึงข้อใด of Things แบบใด ก. ชิปอัจฉรยิ ะ ก. Advanced ข. แวน่ ตาอจั ฉริยะ ข. Level ค. รองเทา้ อัจฉริยะ ค. High ง. นาฬิกาอัจฉรยิ ะ ง. Real-Time จ. เขม็ ขัดอัจฉรยิ ะ จ. Fast-Zone 4. แวน่ ตากเู กลิ กลาสเปน็ การใชเ้ ทคโนโลยดี า้ นใด 9. Consumer Insight หมายถงึ ข้อใด ก. เทคโนโลยเี ซนเซอร์ ก. ความต้องการแท้จรงิ ของผ้บู รโิ ภค ข. เทคโนโลยเี สมอื นจริง ข. ความต้องการซอื้ ของผู้บริโภค ค. เทคโนโลยดี จิ ิทลั ค. ความลงั เลใจของผูบ้ รโิ ภค ง. เทคโนโลยไี ฮเทค ง. ผูบ้ รโิ ภคต้องการความสะดวกสบาย จ. เทคโนโลยนี าโน จ. การได้รับบรกิ ารที่ดขี องผบู้ รโิ ภค 10. ขอ้ ใดเป็น Internet of Things ด้านพลงั งาน 5. ผูใ้ ดถอื วา่ เป็นบิดาแห่ง Internet of Things ก. ไฟถนน ก. Mark Devis ข. มาตรวัดนำ�้ ข. John Higgin ค. สัญญาณไฟจราจร ค. Stive Job ง. เครอ่ื งซักผ้าอัจฉรยิ ะ ง. Bill Gate จ. บา้ นอจั ฉรยิ ะ จ. Kevin Ashton

ตอนท่ี 2 จงเตมิ ค�ำหรอื ขอ้ ความลงในช่องว่างให้ถกู ต้อง 35 1. อินเทอร์เน็ตทกุ สรรพส่ิง (Internet of Things) หมายถงึ 2. อธบิ ายคุณสมบัตขิ องแวน่ ตากเู กิลกลาส 3. อธิบายลกั ษณะการท�ำ งานของ Internet of Things 4. อธิบายหน้าท่ขี องอปุ กรณ์ Smart Device 5. อธบิ ายหน้าทขี่ อง Cloud Computing 6. อธิบายหนา้ ที่ของ Dashboard 7. อธบิ ายประโยชนข์ อง Internet of Things 8. อธบิ ายวธิ ีการน�ำ Internet of Things ไปใช้ในงานด้านอตุ สาหกรรมเกี่ยวกับพลงั งาน 9. อธิบายผลกระทบท่ีอาจจะเกดิ ขึน้ จากการใช้ Internet of Things 10. อธิบายทักษะท่จี �ำ เปน็ ของบุคลากรดา้ น Internet of Things ตอนท่ี 3 จงตอบค�ำถามตอ่ ไปน้ีใหไ้ ดใ้ จความสมบูรณ์ (ทำ� ลงในสมดุ ) 1. อธิบายเก่ียวกบั ความรู้ทว่ั ไปของการขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสังคมตอ่ ไปนี้ มาพอเข้าใจ 2. อธบิ ายบทบาทของกลุ่มตวั แทนของการขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คมตอ่ ไปน้ี มาพอเข้าใจ 3. บรรทัดฐานทางสงั คมคืออะไร ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง อธิบายมาพอเข้าใจ 4. จงยกตัวอย่างปจั จยั ที่ส่งผลตอ่ การขดั เกลาและการจัดระเบียบทางสังคม พรอ้ มให้เหตผุ ล 5. เพราะเหตใุ ดจึงต้องมกี ารขัดเกลาและการจัดระเบียบทางสังคม

36