การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ด้วย google classroom doc

วจิ ัยในช้ันเรยี น

การพัฒนาการจดั การเรียนการสอนโดยใช้ Google
Classroom ในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี
ของนักเรยี นระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
นางสาวยวุ ดี แย้มเกษร

ตาแหนง่ ครู คศ.1

4

โรงเรียนดอนเมอื งทหารอากาศบารุง

สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา กรุงเทพมหานคร เขต 2
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบญั

หน้า
บทคัดยอ่ ……………………………………………………………………………………………………………………… ก
กติ ตกิ รรมประกาศ ………………………………………………………………………………………………………. ข
บทท่ี 1 บทนา……………………………………………………………………………………………………………… 1

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา……………………………………………………………….. 1
วัตถปุ ระสงค์……………………………………………………………………………………………………… 2
สมมตฐิ านของการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………….. 3
ขอบเขตของการวจิ ัย………………………………………………………………………………………….. 3
ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั ……………………………………………………………………………………………….. 3
นยิ ามคาศพั ท์.................................................................................................................. 4
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง……………………………………………………………………...... 5
ความหมายและความสาคัญของการจัดการเรียนการสอน……………………….………………. 5
ความหมายและความสาคญั ของสือ่ ออนไลน์…………………………………………………………. 6
Google Classroom…………………………………………………………………………………………. 7
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น……………………………………………………………………………………… 13
งานวิจัยท่เี ก่ยี วขอ้ ง…………………………………………………………………………………………….. 14
กรอบแนวคดิ การวิจยั …………………………………………………………………………………………. 16
บทท่ี 3 วิธีการดาเนินการศึกษา………………………………………………………………………………… 17
การประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง……………………………………………………………………………. 17
รูปแบบการวิจัย…………………………………………………………………………………………………. 17
เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวจิ ัย……………………………………………………………………………………… 18
การเก็บรวบรวมข้อมูล.................................................................................................... 18
การวิเคราะหข์ อ้ มูล…………………………………………………………………………………………….. 20
สถติ ทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล…………………………………………………………………………….. 20
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล…………………………………………………………………………………… 22
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มูล……………………………………………………………………… 22
ลาดับข้ันในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล……………………………………………………………………………. 22
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล………………………………………………………………………………………… 23
บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………… 30
สรุปผลการศกึ ษา………………………………………………………………………………………………. 30
อภิปรายผล………………………………………………………………………………………………………. 30
ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………… 31

สารบญั (ต่อ)

หนา้
บรรณานกุ รม……………………………………………………………………………………………………....... 33
ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………......... 35

ภาคผนวก ก เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ัยการพฒั นาการเรยี นการสอนโดยใช้ Google
Classroom ในรายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี ของนักเรยี นระดบั ช้ัน
มธั ยมศึกษาปีท่ี 4.......................................................................................... 36

ภาคผนวก ข แบบประเมินความพึงพอใจในการจดั การเรียนการสอนโดยใช้ Google
Classroom................................................................................................... 41

ชอื่ เรื่อง : ก
ชือ่ ผูว้ จิ ัย:
การพฒั นาการเรียนการสอนโดยใช้ Google Classroom ในรายวชิ าการออกแบบและ
เทคโนโลยี ของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นดอนเมอื งทหารอากาศบารุง
นางสาวยวุ ดี แยม้ เกษร

บทคัดย่อ

จุดมุ่งหมายของการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพ่ือพัฒนาห้องเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบการ
จัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 4 ท่ีมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน
เรียนและหลังเรียนท่ีเรียนโดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom รายวิชาการ
ออกแบบและเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 กลมุ่ ตวั อย่างไดแ้ ก่ นกั เรียนมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปี
การศึกษา 2562 ของโรงเรยี นดอนเมืองทหารอากาศบารุง จานวน 41 คน ได้มาดว้ ยการเลือกแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google
Classroom รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการออกแบบ
และเทคโนโลยี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และ
t – test แบบ dependent ผลการศึกษาพบว่า

1. ห้องเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom รายวิชา
การออกแบบและเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 มีประสิทธิภาพ 82.76/81.22 สงู กวา่ เกณฑ์ 80/80
ทต่ี ้งั ไว้

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google
Classroom รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 คะแนนเฉล่ียหลังเรียนสูงกว่าก่อน
เรียนอย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .01

3. ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนโดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google
Classroom รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560) นักเรยี นมคี วามพึงพอใจในระดับมากในการจัดการเรยี น
การสอนโดยใช้ระบบการจดั การเรียนการสอนด้วย Google Classroom

กิตตกิ รรมประกาศ

รายงานการวิจยั ฉบบั นีส้ าเร็จอยา่ งสมบรู ณไ์ ด้ดว้ ยความชว่ ยเหลืออยา่ งดยี ิง่ จาก คณะคณุ ครูกลมุ่ งาน
เทคโนโลยี กล่มุ สาระวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ที่ไดก้ รุณาให้คาแนะนาปรกึ ษาและข้อมลู ต่างๆ ขอกราบ
ขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสนี้

คุณค่าและประโยชนอ์ นั พงึ มีจากการศกึ ษาวิจยั น้ี ผ้วู ิจัยขอนอ้ มบชู าพระคณุ บดิ ามารดาและ
บรู พาจารย์ทกุ ทา่ นที่ได้อบรมสงั่ สอนวิชาความรู้ และใหค้ วามเมตตาแก่ผวู้ ิจัยมาโดยตลอด เปน็ กาลงั ใจ
สาคญั ท่ีทาใหก้ ารศกึ ษาวจิ ัยฉบับนสี้ าเรจ็ ลุล่วงไดด้ ว้ ยดี

นางสาวยุวดี แย้มเกษร
ผวู้ จิ ัย

1

บทที่ 1
บทนำ

ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
การจัดการศึกษาในปัจจุบันได้พัฒนาเปล่ียนแปลงไปอย่างรวมเร็วตามสภาพแวดล้อม ความ

เจรญิ ก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยแี ละวิทยาการต่างๆ การรับรขู้ ้อมูลข่าวสารต่างๆ โดยผ่านส่ือทีม่ ีอยูม่ ากมาย
ดังนน้ั การจัดการเรียนการสอนในปจั จุบันนอกจากใหค้ วามรูว้ า่ เขา้ ใจในเนอ้ื หาแลว้ จาเป็นต้องฝกึ ฝนให้ผู้เรยี นมี
ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ ดังท่ีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2553 กาหนดให้การจัดการเรียนการสอน
มุ่งเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ โดยกาหนดความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาคนไทยใหเ้ ป็นมนุษย์ที่
สมบูรณ์ทัง้ ร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา ความรู้และคุณธรรม มจี ริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถ
อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขและได้วางแนวทางการจัดการศึกษาว่าให้ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี
ความสามารถเรียนรู้ และพฒั นาตนเองได้ และถอื ว่าผเู้ รียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้อง
ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ซึ่งกระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องจัด
เนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณแ์ ละการประยุกต์ความรู้มาใชเ้ พ่ือ
ป้องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น
และแก้ปัญหาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเน่ือง (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ,
2553) เนอ่ื งมาจากความเจริญก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีทรี่ ุดหนา้ ไปอยา่ งรวดเร็วได้แสดงใหเ้ ห็นถงึ ขอ้ จากัดของ
การจัดการเรยี นร้ทู ี่เนน้ การส่ือสารภายในหอ้ งเรียนเพียงอย่างเดียว ทาให้โอกาส ในการสื่อสารระหว่างผู้สอน
และผูเ้ รยี นในสภาพการณ์ท่ตี ่างกนั ลดน้อยลงและเปน็ อปุ สรรคต่อการจดั การเรยี นรู้

ปัจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทต่อการเรียนและผู้เรียนเป็นอย่างมาก ในโลกในศตวรรษที่ 21 การใช้
เทคโนโลยีเพ่ือลดข้อจากัดดังกล่าวจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งในการจัดการเรียนการสอนมีการนาเทคโนโลยี
Google Apps for Education มาประยุกตใ์ ชเ้ ปน็ เคร่ืองมอื ทนี่ ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนสามารถสร้าง
ความปฏิสัมพันธร์ ะหว่างผู้สอนกับผเู้ รียน รวมถงึ ระบบการสง่ และจัดเก็บผลงานต่างๆ ผู้วิจยั ไดศ้ ึกษา Google
Classroom เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน Google Classroom เคร่ืองมือที่ช่วยอานวย
ความสะดวก ดา้ นการศกึ ษา เพ่มิ ประสิทธิภาพการทางานเพื่อใหผ้ ู้สอนมีเวลาทต่ี ิดต่อสื่อสารกับผู้เรยี นมากขึ้น
ในขณะเดียวกันผู้เรียนก็มีเวลาค้นหาข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้มากข้ึนด้วยเช่นกัน Google Classroom ซ่ึงเป็น
หอ้ งเรียนออนไลน์ นักเรียนสามารถเรยี นรู้ไดด้ ้วยตนเอง ทุกที ทุกเวลา และสามารถใช้โทรศพั ท์เป็นเครื่องมือ
ในการเรยี นรู้ได้ครสู ามารถออกแบบการจดั การเรียนการสอนไดโ้ ดยผ่าน Google Classroom อันจะสง่ ผลให้
การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพนักเรียนสามารถสูงสุดและเกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านการ
จดั การเรยี นรู้

2

Google Apps for Education (Google Inc, 2014) ถอื ได้วา่ เป็นนวัตกรรมทางการศึกษา เพราะมี
ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลสาหรับการจัดการเรียนการสอนในยคุ ดิจิทัลได้เป็นอย่างดี สร้างการเรียนรแู้ บบ
ทางานร่วมกันได้ทุกที่ทุกเวลา และทุกรูปแบบของเทคโนโลยีท่ีสามารถเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตได้ภายใต้
การจัดเก็บ รวบรวม และบันทึกข้อมูลบนคลาวด์ด้วย Google Drive มีการติดต่อส่ือสารผ่านทาง Gmail
สามารถกาหนดเวลาเรียน ตารางนัดหมายร่วมกันทากจิ กรรมกลุ่มได้ในเวลาเดยี วกนั บนแฟ้มเอกสารท่ีทางาน
เดียวกันได้ด้วย Google Docs สร้างเว็บไซต์ อีกท้ังครูยังสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารช้ันเรียนได้
ดว้ ยการใช้งาน Google Classroom

บริการอย่างหน่ึงของกูเกิล (Google) ท่หี ลายสถานศึกษาได้รับความอนุญาตจากกูเกิลให้สถานศกึ ษา
นาแอปพลิเคช่ันของกูเกิลมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนผา่ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปัจจุบนั กูเกิลได้นาเสนอ
บริการเพื่อให้สถานศึกษาได้ใช้งาน สาหรับอีเมล ปฏิทิน และการแชทผ่านกูเกิล แอปส์ ฟอร์ เอ็ดดูเคช่ัน
(Google Apps for Education) ซึ่งเป็นโซลูชันการส่ือสารและการทางานร่วมกันแบบบูรณาการ การจัดการ
เรียนการสอนให้กับครูผู้สอนในสถานศึกษาอย่างหนึ่งก็คือ กูเกิลคลาสรูม (Google Classroom) ซ่ึงรวมเอา
บริการของกูเกิลท่ีมีอยู่แล้ว เช่น Drive, Docs, Gmail หรือSheet ฯลฯ เข้ามารวมไว้ด้วยกัน และสามารถ
นาเสนอออกมาเป็นระบบเดียวแบบครบวงจร เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือให้ครูผู้สอนสามารถใช้ประโยชน์ในการ
สงั่ งานและเก็บรวบรวมผลงานต่างๆ ของนักเรียน อีกท้ังยังจะช่วยให้นักเรียนสามารถส่งงานได้ทันทีผ่านทาง
ออนไลน์ ในขณะท่ีผู้สอนเองก็สามารถตรวจงานที่มอบหมายพร้อมให้ข้อเสนอแนะแบบเรียลไทม์ได้อีกด้วย
โดยผู้สอนสามารถสร้างหน้าห้องเรียนขึ้นมา และสามารถเพ่ิม-ลด ผู้เรียนของตนเขา้ ไปได้ หรือจะใช้วิธีการส่ง
รหัสเพ่อื ให้นกั ศกึ ษาสามารถเขา้ สหู่ อ้ งเรียนได้ด้วยตวั เองก็ได้

ด้วยเหตนุ ้ีผวู้ ิจัยจึงเลง็ เห็นความสาคญั และสนใจที่จะใช้ Google Classroom ทจ่ี ะเป็นตัวเสรมิ ความรู้
นอกเวลาเรียนกับผู้เรียนเพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาตัวเองได้โดยไม่จาเป็นต้องอาศัยเวลาในห้องเรียนเพียงอย่าง
เดยี วเพื่อพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปี
ท่ี 4 ซ่ึงผลท่ีได้จากการวิจัยในครั้งนี้จะเป็นแนวทางนาเทคโนโลยี Google Apps for Education มา
ประยุกตใ์ ชเ้ ป็นเคร่อื งมอื ในการจัดการเรยี นการสอนให้มปี ระสทิ ธิภาพยิ่งขึ้นไป

วัตถปุ ระสงค์ของกำรวิจยั
1. เพื่อพัฒนาห้องเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom

รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้น

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 โดยใช้ Google Classroom ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน

โดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี

3

สมมตฐิ ำนกำรวจิ ยั
1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนโดยใชร้ ะบบการจดั การเรยี นการสอนดว้ ย Google Classroom

รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 สงู กวา่ กอ่ นเรียนอย่างมีนยั สาคัญทาง
สถิตทิ ่รี ะดับ .01

2. นักเรยี นมีความพึงพอใจตอ่ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ระบบการจัดการเรยี นการสอนด้วย Google
Classroom รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี อยู่ในระดับมาก

ขอบเขตของงำนวิจยั
1. กลมุ่ ตัวอย่ำง
นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนดอนเมอื งทหารอากาศบารงุ ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา

2563 ซ่งึ มีนักเรียนท้ังหมด 41 คน ซึง่ ได้ตวั อยา่ งมาโดยวธิ กี ารเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
2. ตัวแปร
ตัวแปรตน้ : ระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลนด์ ว้ ย Google Classroom
ตัวแปรตำม : ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียนมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 หลังเรียนด้วย
ระบบการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ดว้ ย Google Classroom
3. ระยะเวลำในกำรดำเนนิ งำน
การวิจยั ในครัง้ น้ีใชร้ ะยะเวลาทดลองในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ระหวา่ งเดอื น ตุลาคม –

ธนั วาคม 256๓
4. เนอื้ หำที่ใชใ้ นกำรวจิ ัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom รายวิชา

การออกแบบและเทคโนโลยี ซึ่งผู้วิจัยได้เรียบเรียงเนื้อหาขึ้นตามกรอบคาอธิบายรายวิชาของหลักสูตร
สถานศกึ ษา

ประโยชน์ท่ีคำดว่ำจะไดร้ ับ
1. นกั เรยี นสามารถเรียนรู้โดยใช้ระบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลนด์ ้วย Google Classroom

ทาให้ทราบถึงผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี น
2. ครูสามารถนาการจัดการเรียนรูโ้ ดยใชร้ ะบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ด้วย Google

Classroom เป็นแนวทางในการพัฒนาสอื่ การสอนออนไลนว์ ิชาต่าง ๆ

4

นิยำมคำศพั ท์
1. กำรเรียนออนไลน์ หมายถึง เป็นนวัตรกรรมทางการศึกษา ที่เข้ามาเปล่ียนรูปแบบการเรียนการ

สอนแบบเดมิ โดยการนาเทคโนโลยีมาใช้ผสมผสานรว่ มกนั เชน่ อนิ เทอรเ์ นต็ อปุ กรณ์สื่อสาร แพลตฟอร์มการ
เรียน เป็นต้น เพื่อสร้างห้องเรียนเสมือนจริง โดยผู้คนทั่วโลกสามารถเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้น้ีได้อย่างทั่วถึง
และสะดวกรวดเรว็ โดยขจัดอปุ สรรคดา้ นสถานท่ีและเวลา

2. กำรจัดกำรเรียนกำรสอน หมายถึง กระบวนการสาคัญในการนาหลักสูตรสู่การปฏิบัติหลักสูตร
เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ท้ัง 8 กลุ่มสาระเรียนรู้รวมท้ังปลูกฝังเสริมสร้าง
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์พัฒนาทักษะต่าง ๆ อนั เป็นสมรรถนะสาคัญท่ีต้องการใหเ้ กิดแก่ผู้เรียน

3. Google Classroom หมายถึง บริการบนเว็บฟรีสาหรับโรงเรียน องค์กรการกุศล และทุกคนที่มี
บัญชี Google ส่วนบุคคล และ Classroom ยังช่วยให้ผู้เรียนและผู้สอนเชื่อมต่อถึงกันได้ง่าย ทั้งภายในและ
ภายนอกโรงเรียน

5. นักเรียน หมายถึง นักเรียนกลุ่มตัวอย่างระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ที่เข้าไปศึกษาเรียนรู้ในสื่อ
ออนไลน์ Google Classroom ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 41 คน

5

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง

การวิจัยเรื่องการพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาการออกแบบและ
เทคโนโลยี ของนกั เรยี นระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผ้วู จิ ยั ไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ยี วข้องดงั นี้

ความหมายและความสาคัญของการจัดการเรยี นการสอน
ความหมายและความสาคญั ของสอื่ ออนไลน์
Google Classroom
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
งานวจิ ัยท่เี ก่ยี วขอ้ ง
กรอบแนวคิดการวจิ ัย

ความหมายและความสาคญั ของการจดั การเรียนการสอน
ความหมายของการเรียนการสอน ในทางศึกษาศาสตร์มีผู้ให้นิยามความหมายที่เก่ียวกับรปู แบบการ

เรียนการสอนไว้มากมาย สว่ นความหมายของคาวา่ การเรียนการสอนแบ่งความหมายออกเปน็ 2 สว่ น ดงั นี้
การเรียน หรือการเรยี นรู้ หมายถึง การได้รบั ความรู้ พฤตกิ รรม ทักษะ คุณคา่ หรอื ความพงึ ใจที่เป็นสิ่ง

แปลกใหม่หรือปรับปรุงส่ิงที่มีอยู่ การเรียนรู้อาจมีการยึดเป้าหมายและอาจมีการจูงใจเป็นตัวช่วย การเรยี นรู้
อาจก่อให้เกดิ ความตระหนกั อย่างมสี านึกหรือไมม่ สี านกึ กไ็ ด้

การสอน หมายถงึ การถ่ายทอดเน้ือหาวิชาหรือเป็นวธิ กี ารหลากหลายทีค่ รนู ามาใช้เพ่ือให้เด็กเกดิ การ
เรยี นรู้ ตามศักยภาพของเด็ก โดยมีลักษณะการสอน 3 ประการ ดงั นี้

- การสอนเปน็ กระบวนการปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างผู้สอนกบั ผู้เรียน
- ใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมตามจดุ ประสงค์ท่กี าหนดไว้
- การสอนใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงคต์ ้องอาศยั ทัง้ ศาสตร์และศลิ ปข์ องผสู้ อน
สรุป ความหมายของการเรียนการสอน จึงหมายถึง การได้รับความรู้ พฤติกรรม ทักษะ คุณค่า หรือ
ความพึงพอใจที่เป็นสิ่งแปลกใหม่ด้วยวิธีการถ่ายทอดหรือวิธีการสอนที่หลากหลายรูปแบบให้เหมาะสมตาม
ศกั ยภาพของผู้เรยี น
รูปแบบการเรียนการสอน
รปู แบบการสอน หมายถึง แผนแสดงการเรียนการสอน สาหรับนาไปใช้สอนในหอ้ งเรยี นเพ่ือใหผ้ ู้เรียน
เกิดการเรยี นรตู้ ามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไวใ้ ห้มากท่ีสุด และรูปแบบการสอนนั้นอยู่ภายใต้หลักการของแนวคิด
พื้นฐานเดียวกัน องค์ประกอบของการสอนได้แก่ หลักการ จุดมุ่งหมาย เน้ือหา และทักษะที่ต้องการสอน
ยทุ ธศาสตรก์ ารสอน วิธกี ารสอน กระบวนการสอน ข้ันตอนและกจิ กรรมการสอน การวดั และประเมนิ ผล

6

สาหรบั รูปแบบการเรียนการสอนทเ่ี ป็นสากลมเี ป็นจานวนมาก ดังน้นั จงึ มีการจัดหมวดหมูข่ องรปู แบบ
ตามลักษณะของวัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะหรอื ตามเจตนารมณ์ของรปู แบบไว้ 5 หมวด ดงั นี้

1. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัย (cognitive domain) เป็นรูปแบบการ
เรียนการสอนท่ีมุ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเขา้ ใจในเน้ือหาสาระตา่ ง ๆ ซ่ึงเน้ือหาสาระนั้นอาจอยู่ในรูป
ของข้อมูล ขอ้ เท็จจริง มโนทศั น์ หรือความคิดรวบยอด

2. รปู แบบการเรียนการสอนที่เนน้ การพฒั นาดา้ นจติ พิสัย (Affective Domain) เป็นรูปแบบทม่ี ุง่ ช่วย
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้สึก เจตคติ ค่านิยม คุณธรรม และจริยธรรมที่พึงประสงค์ซึ่งเป็นเรื่องท่ียากแก่การ
พฒั นาหรอื ปลูกฝงั

3. รปู แบบการเรียนการสอนท่เี น้นการพฒั นาด้านทักษะพิสัย (Psycho-Motor Domain) เปน็ รูปแบบ
ที่มุ่งช่วยพัฒนาความสามารถของผ้เู รยี นใน ดา้ นการปฏิบัติ การกระทา หรอื การแสดงออกต่างๆ ซงึ่ จาเป็นต้อง
ใช้หลักการ วิธีการ ทแี่ ตกตา่ งกันไป

4. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการ (Process Skill) เป็นทักษะท่ี
เก่ียวข้องกับวิธีดาเนินการต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นกระบวนการทางสติปัญญา เช่น กระบวนการสืบสอบแสวงหา
ความรู้ หรือกระบวนการคิดต่าง ๆ อาทิ การคิด วิเคราะห์ การอุปนัย การนิรนัย การใช้เหตุผล การสืบสอบ
การคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ และการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ เป็นตน้

5. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการบูรณาการ (Integration) เป็นรูปแบบท่ีพยายามพัฒนาการ
เรยี นรู้ด้านตา่ งๆ ของผู้เรยี นไปพร้อมๆ กนั โดยใชก้ ารบรู ณาการทงั้ ทางด้านเนอ้ื หาสาระและวิธีการ

ความหมายและความสาคัญของสือ่ ออนไลน์
สื่อออนไลน์หรือส่ือสังคม (Social Media) สองคาที่สังคมเรียกติดปาก ซึ่งมีความหมายเดียวกัน ใน

บทความนี้ผู้เขียนเลือกใช้คาว่า “ส่ือสังคมออนไลน์ (Social Media Online)” มีผู้ให้ความหมาย ส่ือสังคม
ออนไลน์ ไวม้ ากมาย ดังน้ี

ราชบัณฑิตยสถาน (2554) ได้บัญญัติคา ว่า “Social Media” ไว้ว่า “ส่ือสังคม” หมายถึงสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นส่ือกลางที่ให้บุคคลทั่วไปมีส่วนร่วมสร้างและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่าง ๆ ผ่าน
อนิ เทอรเ์ นต็ ได้ สื่อเหล่าน้ีเป็นของบรษิ ัทตา่ งๆ ให้บรกิ ารผ่านเว็บไซต์ของตน เช่น เฟซบกุ๊ (Facebook) ไฮไฟฟ์
(Hi5) (อ่านว่า ไฮ-ไฟ้) ทวิตเตอร์ (Twitter) วิกิพีเดยี (Wikipedia) ฯลฯ

นาวิก นาเสียง (2554) ได้ให้คาจากัดความของ สื่อสังคมออนไลน์ว่า เป็นที่ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
สามารถแลกเปล่ียนประสบการณ์ซง่ึ กนั และกัน โดยใช้ส่อื ต่างๆ เป็นตวั แทนในการสนทนา โดยได้มีการจัดแบ่ง
ประเภทของส่ือสังคมออนไลน์ ออกเป็นหลายประเภท เช่น ประเภทส่ือส่ิงพิมพ์ (Publish) ท่ีมีWikipedia,
Blogger เป็นต้น ประเภทสื่อแลกเปล่ียน (Share) ท่ีมี YouTube Flickr SlideShare เป็นต้น ประเภทส่ือ
สนทนา (Discuss) ท่ีมี MSN Skype GoogleTalk เป็นตน้

7

แสงเดอื น ผ่องพุฒ (2556) ให้ความหมายของส่ือสังคมออนไลน์ว่าเป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีเว็บ
2.0 เป็นเคร่ืองมือท่ีทางานบนเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตและเครือขา่ ยโทรศัพท์เคลื่อนท่ี ที่อนุญาตให้แต่ละบุคคล
เข้าถึง แลกเปลี่ยน สร้างเน้ือหา และส่ือสารกับบุคคลอ่ืนๆ ร่วมถึงการเข้าร่วมเครือข่ายออนไลน์ต่างๆ การ
สือ่ สารเป็นแบบสองทาง

เขมณัฏฐ์ ม่ิงศิรธิ รรม (2557) ให้ความหมายของสื่อสังคมออนไลน์ว่าเป็นสือ่ ดิจิตอลหรือซอฟแวร์ที่
ทางานบนพื้นฐานของระบบเว็บไซต์เป็นเคร่ืองมือในการปฏิบัติการทางสังคม เป็นการนาเรื่องราวต่างๆ
เหตกุ ารณ์ ประสบการณ์ รปู ภาพวดิ ีโอ รวมทั้งการพูดคยุ ตา่ งๆ แบ่งปนั ใหค้ นทอี่ ยใู่ นสงั คมเดียวกันได้รบั รู้

วิกิพีเดีย (Wikipedia, 2016) กล่าวถึงสอื่ สังคมออนไลน์ว่าเปน็ เครอ่ื งมือที่มกี ารติดตอ่ สอ่ื สารหรือการ
โต้ตอบปฏิสัมพันธ์ผ่านคอมพิวเตอร์ (Computer-mediated) ที่ให้บุคคลหรือบริษัทสร้างแบ่งปันแลกเปลี่ยน
ข้อมลู ตา่ ง ๆ ท้ังความรู้และรปู ภาพผ่านทางเครือข่ายและชมุ ชนเสมือน (Virtual communities)

กล่าวโดยสรุป สื่อสังคมออนไลน์ เป็นส่วนหน่ึงของเทคโนโลยีเว็บ 2.0 เป็นเคร่ืองมือที่ทางานบน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั้งในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) และอุปกรณ์หรือโทรศัพท์เคล่ือนที่โดยมี
วัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือการติดต่อสื่อสาร แลกเปลีย่ น การแบง่ ปนั เร่อื งราวเหตกุ ารณ์ต่างๆ ระหว่างบุคคลสองคน หรือ
กลมุ่ บุคคลในลักษณะของการเขา้ รว่ มในเครอื ขา่ ยออนไลนเ์ ดียวกัน

Google Classroom
1. ลักษณะของแอปพลิเคชัน
Google Classroom เปน็ แอปพลเิ คชันที่ง่ายต่อการใช้งานฟังก์ชันไมซ่ ับซ้อน เมนูไม่ยุ่งยากรองรบั ได้

หลากหลายอปุ กรณ์ช่วยประหยัดเวลาในการศึกษาเรียนรู้ส่งเสริมการเรียนรู้ที่ไม่จากัด ว่าต้องอยู่ในห้องเรียน
ผู้เรียนสามารถใช้เวลาว่างเข้าไปทบทวนหรือศึกษาได้ด้วยตัวเอง เหมาะแก่สถานศึกษาทุกระดับ โดยเฉพาะ
ในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรน่า (Covid-19) ทาให้การจดั การเรียนการสอนมีการลดเวลา
เรียนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และการใช้ Google Classroom ยังไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ในการดาเนินการ
เพราะทางบริษัท Google มีนโยบายส่งเสริมด้านการศึกษา จึงเปิดให้บริการฟรีแก่สถาบันการศึกษาทุก
ประเภท

พุฒิพงศ์ มะยา (2560, หน้า 2) กล่าวว่า Google classroom มีลักษณะการเรียนรู้บนห้องเรียน
ออนไลน์ Google Classroom เป็นการเรียนรู้ผ่านแอพพลิเคช่นั ที่รวมเอาบริการของ Google ท่ีมีอยู่แล้วเช่น
Google Drive , Google Doc , Google Sheet และ Gmail เข้ามารวมไว้ด้วยกัน และสามารถนาเสนอ
ออกมาเป็นระบบเดียวครบวงจร เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือให้ครูผู้สอนสามารถใช้ประโยชน์ในการสั่งงานและเก็บ
รวบรวมผลงานต่าง ๆ ของนักเรียน อีกท้ังยังช่วยให้นักเรียนสามารถส่งงานได้ทันทีผ่านระบบออนไลน์ และ
นักเรียนยังสามารถตรวจงานท่ีได้รับมอบหมายพร้อมให้ข้อเสนอแนะแบบ Real Time ได้ โดยครูผู้สอน
สามารถสรา้ งหน้าห้องเรียนข้ึนมาและสามารถเพ่ิมลดนักเรียนเข้าไปได้หรอื จะใช้วิธีการส่งรหัสเพื่อใหน้ ักเรียน
สามารถเข้าสหู่ อ้ งเรียนได้

8

จากการศึกษาคุณลักษณะของแอพพลเิ คชน่ั Google Classroom ของนักวชิ าการ สรปุ สาระสาคัญได้
ว่า Google Classroom เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยในการสอน การมอบหมายงาน การทางานร่วมกัน รวมทั้ง
สามารถเสรมิ แรงในทางบวก เพ่ือกระตนุ้ การเรียนรทู้ ่ีมีความต่อเน่ือง และยังผสานรวมกับเคร่ืองมืออ่ืน ๆ ของ
Google เชน่ Google Doc , Google Sheet เป็นต้น

2. องค์ประกอบสาคัญ ของ Application Google Classroom
Application Google classroom มีองค์ประกอบที่ท่ีสาคัญ 4 ส่วน ซึ่งประกอบด้วยหน้าแรก
(About), หนา้ สตรีม (Steam), หน้าสรา้ งงานของชน้ั เรียน, หนา้ ผู้คน โดยมีรายละเอียดดงั น้ี
ส่วนที่ 1 หนา้ แรก (About)

ภาพที่ 2-1 หน้าแรก (About)

ส่วนท่ี 2 หน้าสตรีม (Steam)

ภาพท่ี 2-2 หน้าสตรีม (Steam)

9

ส่วนที่ 3 หน้าสร้างงานของชั้นเรียน

ภาพท่ี 2-3 หนา้ สร้างงานของช้นั เรียน

สว่ นที่ 4 หน้าผู้คน

ภาพที่ 2-4 หน้าผคู้ น

3. กระบวนการใชง้ านแอปพลิเคชัน Google Classroom
3.1 ขนั้ ตอนการสรา้ งชั้นเรยี น Application Google Classroom
ข้ันตอนที่ 1 เข้าไปทีห่ นา้ แรก about คลกิ ที่เครื่องหมาย + ด้านบนฝง่ั ขวา
ขัน้ ตอนท่ี 2 เลอื กสร้างชน้ั เรียน หลังจากทคี่ ลิกเลือกสร้างช้นั เรียนแลว้ จะแสดงข้อตกลง

เกย่ี วกบั การใช้งานใหค้ ลิกที่ช่องเล็กซา้ ยมือและคลกิ ยินยอม (เสร็จส้นิ )

สรา้ งชั้นเรยี น

ภาพท่ี 2-5 สร้างชน้ั เรียน

10
3.2 ขั้นตอนการสร้างขอ้ มลู สาหรับการจัดการเรยี นรู้ Application Google Classroom

ภาพท่ี 2-6 สรา้ งงานสาหรบั การจดั การเรียนรู้

มอบหมายงานให้นกั เรยี นในชั้นเรียน คือการสรา้ งงานและคาถามใชห้ วั ข้อเพือ่ จัดระเบยี บงานของ
ช้ันเรียนออกเป็นโมดูล หรือจัดเรียงงานในลาดับท่ีต้องการแสดงต่อนักเรียนและรายละเอียดของเมนูสร้างมี
ลักษณะดงั นี้

3.2.1 การสรา้ งงาน

ภาพที่ 2-7 การสร้างงาน

3.2.2 การสร้างงานแบบทดสอบ

ภาพท่ี 2-8 การสรา้ งงานแบบทดสอบ

11

3.2.3 การสร้างคาถาม

ภาพที่ 2-9 การสรา้ งคาถาม

3.2.4 การสรา้ งเน้ือหา

ภาพท่ี 2-10 การสร้างเนื้อหา

3.3 ขนั้ ตอนการดแู ละจัดการรายชอ่ื ครูผู้สอน / นกั เรียน ของ Google Classroom

หมายเลข 1
เพ่อื จัดการและเชิญ

ครสู อนร่วม

ภาพท่ี 2-11 การดูและจดั การรายชื่อครูผูส้ อน / นักเรียน

หมายเลข 2
เพ่อื จัดการและ
เชญิ นกั เรยี น

12
3.4 ข้นั ตอนการเข้ารว่ มชัน้ เรียนของ Google Classroom

ขน้ั ตอนท่ี 1 เขา้ ไปที่ หนา้ แรก (About) คลกิ ท่ีเคร่ืองหมาย + ดา้ นบนฝัง่ ขวา
ขนั้ ตอนที่ 2 เลือกเข้าร่วมชั้นเรียน หลักจากที่คลิกเลอื กเขา้ ร่วมชั้นเรียนแล้วจะแสดงช่องให้
นกั เรียนที่เข้ารว่ มชน้ั เรยี นกรอกรหัสของชั้นเรียน ในกรณีท่ีชั้นเรียนมีการกาหนดรหสั การเข้าร่วมช้ันเรียน แต่
ถ้าไมม่ ีรหสั เข้าร่วมช้นั เรียน นกั เรยี นสามารถเข้าร่วมได้ทันที

เขา้ รว่ มชัน้ เรยี น

ภาพที่ 2-12 การเข้ารว่ มช้นั เรียนของนกั เรยี น

4. แนวคดิ สาคัญในการจัดการชั้นเรยี นด้วย Google Classroom

ภาพท่ี 2-13 กระบวนการจัดการชน้ั เรยี นด้วย Google Classroom

13

5. ประโยชน์ของ Google Classroom
5.1 ครูสามารถเตรียมการสอนได้ง่าย สามารถเพ่ิมนักเรียนได้โดยตรงหรือแชร์รหัสเพ่ือให้

นักเรียนเขา้ ร่วมช้นั เรียน ซ่ึงการต้ังค่าใชเ้ วลาไม่มากโดยผา่ นบัญชีอเี มล์ Google App for Education
5.2 ประหยัดเวลาในการมอบหมายงานไมส่ ้ินเปลืองกระดาษ ทาให้ครสู ามารถตรวจงานและให้

คะแนนได้ในเวลาเดยี วกัน
5.3 ช่วยจดั ระเบียบนักเรียน โดยนกั เรียนสามารถดูงานทัง้ หมดของตนเองได้ในหนา้ งานและหน้า

เนื้อหา สาหรับช้ันเรียนทงั้ หมดจะจัดเกบ็ อย่ใู นโฟลเดอร์ภายใน Google Drive โดยอัตโนมตั ิ
5.4 สื่อสารกันได้ดีขึ้น Google Classroom ทาให้ครูติดต่อส่ือสารพูดคุยในช้ันเรียนได้ทันทีและ

นกั เรียนยังสามารถแชร์แหล่งข้อมลู หรือคาตอบในหน้าของสตรมี ได้
5.5 ประหยัดและปลอดภัยเนื่องจาก Google Classroom ไม่มีการโฆษณาใช้เน้ือหาหรือข้อมูล

ของนกั เรยี นในการโฆษณาและเปน็ บริการฟรีสาหรบั องคก์ รของโรงเรยี น
5.6 สามารถเขา้ ถึง Google Classroom ไดท้ ุกท่ี/ทุกเวลา/ทกุ อปุ กรณ์

ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น

ผลสัมฤทธิ์ หมายถึง ความสาเร็จที่ได้รับจากความพยายาม เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ หรือ

ระดับของความสาเรจ็ ท่ไี ด้รับในแตล่ ะดา้ นโดยเฉพาะหรือโดยทวั่ ไป (เดโช สวนานนท์. 2512: 3-4)

ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน หมายถึง ระดับความสาเร็จท่ีได้รับจากการเรียน ซ่ึงได้ประเมินผลจากหลาย

วธิ ี ดังต่อไปนี้ ( อัจฉรา สขุ ารมณ์ และอรพนิ ทร์ ชูชม. 2530 : 3 ) กระบวนการที่ได้จากแบบทดสอบ โดยใช้

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยทั่วไปกระบวนการที่ได้จาก เกรดเฉล่ียของโรงเรียน ซ่ึงต้องอาศัย

กรรมวิธีทซ่ี ับซ้อนและช่วงเวลาทีย่ าวนานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีนิยมใช้กันท่ัวไป มักอยู่ในรูปของเกรดท่ีได้

จากโรงเรียน เน่ืองจากให้ผลที่น่าเช่ือถือมากกว่า เพราะการประเมินผลการเรียนของนักเรียน ครูจะต้อง

พจิ ารณาองค์ประกอบอ่ืน ๆ หลายด้านจงึ ยอ่ มดีกว่าการแสดงขนาดของความลม้ เหลว หรอื ความสาเร็จทางการ

เรยี นจากการทดสอบนักเรยี นดว้ ยแบบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นทั่วๆไปพยี งครัง้ เดยี ว

การแบ่งความสามารถในการเรียนของนักเรยี นตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยพิจารณาจากเกรดท่ี

ไดร้ บั ดงั ตอ่ ไปน้ี

0 หมายถงึ ผลการเรยี นตา่ กวา่ เกณฑ์ข้นั ต่า ได้คะแนนต่ากวา่ 50 คะแนน

1 หมายถงึ ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ขั้นต่าท่ีกาหนด ไดค้ ะแนน 50-54 คะแนน

1.5 หมายถงึ ผลการเรียนพอใช้ ไดค้ ะแนน 55-59 คะแนน

2 หมายถึง ผลการเรยี นนา่ พอใจ ไดค้ ะแนน 60-64 คะแนน

2.5 หมายถงึ ผลการเรยี นค่อนข้างดี ไดค้ ะแนน 65-69 คะแนน

3 หมายถึง ผลการเรียนดี ได้คะแนน 70-74 คะแนน

3.5 หมายถงึ ผลการเรยี นดีมาก ไดค้ ะแนน 75-79 คะแนน

4 หมายถึง ผลการเรยี นดีเยีย่ ม ได้คะแนน 80 คะแนน ข้นึ ไป

14

ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น หมายถึง คะแนนเฉลย่ี สะสมของนักเรยี น และแบ่งระดบั ของผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนไว้ ดังนี้

คะแนนเฉลยี่ สะสมตา่ หมายถงึ ได้คะแนนเฉลย่ี ต่ากวา่ 2.00
คะแนนเฉลี่ยสะสมปานกลาง หมายถงึ ไดค้ ะแนนเฉลีย่ ตั้งแต่ 2.00 – 2.50
คะแนนเฉล่ียสะสมสูง หมายถึง ได้คะแนนเฉลย่ี ตั้งแต่ 2.50 ข้ึนไป
จากเอกสารดังกล่าว สรุปได้วา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า หมายถึง ผลการเรียนเฉล่ียสะสมของ
นักเรียนที่ไดจ้ ากการสอบและวธิ ีการวัดผลของโรงเรียนตา่ กวา่ 2.00

งานวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้อง
ผศ.ดร.ภาสกร เรอื งรอง (2558) ได้กลา่ วไวใ้ นบทความเร่อื ง การใช้เทคโนโลยี Google Apps ในการ

พัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน The use of Google Apps in the development of innovative
teaching ไว้วา่ การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน จึงมีความจาเป็นอย่างมากที่ จะต้องมีการนาเครื่องมือ
หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้ในการจดั ระบบการเรียนการสอนเพื่อช่วย อานวยความสะดวกในหลายๆ ด้าน
เคร่ืองมือท่ีน่าสนใจในการจัดการเรียนการสอนปัจจุบัน คือ Google Apps for Education ที่จัดได้ว่าเป็น
เคร่ืองมือที่ช่วยตอบสนองปัญหาต่างๆ ของการเรียน การสอนในห้องเรียนได้อย่างหลากหลาย และมี
ประสิทธิภาพอีกเคร่ืองมือหน่ึงในการจัดการเรียนการ สอนของไทย ดังน้ันจะเห็นได้ว่า Google Apps for
Education สามารถตอบโจทย์การศึกษายุคใหม่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้ชื่อว่าเป็นการสร้างตานานแห่ง
โลกการศึกษายุคใหม่ เพราะได้ทาให้ รูปแบบการจัดการเรียนการสอน การติดต่อส่ือสาร การมีปฏิสัมพันธ์
แปรเปล่ียนไปจากอดีตอย่าง ส้นิ เชงิ

อภิรักษ์ ทูลธรรม และอุมาพร จันโสภา (2559) ได้ทาวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจระบบบริการจัดการ
เรยี นการสอนแบบออนไลน์มูเด้ิลและกูเก้ิลคลาสรูมในบทบาทของผู้สอน ผลการศึกษา ระบบการจดั การเรียน
การสอนออนไลน์มูเด้ิลและกูเก้ิลคลาสรูม จากกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการใช้มูเดิ้ลและกูเก้ิล
คลาสรูมในบทบาทของผู้สอนของมหาวิทยาลัยนครพนม จานวน 40 คน ผลการศึกษาพบว่าผู้ใช้มีความพึง
พอใจในการใชง้ านมูเด้ิลและกูเกิ้ลคลาสรูมในระดับ มาก (มูเด้ิลมีค่า = 4.29, S.D. = 0.75 และ กูเก้ิลคลาส
รมู มคี ่า = 4.31, S.D. = 0.70)

สาวิตรี สิงหาดและคณะ (2561) ศึกษาผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาล ต่อการ
จดั การเรยี นการสอนผ่าน Google Classroom ในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล การวจิ ยั เชิง
ทดลองนี้ มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นก่อนและหลงั เรยี น จากการเรยี นผ่าน Google
Classroom เป็นเคร่ืองมือในการจัดการเรียนการสอน และศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาจากการจัดการ
เรียนการสอนผ่าน Google Classroom โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง คือนักศึกษาพยาบาลชั้นปีท่ี 2
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ
พยาบาล จานวน 64 คน เครอ่ื งมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บทเรียนรายวิชาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรยี นรกู้ อ่ นเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักศกึ ษาพยาบาลและวิเคราะห์ข้อมูล โดย

15

ใชส้ ถิติเชิงพรรณนา คา่ รอยละ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมติฐานโดยวิธคี าที (paired
samples t-test) ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักศึกษาพยาบาลหลังเรียนโดยใช้ Google
Classroom เป็น เคร่ืองมือสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และความพึงพอใจของ
นักศกึ ษาพยาบาลจากการเรยี นโดยใช้ Google Classroom เป็นเคร่ืองมืออยู่ในระดบั มากท่สี ดุ

พรศักด์ิ หอมสุวรรณและคณะ (2560) ศึกษาระดับความพึงพอใจระบบการจัดการเรียนการสอน
แบบออนไลน์ผ่าน Google Classroom ภายในวิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรมยานยนต์การวิจัยคร้ังนี้มี
วัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาระบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร
วชิ าชีพชน้ั สูง (ปวส.) ผ่าน Google Classroom เพ่ือหาระดับความพึงพอใจทีม่ ีตอ่ การใช้งานระบบการจัดการ
เรียนการสอนผ่าน Google Classroom ท้ัง 3 บทบาท ประกอบด้วย ผู้เรียน จานวน 50 คน ผู้สอนจานวน
10 ท่าน และผู้บริหาร 5 ท่าน โดยใช้เคร่ืองมือในการวิจัยแบบประเมินความพึงพอใจระบบการจัดการเรียน
การสอนแบบออนไลน์ผ่าน Google Classroom สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉล่ีย และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนผ่าน Google
Classroom ในระดับมาก (x = 4.32, S.D.= 0.63) ผู้สอนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนผ่าน
Google Classroom ในระดบั มาก (x = 4.61, S.D.= 0.55) และผู้บริหารมีความพึงพอใจในการจัดการเรียน

การสอนผ่าน Google Classroom ในระดบั มาก (x = 4.27, S.D.= 0.65)

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ไดท้ าวจิ ัย การพฒั นาบทเรยี นออนไลน์ วิชาภาษาจีนกลางเรอ่ื ง
พนิ อิน ด้วย Google Classroom สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 การวิจัยคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1)
เพ่ือพัฒนาบทเรียน เรื่อง พินอิน ด้วย Google Classroom สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มี
ประสิทธภิ าพเกณฑ์มาตรฐาน 90/ 90 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง พินอิน ของผู้เรียนท่ีเรียนจาก
บทเรียนท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน โดยเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนด คือ ร้อยละ 80 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ
นักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนกลางเรื่อง พินอิน โดยใช้ห้องเรียนออนไลน์ Google
Classroom สาหรับนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 กลมุ่ ตัวอยา่ งท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ท่ี 3 ท่ีเลอื กเรยี นภาษาจีนกลาง โดยไม่มพี ้ืนฐานภาษาจนี กลางของโรงเรียนมัธยมวัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ ในพระ
บรมราชานุเคราะห์ ปกี ารศึกษา 2562 จานวน 20 คน เครื่องมอื ที่ใช้ในการวิจัย ไดแ้ ก่ 1) บทเรยี นออนไลน์
เร่ือง พินอนิ ด้วย Google Classroom 2) แบบทดสอบหลังเรียน 3) การอา่ นบัตรคา จานวน 4 ชุด และ 4)
แบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างต่อบทเรียน ผลการวิจัย พบว่า 1) การหาประสิทธิภาพของ
บทเรียนออนไลน์ พบว่า ค่าประสิทธิภาพของบทเรียนเท่ากับ 90.25/ 95.00 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
เรื่อง พินอิน ของผู้เรียนท่ีเรียนจากบทเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน (Post-test)
เท่ากับ 90.25 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด เท่ากับร้อยละ 80 และ 3) ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อ
บทเรยี นออนไลน์ วิชาภาษาจีนกลาง เร่ือง พนิ อิน อยใู่ นระดับพอใจมากทส่ี ุด

16

จุฑามาศ ใจสบาย ได้ทาวิจัย การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom รายวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิตของ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ (1) การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้
Google Classroom เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือชวี ิต (2) การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลัง
การเรียนรู้ (3) การศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี น ในการวิจยั ครั้งนี้เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีปีท่ี 1 ใน
สาขาเทคโนโลยีพลังงานเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีลงทะเบียนเพื่อชีวิตนักเรียน 20 คนในภาคการศึกษาที่สอง
ของปีการศึกษา 2559 กลุ่มตัวอยา่ งถูกเลือกโดยการเลอื กแบบเจาะจง หลักสตู รออนไลน์การพัฒนา บทเรียน
ออนไลน์โดยใช้ Google Classroom และการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังเรียนของ
นักเรียน การใช้แบบทดสอบออนไลน์แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนการใช้แบบทดสอบออนไลน์
นักเรยี นจะได้รับการประเมินผ่านระบบ บทเรยี นออนไลน์ประสิทธิภาพนี้คือ 80.25 / 84.88 ซึ่งสูงกว่าชุด
มาตรฐาน 80/80 คะแนนเฉล่ียของนักเรียนอยู่ที่ 37.80 และ 41.10 ตามลาดับ เปรียบเทียบระหว่าง
คะแนนก่อนและหลงั เรยี น คะแนนสอบหลงั เรียนสงู กว่ากอ่ นเรยี นอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ. 05 ผลการ
สารวจความพงึ พอใจพบวา่ คะแนนเฉล่ียเท่ากับ 3.70 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานคอื 0.27

กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย 1. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
2. ความพงึ พอใจต่อการจัดการ
การจัดการเรยี นสอนโดยใช้ เรียนการสอน
Google Classroom ในรายวิชาการ

ออกแบบและเทคโนโลยี

17

บทท่ี 3
วิธดี ำเนนิ กำรวิจัย

การวิจัยครงั้ นี้ เปน็ การวิจัยเร่ืองการพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ Google Classroom ในรายวิชา
การออกแบบและเทคโนโลยี ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบารุง มีวัตถปุ ระสงค์ เพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาการออกแบบ
และเทคโนโลยี ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 และศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ต่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยีโดยใช้
Google Classroom ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ซึ่งมีวิธดี าเนนิ การวจิ ยั ตามหัวขอ้ ดงั นี้

การเลอื กประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง
รปู แบบการวิจยั
เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจยั
การเก็บรวบรวมข้อมลู
การวเิ คราะหข์ ้อมูล
สถิตทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล

ประชำกรและกลมุ่ ตัวอย่ำง
ประชำกร
ประชากรทใ่ี ช้ในการวจิ ยั คร้งั นี้ คือ นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบารุง

สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
จานวน 11 หอ้ งเรยี น

กลมุ่ ตัวอยำ่ ง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั คร้ังน้ี คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศ
บารุง สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2563 จานวน 1 ห้องเรยี น จานวนนกั เรยี น 41 คน ซงึ่ ได้ตวั อย่างมาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง

รปู แบบกำรวจิ ัย
ในการวจิ ัยคร้งั นี้เป็นการวจิ ัยเชงิ ทดลอง ผ้วู จิ ยั ใช้แบบแผนการทดลองแบบหนงึ่ กลมุ่ สอบก่อนและ

สอบหลัง (One Group Pre – test Post – test Design) (พวงรตั น์ ทวรี ตั น์ 2536 : 65) มีลกั ษณะการ
ทดลอง ดังตาราง 3.1

18

ตำรำง 3.1 แสดงแบบแผนการทดลอง One Group Pre – test Post – test Design

กลมุ่ Pre – test Treatment Post – test

ทดลอง T1 X T2

T1 หมายถงึ การทดสอบก่อนการทดลอง (Pre – test)
X หมายถงึ การทดลองโดยใชร้ ะบบการจัดการเรียนการสอนดว้ ย Google Classroom รายวิชา

การออกแบบและเทคโนโลยี
T2 หมายถงึ การทดสอบหลังการทดลอง (Post – test)

เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นกำรวจิ ยั
1. เคร่ืองมือที่ใช้ในการทดลอง คือ ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom

รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี
2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการ

ออกแบบและเทคโนโลยี และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 ต่อจดั กิจกรรมการ
เรยี นการสอนโดยใช้ Google classroom ในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี

กำรเก็บรวบรวมข้อมลู
ขั้นเตรียม
1. แนะนาวิธีการใช้ Google Classroom กับนักเรยี น โดยใหน้ กั เรยี นใช้ e-mail ทีท่ าง

โรงเรียนสร้างไว้ให้ของตัวเองที่เป็นของ @donschool.ac.th เพ่ือสร้างความเข้าใจในการใช้งาน Google
classroom ใหก้ ับนักเรียน

2. ผู้สอนทาการสร้างชั้นเรียนใน Google Classroom ในรายวิชาการออกแบบและ
เทคโนโลยี

3. ทาการเพิ่มผู้เรียนเข้าสู่ช้ันเรียนใน Google Classroom โดยเชิญเข้าห้องเรียนตาม และ
การเข้าใช้ Application Google Classroom ซงึ่ การเขา้ ห้องเรียนออนไลนผ์ า่ นรหัส x2feexx

4. ช้ีแจงวัตถุประสงค์แนะนาขั้นตอนการเรียนด้วยระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย
Google Classroom รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 และบทบาทของ
นกั เรยี นในการเรยี นรู้

19

ขนั้ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
1. นาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) ไปทดสอบกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบวัด

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ด้วยระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ Google
classroom สาหรบั นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 แบบทดสอบแบบปรนยั จานวน 30 ข้อ

2. ดาเนินการทดลองโดยการจดั กิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใชร้ ะบบจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ Google Classroom รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี ซึ่งแตล่ ะบทเรยี นมีการจัดการเรียนรูด้ ังน้ี

2.1 ทดสอบก่อนเรียนซ่ึงในแต่ละหน่วยจะต้องมีการทดสอบเพื่อจะได้ทราบ
ความสามารถหรอื ความรู้เดิมของนักเรยี นจานวน 10 ขอ้ โดยใหน้ ักเรยี นทากอ่ นทีจ่ ะเรียนเนอ้ื หาในหนว่ ยนน้ั

2.2 นาเข้าสู่บทเรียน เป็นการเตรียมตัวนักเรียนให้มีความพร้อมในการเตรียมตัวท่ี
จะเรียน พร้อมกับเป็นการชน้ี าใหน้ ักเรยี นได้ทราบจุดประสงค์การเรยี นรขู้ องบทเรยี น

2.3 เสนอเนอื้ หาหลกั ในแต่ละหนว่ ยโดยนาเสนอเนอื้ หาท่นี า่ สนใจครอบคลมุ ใน
เร่ืองทีต่ ้องการสอนให้เข้าใจงา่ ยเน้อื หามีความกระชับ เพ่อื ให้ผเู้ รียนเกิดความเพลดิ เพลินในการเรียนไม่นา่ เบอื่

2.4 ทาแบบฝึกหัดในบทเรียนออนไลน์เพื่อจะได้ทบทวนในเรื่องที่ได้เรียนมาให้มี
ความใจในเนื้อหาเพิ่มมากข้นึ ประกอบกับเป็นการสร้างลักษณะนิสัยการทบทวนเนอื้ หาและให้ขอ้ มูลย้อนกลับ
ทนั ทเี พอ่ื เสรมิ แรงทางบวกตอ่ การเรียนรขู้ องนักเรียนใหด้ ีข้นึ

2.5 สรุปเน้ือหา เพ่ือสรุปถึงประเด็นสาคัญในเรื่องท่ีเรียนรู้ของบทเรียนน้ัน ๆ กับ
นักเรียนให้มีความชัดเจนมากขน้ึ

2.6 ทดสอบหลงั เรียน ซึ่งแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียนในแต่ละบทใช้ขอ้ สอบ
ชดุ เดียวกนั แต่สลบั ขอ้ (เรียงขอ้ ใหม)่ ทง้ั นมี้ ีการแสดงคะแนนการสอบไวห้ ลงั จากการทาแบบทดสอบ

3. เมอ่ื สิ้นสุดการจดั กิจกรรมการเรียนร้ตู ามกาหนด ทาการทดสอบด้วยแบบวดั ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนรายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี แบบทดสอบแบบปรนัย 30 ข้อชดุ เดมิ

4. นาแบบประเมินความพงึ พอใจของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ต่อจดั กิจกรรมการเรียน
การสอนโดยใช้ Google Classroom ในรายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี ใหก้ ลุ่มตัวอยา่ งประเมนิ ความพึง
พอใจทีม่ ีต่อระบบจดั การเรียนการสอนออนไลน์ Google Classroom

5. นาผลการทดสอบมาตรวจใหค้ ะแนน แลว้ นาคะแนนมาวเิ คราะหโ์ ดยใชว้ ธิ ีการทางสถติ ิ
เพอื่ ทดสอบสมมติฐานต่อไป

กำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล
ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเพอ่ื ให้สอดคล้องกบั วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัยดว้ ยวธิ กี ารทางสถติ ิ ดังนี้
1. วิเคราะห์เปรยี บเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนก่อนและหลังเรยี น โดยใช้วธิ กี ารทางสถติ ิ

วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ยร้อยละ และค่า t–test แบบ Dependent
Sample โดยใช้ Microsoft Excel หลังจากวิเคราะห์ข้อมูลแล้ว ทาการแปลผลและนาเสนอในรูปตาราง
ประกอบความเรยี งแลว้ สรปุ ผลการวิจัยโดยการบรรยาย

20

2. วเิ คราะห์คา่ เฉล่ียแบบประเมินความพงึ พอใจ ของนักเรยี นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ตอ่ การจดั
กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ท่ีใชว้ ิธีการส่ง
งานผ่านระบบ Google Classroom

สถิตทิ ใี่ ชใ้ นกำรวิเครำะห์ขอ้ มูล
1. สถติ ิทใ่ี ช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มูล
1.1 คา่ ร้อยละ (Percentage) โดยใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545, หน้า 102-105)

เม่อื P แทน ร้อยละ
f แทน ความถี่ทต่ี อ้ งการแปลงเปน็ ร้อยละ
N แทน จานวนคะแนนในกลุ่ม

1.2 ค่าเฉลีย่ (Mean) โดยใช้สูตรดังน้ี (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2545, หนา้ 105)

เมื่อ X แทน คา่ เฉลี่ย
X แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดในกลมุ่
N แทน จานวนคะแนนในกลุ่ม

1.3 ค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใชส้ ูตรดงั นี้ (บุญชม ศรีสะอาด,
2545, หน้า 106-108)

เมอื่ S.D. แทน สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
X แทน คะแนนแตล่ ะตวั
 แทน ผลรวม
n แทน จานวนกลุ่มตัวอย่าง

21

2. สถิติเพื่อทดสอบสมมุติฐานเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน รายวิชาการ
ออกแบบและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ใช้ t – test แบบ Dependent Sample (ล้วน สายยศ และ
อังคณา สายยศ. 2536 : 104)

เมอื่ t แทน คา่ สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการพิจารณา
D แทน ความแตกตา่ งของคะแนนแต่ละคู่
D แทน ผลบวกความแตกต่างของคะแนนแต่ละคู่
D2 แทน ความแตกตา่ งของคะแนนแตล่ ะคูย่ กกาลังสอง
D2 แทน ผลบวกความแตกต่างของคะแนนแตล่ ะคยู่ กกาลงั สอง
N แทน จานวนกลุ่มตัวอยา่ ง หรอื จานวนค่คู ะแนน
df แทน ชนั้ แห่งความเปน็ อสิ ระ

22

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่อื พัฒนาห้องเรียนออนไลน์และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ระหว่างก่อนเรียนและหลงั เรียน และศกึ ษาความพงึ พอใจของของนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ท่ีมตี ่อต่อการ
จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี เพ่ือให้การ
เสนอผลการศึกษาเกดิ ความเขา้ ใจตรงกนั ผู้วิจยั ขอนาเสนอผลการศกึ ษาดงั น้ี

1. สัญลกั ษณ์ทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล
2. ลาดบั ข้นั ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
3. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู

สญั ลักษณ์ทีใ่ ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
เพอื่ ให้เกดิ ความเขา้ ใจในการแปลความหมายและการเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ไดถ้ กู ต้อง ผู้ศึกษา

จึงไดก้ าหนดความหมายของสญั ลักษณ์ทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล ดังตอ่ ไปน้ี
แทน คา่ เฉลยี่ คะแนนกล่มุ ตวั อยา่ ง

S.D. แทน คา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
t แทน คา่ สถิติที่ใชเ้ ปรยี บเทยี บค่าวกิ ฤตเพอ่ื ทราบความมนี ยั สาคัญ
df แทน ช้ันแหง่ ความเปน็ อิสระ (Degrees of Freedom)
SD แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานรวมคะแนนกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น
P แทน ความนา่ จะเปน็
** แทน การมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดับ .01

ลาดบั ข้นั ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู
การวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลความหมายข้อมูลเกี่ยวกับการใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบการ

จัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4
ผู้วจิ ัยได้แบง่ การวิเคราะห์และการแปลความหมายข้อมลู ออกเป็น 3 ขน้ั ตอนดงั นี้

ตอนท่ี 1 การหาประสทิ ธิภาพของบทเรยี นออนไลน์ รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใชร้ ะบบ
การจดั การเรียนการสอนดว้ ย Google Classroom สาหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ให้มีประสทิ ธภิ าพ
ตามเกณฑ์ E1/E2 กบั เกณฑม์ าตรฐานทีต่ ้ังไว้ ตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80

ตอนที่ 2 ผลการเปรยี บเทยี บคะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรยี นที่
เรยี นโดยใช้บทเรียนเรียนออนไลน์ รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใช้ระบบการจดั การเรียนการสอน
ด้วย Google Classroom สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4

ตอนที่ 3 ผลการศกึ ษาความพึงพอใจของนกั เรยี นท่มี ตี อ่ การจัดการเรยี นการสอน โดยใช้ระบบการ
จัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom สาหรับนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4

23

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
ตอนที่ 1 การหาประสทิ ธิภาพของบทเรียนออนไลน์ รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใช้

ระบบการจดั การเรยี นการสอนด้วย Google Classroom สาหรับนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ใหม้ ี
ประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ E1/E2 กับเกณฑ์มาตรฐานทตี่ ัง้ ไว้ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ปรากฏผลดงั น้ี
ตาราง 4.1 ค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 ตัวแรกของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนท่ีได้จากการทา
แบบทดสอบหลงั เรียนของบทเรยี นออนไลน์ จานวน 3 บทเรียน

คนท่ี คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนของบทเรยี นออนไลน์ รวม 30 คะแนน
บทท1่ี บทท่ี2 บทท3ี่ (E1)

1 7 6 6 19

2 6 7 8 21

3 8 6 9 23

4 9 9 9 27

5 7 7 8 22

6 6 9 8 23

7 8 6 8 22

8 7 8 8 23

9 6 7 8 21

10 6 6 7 19

11 6 8 7 21

12 8 8 7 23

13 10 8 10 28

14 9 6 10 25

15 8 10 10 28

16 9 7 9 25

17 10 10 8 28

18 9 8 8 25

19 6 7 10 23

20 9 9 7 25

21 8 8 8 24

22 7 10 10 27

23 9 7 10 26

24

คนที่ คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนของบทเรียนออนไลน์ รวม 30 คะแนน
(E1)
บทท่ี 1 บทท่ี 2 บทที่ 3

24 8 8 8 24

25 8 10 10 28

26 8 8 10 26

27 7 10 9 26

28 9 10 9 28

29 7 8 7 22

30 10 9 9 28

31 9 10 9 28

32 9 10 9 28

33 10 10 7 27

34 10 9 8 27

35 6 7 8 21

36 9 10 9 28

37 8 8 9 25

38 8 9 8 25

39 9 10 8 27

40 10 8 9 27

41 7 8 10 25

รวม 330 339 349 1018

เฉล่ยี 8.05 8.27 8.51 24.83

รอ้ ยละ 80.49 82.68 85.12 82.76

SD 1.31 1.36 1.08 2.67

จากตาราง 4.1 พบว่า คะแนนเฉล่ียของแบบทดสอบหลังเรียนบทเรียนออนไลน์ รายวิชาการ
ออกแบบและเทคโนโลยี โดยใชร้ ะบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 4 มีรอ้ ยละค่าเฉลีย่ อย่รู ะหว่าง 80.49 ถึง 85.12 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน อย่รู ะหวา่ ง 1.08
ถึง 1.36 โดยรวมมีคะแนนเฉลี่ย 24.83 คิดเป็นร้อยละ 82.76 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.67 ซึ่ง
จะเหน็ ได้วา่ ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ E1 ทีก่ าหนดผา่ นไว้ 80 มีค่าเทา่ กบั 82.76

25

ตาราง 4.2 คา่ ประสทิ ธิภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80 ตวั แรก (E1) ของคะแนนเฉลย่ี ของนักเรยี นท่ีไดจ้ ากการ

ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ของบทเรียนออนไลน์ รายวิชาการออกแบบและ

เทคโนโลยี โดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

ปที ี่ 4

คนท่ี คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี นของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น (E2)

(30 คะแนน) รอ้ ยละ

1 28 93.33

2 29 96.67

3 26 86.67

4 24 80.00

5 23 76.67

6 20 66.67

7 27 90.00

8 23 76.67

9 26 86.67

10 22 73.33

11 20 66.67

12 24 80.00
13 27 90.00
14 24 80.00

15 26 86.67

16 23 76.67

17 25 83.33

18 26 86.67
19 23 76.67
20 25 83.33

21 24 80.00

22 27 90.00

23 25 83.33

24 26 86.67

25 27 90.00

26 23 76.67

26

คนท่ี คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี นของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (E2)

(30 คะแนน) ร้อยละ

27 24 80.00
83.33
28 25 73.33
70.00
29 22 80.00
86.67
30 21 83.33
73.33
31 24 76.67
80.00
32 26 73.33
86.67
33 25 83.33
80.00
34 22 76.67

35 23

36 24
37 22
38 26
39 25
40 24
41 23

รวม 999

เฉลย่ี 24.37

รอ้ ยละ 81.22

SD 2.03

จากตาราง 4.2 พบว่า คะแนนเฉล่ียของนักเรียนท่ีได้จาการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
หลังเรียน รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google
Classroom สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีร้อยละค่าเฉล่ียเท่ากับ 81.22 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 2.03 ซง่ึ จะเห็นไดว้ ่าประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ E2 ทก่ี าหนดผา่ นไว้ 80 มีค่าเทา่ กบั 81.22

27

ตาราง 4.3 ผลการหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน E1/E2 กับเกณฑ์มาตรฐานท่ีต้ังไว้ ตามเกณฑ์
มาตรฐาน 80/80 ของบทเรียนออนไลน์ รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใช้ระบบการจัดการเรยี น
การสอนดว้ ย Google Classroom สาหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4

คะแนนเตม็ S.D. (n=41)
คดิ เป็นรอ้ ยละ
คะแนนการทดสอบหลังเรยี นของ 30 24.83 2.67
บทเรยี นออนไลน์ 82.76
30 24.37 2.03
คะแนนวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 81.22
(หลงั เรียน)

จากตาราง 4.3 พบว่า การสร้างบทเรียนออนไลน์ รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใชร้ ะบบ
การจัดการเรยี นการสอนดว้ ย Google Classroom สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 คะแนนการทดสอบ
หลังเรียนของบทเรียนออนไลน์ คิดเป็นร้อยละ 82.76 และคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน คิด
เป็นร้อยละ 81.22 แสดงให้เห็นวา่ บทเรียนออนไลน์ รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใช้ระบบการ
จัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 จึงมีประสิทธิภาพตาม
เกณฑ์ E1 มคี ่าเท่ากบั 82.76 E2 มีคา่ เทา่ กับ 81.22 ซึง่ สูงกวา่ เกณฑ์ท่กี าหนดไว้ 80/80

ตอนท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอ่ นเรียนและหลงั เรียนของนักเรียนท่ี
เรียนโดยใช้บทเรียนเรียนออนไลน์ รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใชร้ ะบบการจัดการเรียนการสอน
ด้วย Google Classroom สาหรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ผวู้ จิ ัยวิเคราะหข์ ้อมลู ดงั นี้

ตาราง 4.4 ผลคะแนนกอ่ นเรยี นและหลงั เรียนของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นโดยใชบ้ ทเรียน

ออนไลน์ รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใชร้ ะบบการจัดการเรียนการสอนดว้ ย Google Classroom

สาหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4

คนท่ี กอ่ นเรียน หลงั เรยี น คนที่ กอ่ นเรียน หลงั เรียน
(30 คะแนน) (30 คะแนน) (30 คะแนน) (30 คะแนน)

1 13 28 22 12 27

2 15 29 23 16 25

3 16 26 24 15 26

4 16 24 25 15 27

5 16 23 26 16 23

6 15 20 27 16 24

7 15 27 28 16 25

28

คนที่ กอ่ นเรียน หลังเรยี น คนที่ ก่อนเรียน หลงั เรียน
(30 คะแนน) (30 คะแนน) (30 คะแนน) (30 คะแนน)

8 15 23 29 14 22
26
9 16 22 30 15 21
20
10 17 24 31 18 24
27
11 18 24 32 17 26
26
12 16 23 33 14 25
25
13 16 26 34 12 22
23
14 16 25 35 18 23
24
15 16 36 13 24
37 16 22
16 15 38 14 26
39 13 25
17 19 40 16 24
41 16 23
18 18

19 10

20 15

21 17

ตาราง 4.5 ผลการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นก่อนเรยี นและหลงั เรยี นของนักเรยี นท่ีเรยี นโดยใช้
บทเรียนออนไลน์ รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google
Classroom สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4

กลุ่ม n S.D. df **t p
กอ่ นเรยี น 41 15.41 1.78 1.180 20.02 0.000
หลงั เรียน 41 24.37 2.03

จากตาราง 4.5 พบวา่ การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนกั เรียนท่ี
เรียนโดยใช้บทเรยี นออนไลน์ รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย
Google Classroom สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 มีคะแนนก่อนเรียนเฉล่ีย 15.41 ส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน 1.78 และมีคะแนนหลังเรียนเฉล่ีย 24.37 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 2.03 ซึ่งจะเห็นได้ว่าคะแนน
หลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .01

29

ตอนที่ 3 ผลการศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรียนทมี่ ีต่อการจดั การเรียนการสอน โดยใช้ระบบการ
จัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom สาหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4

ตาราง 4.6 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ่ การจัดการเรียนการสอน โดยใชร้ ะบบการจัดการเรียนการสอน
ดว้ ย Google Classroom สาหรบั นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4

รายการประเมิน S.D. ระดบั คณุ ภาพ
ด้านการจดั การเรยี นการสอน
4.20 0.63 มาก
1. ชว่ ยให้บรรลเุ ป้าหมายของการเรียน 4.30 0.67 มาก
2. ช่วยสง่ เสรมิ ทกั ษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4.10 0.74 มาก
3. ตัวอย่างที่ใชอ้ ธบิ ายสอดคลอ้ งกับบทเรยี น 4.10 0.74 มาก
4. แบบฝกึ หดั หลากหลายและสอดคล้องกบั บทเรยี น 4.10 0.57 มาก
5. ช่วยใหม้ ีความกระตอื รอื ร้นในการเรียนมากขึน้ 4.30 0.67 มาก
6. เน้อื หาเหมาะสมกับการนาเสนอ 4.30 0.82 มาก
7. ช่วยให้เข้าใจบทเรยี น 4.30 0.67 มาก
8. กิจกรรมการเรยี นช่วยใหเ้ ข้าใจบทเรียน 4.60 0.52 มากทส่ี ุด
9. ช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน 4.40 0.52 มาก
10. ช่วยให้มีส่วนรว่ มและการแสดงความคิดเหน็
4.27 0.16 มาก
ค่าเฉลย่ี รวม

จากตาราง 4.6 พบวา่ ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ด้านการจดั การเรยี นการสอนโดย
ใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom ในภาพรวมพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.27 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด 1
ขอ้ ได้แก่ ชว่ ยให้ประหยัดเวลาในการเรียน มคี ่าเฉล่ีย 4.60 สว่ นข้ออนื่ ๆ อยใู่ นระดับมาก ได้แก่ ช่วยใหม้ สี ว่ น
ร่วมและการแสดงความคิดเห็น มีค่าเฉลี่ย 4.40 ช่วยส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีค่าเฉล่ีย 4.30
เนื้อหาเหมาะสมกับการนาเสนอ มีค่าเฉลี่ย 4.30 ช่วยให้เข้าใจบทเรียน มีค่าเฉล่ีย 4.30 กิจกรรมการเรียน
ช่วยให้เข้าใจบทเรียน มีค่าเฉล่ีย 4.30 ช่วยให้บรรลุเป้าหมายของการเรียน มีค่าเฉลี่ย 4.20 ตัวอย่างท่ีใช้
อธิบายสอดคล้องกับบทเรียน มีค่าเฉล่ีย 4.10 แบบฝึกหัดหลากหลายและสอดคล้องกับบทเรียน มีค่าเฉลี่ย
4.10 และช่วยใหม้ ีความกระตือรอื รน้ ในการเรยี นมากขึ้น มีค่าเฉลีย่ 4.10 ตามลาดบั

30

บทที่ 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

การศึกษาครัง้ นี้ เปน็ การศึกษาเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ Google Classroom รายวิชาการ
ออกแบบและเทคโนโลยี และศึกษาความพึงพอใจของของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อต่อการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ที่มี
ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 ซึ่งมีขั้นตอนการศึกษาและผลของการศกึ ษา ดงั น้ี

สรุปผลการศึกษา
1. ห้องเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom รายวิชาการ

ออกแบบและเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพ 82.76/81.22 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ทีต่ ง้ั ไว้
2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนโดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google

Classroom รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 คะแนนเฉล่ียหลังเรียนสูงกว่าก่อน
เรยี นอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดบั .01

3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนด้วย Google
Classroom รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง 2560) นักเรียนมีความพึงพอใจในระดบั มากในการจัดการเรียน
การสอนโดยใช้ระบบการจดั การเรยี นการสอนด้วย Google Classroom

อภปิ รายผล
ผลการศึกษาพบว่าการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใช้ Google

Classroom พบว่านักเรียนสามารถเรียนรู้เน้ือหาในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ได้ด้วยตนเอง
นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามที่ต้องการ สามารถพูดคุยและส่งงานโดยไม่เฉพาะภายในคาบเรียนเท่านั้น
สะดวกและสามารถกลับมาย้อยดูหรอื ศึกษาเพม่ิ เตมิ ได้ และสามารถอภิปรายผลไดด้ งั น้ี

1. การสอนโดยใชร้ ะบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ Google classroom มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี มคี ่าคะแนนผ่านเกณฑ์ประเมินทุกคน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 จัดการเรียน
การสอนออนไลน์ Google classroom สามารถพัฒนาการเรียนการสอนและทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
สูงข้ึน ซ่ึงสอดคล้องกับผลวิจัยการใช้ Google Classroom คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา พัฒนา
บทเรยี นออนไลน์ วิชาภาษาจนี กลาง เรือ่ ง พินอนิ ดว้ ย Google classroom สาหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปี
ที่ 3 พบว่าพบว่า 1) การหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ พบว่า ค่าประสิทธิภาพของบทเรียนเท่ากับ
90.25/95.00 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง พินอิน ของผู้เรียนท่ีเรียนจากบทเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน (Post-test) เท่ากับ 90.25 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด เท่ากับร้อยละ 80
และ 3) ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อบทเรยี นออนไลน์ วิชาภาษาจีนกลาง เรื่อง พินอิน อยู่ในระดับ
พอใจมากทส่ี ุด

31

2. ผลการศกึ ษาความพึงพอใจของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีมีตอ่ ระบบจดั การเรยี นการสอนโดย
ใช้ Google Classroom ในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( ̅=
4.27, S.D. = 0.16) ซ่ึงสอดคล้องกบั งานวจิ ัยของพรศกั ด์ิ หอมสุวรรณและคณะ (2560) ท่ีศึกษาระดบั ความ
พึงพอใจระบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่าน Google Classroom ภายในวิทยาลัยเทคนิค
อุตสาหกรรมยานยนตก์ ารวิจยั ครงั้ นี้มี วัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาระบบการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลนข์ อง
นกั ศกึ ษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ผ่าน Google Classroom เพอื่ หาระดับความพงึ พอใจที่
มีต่อการใช้งานระบบการจัดการเรียนการสอนผ่าน Google Classroom ท้ัง 3 บทบาท ประกอบด้วย ผเู้ รียน
จานวน 50 คน ผ้สู อนจานวน 10 ท่าน และผบู้ ริหาร 5 ทา่ น โดยใช้เครือ่ งมอื ในการวจิ ัยแบบประเมนิ ความพึง
พอใจระบบการจัดการเรียน การสอนแบบออนไลน์ผ่าน Google Classroom สถติ ที่ใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล
ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการ
สอนผ่าน Google Classroom ในระดับมาก (x = 4.32, S.D.= 0.63) ผู้สอนมีความพึงพอใจในการจัดการ
เรียนการสอนผ่าน Google Classroom ในระดบั มาก (x = 4.61, S.D.= 0.55) และผบู้ ริหารมีความพึงพอใจ
ในการจัดการเรยี นการสอนผา่ น Google Classroom ในระดบั มาก (x = 4.27, S.D.= 0.65)

จากการศึกษาดังกล่าวข้างต้น กล่าวโดยสรุปได้ว่า Google classroom เป็นบริการที่ผู้สอนสามารถ
นามาใช้จัดการเรยี นรู้ โดยผู้สอนควรออกแบบการเรียนการสอนให้สอดคลอ้ งกับสภาพห้องเรียนปกติ บริการ
ของ Google Classroom ทาให้เรียนรู้ทุกที่ทุกเวลาตามต้องการ ผู้เรียนจึงพอใจท่ีจะเรียนรู้ สามารถสร้าง
ช้ินงาน ทาการบ้านหรือติดตามงาน ถึงแม้บริการจะอานวยสะดวกและมีข้อดีหลายประการ การเรียนในช้ัน
เรียนยังเป็นส่ิงจาเป็นที่จะต้องมีครูควบคู่กันไป เพราะเทคโนโลยีไม่สามารถทดแทนครูผู้สอนได้ท้ังหมด
โดยเฉพาะเร่ืองของคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

ขอ้ เสนอแนะ
จากผลการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะซ่ึงอาจเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้และการ

ศกึ ษาวจิ ัยดังนี้
1. ข้อเสนอแนะจากผลวิจยั
1.1 Google Classroom เป็น Application ที่ง่ายต่อการใช้งานเมนูไม่ยุ่งยากรองรับได้

หลากหลายอุปกรณ์ และยังช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ที่ไม่จากัดว่าจะต้องอยู่เพียงแต่ในห้องเรียนเท่านั้นทาให้
นักเรียนสามารถใช้เวลาว่างเข้าไปทบทวนหรือศึกษาได้ด้วยตนเองจึงเหมาะสาหรับท่ีจะเป็นส่ือการเรียนการ
สอนทจี่ ะช่วยยกระดับผลสัมฤทธข์ิ องนกั เรียนได้

1.2 ผู้สอนควรมีการเตรียมความพร้อมในเร่ืองของอุปกรณ์เทคโนโลยีและระบบอินเทอร์เน็ตให้
ผู้เรียนสามารถเข้าไปเรียนรู้บทเรียนออนไลน์ได้อย่างต่อเนื่องเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในบทเรียนและไม่
รู้สกึ เบือ่ เม่อื ระบบอินเตอรเ์ น็ตไม่เสถียร

32

2. ข้อเสนอแนะเพ่ือวจิ ัยครัง้ ต่อไป
2.1 การพัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชาการออกแบบและเทคโนโลยี โดยใช้ระบบการจัดการเรียน

การสอนด้วย Google Classroom มีข้อจากัดเรื่องของอุปกรณ์เทคโนโลยีและระบบการทางานของ
อินเตอรเ์ นต็ เมื่อระบบอนิ เตอร์เน็ตของครแู ละนักเรียนไม่เสถียรจะทาให้ไม่สามารถเรยี นรู้บทเรียนออนไลน์ได้
ซ่ึงนอกจากการทาวจิ ัยจะเนน้ การนาเทคโนโลยีไปบูรณาการกับศาสตร์ต่าง ๆ แล้วก็ควรจะนาไปออกแบบการ
เรยี นการสอนในรายวชิ าอืน่ ด้วย

2.2 ควรทาการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอน
ด้วย Google Classroom เนื่องจากพบวา่ นักเรียนยังมีความพึงพอใจในการเรียนด้วยบทเรยี นออนไลนไ์ ม่มาก
ท่สี ดุ

33

บรรณานกุ รม

จตุรภทั ร ประทมุ . (2559). แนวทางการจัดการเรียนการสอนด้วย GOOGLE CLASSROOM.
[ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : http://oho.ipst.ac.th/google-classroom-learningapproach/ (วันที่
คน้ ขอ้ มลู : 20 พฤศจกิ ายน 2560).

ฉันท์ทิพย์ ลีลิตธรรม และพรเพญ็ เอกเอีย่ มวัฒนกลุ . (2558). Journal of Mass
Communication Technology, RMUTP Issue 1 Volume 1 January - June
2016. หนา้ 20-25.

ดวงพร อิมแสงจนั ทร์. (2554). การพัฒนาผลการเรียนรู้ เรอ่ื ง หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กบั การพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศและความสามารถในการแกป้ ัญหา ตามข้นั ตอนการ
จัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน ของนักเรยี นชันมธั ยมศึกษาปีที่ 5. สาขาวิชาการสอนสงั คม
ศกึ ษา, ภาควิชาหลกั สตู รและวิธสี อนบัณฑติ วิทยาลัย, มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.

นชิ าภา บุรกี าญจน.์ (2556). ผลการจดั การเรียนรวู้ ิชาสุขศึกษาโดยใช้แนวคิดแบบห้องเรยี นกลบั
ด้านท่มี ตี ่อความรบั ผิดชอบและผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี นมธั ยมศึกษา
ตอนต้น. สาขาวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ภาควิชาหลกั สูตรและการสอน คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

ภาสกร เรอื งรอง. (2558). การใช้เทคโนโลยี Google Apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียน
การสอน (The use of Google Apps in the development of innovative
Teaching). ภาควิชาเทคโนโลยแี ละสือ่ สารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พรศกั ดิ์ หอมสวุ รรณและคณะ (2560). ระดบั ความพงึ พอใจระบบการจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ผ่าน
กูเกล้ิ คลาสรมู ภายในวทิ ยาลัยเทคนิคอตุ สาหกรรมยานยนต.์ รายงานสืบเนือ่ งจากการประชุม
วชิ าการระดบั ชาติ ครั้งที่ 4 สถานบนั วจิ ัยมหาวิทยาลยั ราชภฎั กาแพงเพชร 22 ธนั วาคม 2560.
สืบค้นเมอ่ื 15 เมษายน 2563. จาก
https://research.kpru.ac.th/sac/fileconference/5152018-05-01.pdf

สาวติ รีสงิ หาดและคณะ (2561). ผลสมั ฤทธ์ิและความพงึ พอใจของนักศึกษาพยาบาลตอการจดั การเรียนการ
สอนผ่าน Google Classroom ในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล. วารสาร
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2561. สืบคน้ เมอื่ 15 เมษายน
2563. จาก http://www.ubu.ac.th/web/files_up/08f2018071111032473.pdf

สุจติ รา ยอดเสนห่ า. (2555). เสน้ ทางการพฒั นาห้องเรียนออนไลน์มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราช
มงคลธญั บรุ .ี รายงาน. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี

34

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ. (2553). พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ
พุทธศักราช 2542 และแกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบับที่ 3) พุทธศกั ราช 2553. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพค์ รุ สุ ภา ลาดพร้าว.

อพัชชา ช้างขวญั ยนื และทพิ รตั น์ สิทธวิ งศ์. (2559). การจัดการเรียนการสอนแบบหอ้ งเรียนกลบั
ดา้ นรว่ มกับการเรียนรู้แบบโครงงานรายวิชาคอมพิวเตอร์สารสนเทศขน้ั พื้นฐาน
สาหรบั นิสิตปรญิ ญาตร.ี นเรศวรวจิ ยั คร้ังท่ี 12: วิจยั และนวตั กรรมกับการพฒั นาประเทศ.
มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. หน้า 1344-1353.

อภริ ักษ์ ทลู ธรรม และอมุ าพร จนั โสภา. (2559). ความพงึ พอใจระบบบรกิ ารจัดการเรียนการสอน
แบบออนไลนม์ ูเดล้ิ และกูเกล้ิ คลาสรมู ในบทบาทของผสู้ อน (The Satisfaction
towards Learning Management System of Moodle and Google
Classroom in Teacher Role). การประชุมวิชาการ “มหาวิทยาลัยมหาสารคามวจิ ยั
คร้ังท่ี 12”. มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. 8-9 กนั ยายน 2559. หน้า 78-85.

Best, J. W. , & Kahn, J. V. (1993). Research in Education. 7 th ed. Boston : Allyn and
Bacon, 1993

Google Inc. (2014). Google Classroom. [Online]: Available from: URL
https://classroom.google.com/. (2017, Dec 15)

Morse, J. L. (1962). Acomparison of the results of achievement with programmed
learning and traditional classroom techniques in firstyear algebra at spring
branch junior highschool. Dissertation Abstracts, 23(5), 1559.

Risser, N. L. (1975). Development of an instrument to measure patient satisfaction with
nursesand nursingcare in primary care setting. Nursing Research, 24(1), 45-51.

Saylor, J. G., Alexander, W. M., & Lewis, A. J. (1981). Curriculum planning for better
teaching and learning (4 th ed.). New York: Holt.

Vroom, V. H. (1964). Management and motivation. London: Penguin Books.
Yang, C. C., Cheng, L. Y., & Yang, C. W. (2007). A study of implementing balanced

scorecard (BSC) in non-profit organizations: A case study of private hospital.
Human Systems Management, 24, 285-300.

35

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั การพัฒนาการเรยี นการสอนโดยใช้ Google
Classroom ในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ของนกั เรยี นระดบั ชั้น
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4

ภาคผนวก ข แบบประเมนิ ความพึงพอใจในการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้ Google
Classroom

ภาคผนวก ค ค่มู อื การใช้งาน Google Classroom

36

ภาคผนวก ก
เครื่องมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั การพัฒนาการเรียนการสอน
โดยใช้ Google Classroom ในรายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี

ของนักเรียนระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4

37

ห้องเรยี นออนไลนใ์ น Google Classroom นกั เรยี นระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบารุง

38

งานของชน้ั เรียนทมี่ อบหมาย

39

การส่งงานของนักเรยี นโดยใช้ Google Classroom

40

กลมุ่ ตวั อย่างท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา นักเรยี นระดับชนั้ นักเรยี นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4

41

ภาคผนวก ข
แบบประเมินความพงึ พอใจในการจดั การเรียนการสอน

โดยใช้ Google Classroom

42

แบบประเมนิ ความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Google Classroom
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

43

ส่วนท่ี 2 ความพงึ พอใจในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Google Classroom

44

ภาคผนวก ค
ค่มู ือการใชง้ าน Google Classroom