Dear All concerned แปล ว่า อะไร

เคล็ดลับในการเขียน E-mail เป็นภาษาอังกฤษ, เคล็ดลับในการเขียน E-mail เป็นภาษาอังกฤษ หมายถึง, เคล็ดลับในการเขียน E-mail เป็นภาษาอังกฤษ คือ, เคล็ดลับในการเขียน E-mail เป็นภาษาอังกฤษ ความหมาย, เคล็ดลับในการเขียน E-mail เป็นภาษาอังกฤษ คืออะไร

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

           คงไม่มีใครปฏิเสธว่า ปัจจุบัน e-mail ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของคนเราอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในยุคโลกาภิวัฒน์ที่มีการติดต่อสื่อสารข้ามประเทศกันเป็นว่าเล่น การเขียน e-mail ด้วยภาษากลางอย่างภาษาอังกฤษจึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่คนไทยส่วนใหญ่มักจะเขียน e-mail ตามความเคยชินของแต่ละคน โดยไม่ได้สนใจว่า ตนเองใช้ภาษาถูกต้องหรือไม่? หรือบ้างก็ใช้วิธีครูพักลักจำ คือ เมื่อเห็นรูปประโยคที่สละสลวยจาก e-mail ของเจ้าของภาษาก็จดจำมาประยุกต์ใช้กับการเขียน e-mail ของเรา ซึ่งเป็นวิธีที่ดีประโยคที่เจ้าของภาษานิยมใช้เขียน e-mail เพื่อให้คุณได้จดจำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ภาษาเขียนของคุณจะได้สละสลวย มีความเป็นมืออาชีพเวลาติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ

กรณีที่ไม่สามารถระบุชื่อผู้รับได้ คุณอาจจะใช้วลีว่า “To Whom It May Concern:” หรือ “Dear Sir or Madam:” ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยได้ว่า “เรียนท่านผู้ที่เกี่ยวข้อง” หรืออาจใช้ “Dear + ตำแหน่ง” ก็ได้ เช่น “Dear Sales Manager:”, “Dear Customer:” หรือจะละคำขึ้นต้นไปเลยก็ได้ แต่ห้ามใช้ “Dear + ชื่อบริษัท” เช่น “Dear X company:”

รูปแบบประโยคนี้ควรจำเพื่อนำไปใช้
“I am looking forward to + กิริยาเติม ing” หรือถ้าไม่เป็นทางการมากนักอาจจะใช้ “Looking forward to + กิริยาเติม ing” แปลเป็นไทยว่า “ฉันตั้งหน้าตั้งตารอที่จะ...” หรือถ้าคุณอยากลงท้ายด้วยการฝากความคิดถึง คุณอาจจะใช้คำว่า “Give my regards to…” หรือ “Best wishes to…” แต่ถ้าเป็นคนสนิทกันอาจลงท้ายแบบเป็นกันเองว่า “Speak to you soon” หรือ “See you soon” หรือ “Bye (for now)” หรือ “All the best” ก็ได้


การอ้างถึงการติดต่อครั้งก่อน (Previous Contact)
แบบเป็นทางการ (Formal)
- Thank you for your e-mail of …(ขอบคุณสำหรับ e-mail ของคุณเรื่อง…)
- Further to your last e-mail, …(อ้างถึง e-mail ล่าสุดของคุณ, ...)
- I apologize for not getting in contact with you before now. (ต้องขอโทษด้วยที่ไม่ได้ติดต่อคุณก่อนหน้านี้)

แบบไม่เป็นทางการ (Informal)
- Thanks for your e-mail. (ขอบใจสำหรับ e-mail ของคุณ)
- Re your e-mail, … (อ้างถึง e-mail ของคุณ, ...)
- Sorry I haven’t written for ages, but I’ve been really busy. (ขอโทษที่ไม่ได้เขียนหาคุณมานาน ฉันยุ่งจริงๆ)

จุดประสงค์ของการเขียน e-mail (Reason for Writing)
แบบเป็นทางการ (Formal)
- I am writing in connection with…หรือ I am writing with regard to…
(ฉันเขียนมาเกี่ยวกับ...)
- In reply to your e-mail, here are… (เพื่อตอบ e-mail ของคุณ, นี่คือ...)
- Your name was given to me by… (ฉันได้ชื่อของคุณมาจาก...)
- We would like to point out that… (เราอยากจะชี้แจงว่า...)

แบบไม่เป็นทางการ (Informal)
- Just a short note about…หรือ I’m writing about… (ฉันเขียนมาเกี่ยวกับ...)
- Here’s the … you wanted. (นี่คือ ... ที่คุณต้องการ)
- I got your name from… (ฉันได้ชื่อของคุณมาจาก...)
- Please note that… (ขอให้ทราบว่า...)

ให้ข้อมูล (Giving Information)
แบบเป็นทางการ (Formal)
- I’m writing to let you know that…(ฉันเขียนมาเพื่อให้คุณทราบว่า...)
- We are able to confirm that…(เราอยากจะยืนยันว่า...)
- I am delighted to tell you that…(ฉันดีใจที่จะบอกคุณว่า...)
- We regret to inform you that…(เราเสียใจที่จะแจ้งให้คุณทราบว่า...)

แบบไม่เป็นทางการ (Informal)
- Just a note to say… (แค่อยากจะบอกว่า...)
- We can confirm that… (เรายืนยันว่า...)
- Good news! (ข่าวดี!)
- Unfortunately, … (โชคไม่ดี,...)

เคล็ดลับในการเขียน E-mail เป็นภาษาอังกฤษ, เคล็ดลับในการเขียน E-mail เป็นภาษาอังกฤษ หมายถึง, เคล็ดลับในการเขียน E-mail เป็นภาษาอังกฤษ คือ, เคล็ดลับในการเขียน E-mail เป็นภาษาอังกฤษ ความหมาย, เคล็ดลับในการเขียน E-mail เป็นภาษาอังกฤษ คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

สำหรับการทำงาน ต้องได้เขียน E-mail ติดต่องานต่าง ๆ มากมาย

เราก็อยากจะให้ E-mail ของเราดูดี ดูเป็น professional (มืออาชีพ)

แอดมินขอเสนอ 4 อย่างที่จะมาช่วยให้ E-mail ของเราดูโปรขึ้นดังนี้ค่ะ 😀

  1. Greeting ทักทาย

ปกติเราอาจจะทักทายด้วยคำว่า Hello , Hi, Hey ได้ ถ้าเป็นการเขียน E-mail ถึงเพื่อน หรือคนสนิท

แต่หากเป็น E-mail เพื่อติดต่อในที่ทำงาน แนะนำให้เลือกใช้คำทักทายที่มีความเป็นทางการมากขึ้น

เช่น

Dear [First Name],  — ใช้ได้ทั่วไป สุภาพ ไม่ทางการจนเกินไป

Dear Ms./Mrs./Mr. [Last Name], — สุภาพและเป็นทางการมาก อาจจะใช้กับคนที่ไม่รู้จักมาก่อน

To whom it may concern, — ถึงผู้ที่เกี่ยวข้อง ใช้ในกรณีที่ส่ง E-mail ฉบับเดียวกันนี้ ไปถึงหลายคน
มีความจดหมายแจ้งให้ทราบ ไม่เจาะจง ไม่ personal

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

2. Introduction เกริ่นนำ

เปิดยังไง ให้ดูโปร ขอแบ่งเป็น 2 ส่วนด้วยกันนะคะ

———————————————–

2.1 Thank you ขอบคุณ

เหมือนการทักทาย พูดคุยกับผู้อ่านก่อน อาจจะพูดถึงเรื่องที่เคยคุยกันไว้ในอีเมลก่อนหน้านี้ก็ได้

ถ้าไม่มีการขอบคุณก่อน ก็ไม่ถือว่าผิดอะไรนะคะ แต่ถ้ามีแล้ว E-mail จะดูนุ่มนวลขึ้นค่ะ 😀

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

Thank you for …+ Noun หรือ  v.ing

เช่น

Thank you for your interest.

ขอบคุณสำหรับความสนใจ

Thank you for the information.

ขอบคุณสำหรับข้อมูล

Thank you for the update.

ขอบคุณสำหรับการอัพเดต

Thank you for your help with …

ขอบคุณสำหรับความช่วยเหลือของคุณ

Thank you for your cooperation in …

ขอบคุณสำหรับความร่วมมือ

Thank you for following up on …

ขอบคุณที่ช่วยตามเรื่องให้

Thank you for checking …

ขอบคุณที่ช่วยตรวจสอบ

Thank you for getting back to me …

ขอบคุณที่ติดต่อกลับมา

ดูเป็นคนน่ารัก มีมารยาทสุด ๆ ไปเลยค่ะ

———————————————–

2.2 Purpose บอกจุดประสงค์

ต้องการสื่อสารอะไรในการเขียนอีเมลครั้งนี้ก็ให้บอกไปเลยค่ะ

ถ้า E-mail ไม่ได้อยู่ในบรรยากาศของการขอบคุณ ก็สามารถข้ามข้อ 2.1 ขอบคุณ มาข้อ 2.2 บอกจุดประสงค์นี้ได้เลยค่ะ

แล้วนำไปปรับใช้ตามที่เหมาะสมได้เลยนะคะ 😀

และนี่คือตัวอย่างที่สามารถนำไปปรับใช้ได้ค่ะ

This is to …

(อีเมล) นี้เพื่อ …

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

I’m writing to …

ฉันเขียน (อีเมลหาคุณ) เพื่อ …

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

I’m writing regarding…

ฉันเขียน (อีเมลหาคุณ) เกี่ยวกับ …

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

I would like to …

ฉันต้องการที่จะ …

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

สำหรับใครที่เป็นชาวมินิมอล ขอคำเดียวเลย สั้น ๆ ใช้ง่าย

แอดมินแนะนำคำเหล่านี้ค่ะ

Regarding [PREP] แปลว่า เกี่ยวกับ, ในเรื่องของ, ว่าด้วย

Regarding +[topic], … [sentence] …

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

หรือจะเป็นคำเหล่านี้ ที่ใช้ได้เหมือนกันกับคำว่า Regarding ค่ะ

With regards to +[topic], … [sentence] …

Concerning +[topic], … [sentence] …

3. Conclusion สรุป

คือการย้ำอีกครั้งว่า ทั้งหมดที่เขียนมาใน E-mail นี้ เราต้องการสื่อสารอะไร

หรืออาจจะสรุปเนื้อหาให้ชัดเจนขึ้น ดัวอย่างเช่น …

I look forward to …

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

ส่วนนี้ต้องระวังนิดนึงนะคะ

To look forward to + v.ing

ต้องใช้กับ v.ing หรือคำนามนะคะ เพราะ to ทำหน้าที่เป็น Preposition ในวลีนี้ค่า

I look forward to …

I’m looking forward to …

I will look forward to …

Looking forward to …

ใช้ได้เหมือนกันทั้งหมดเลยค่ะ

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

Please …

ใช้ในกรณีที่เขียนบรรยายใน E-mail ค่อนข้างยาว เลยอยากจะสรุปสั้น ๆ ให้คนอ่านเข้าใจจุดประสงค์อีกที

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

กรณีที่เป็นการให้ข้อมูลเพิ่มเติม แล้วอยากทิ้งท้ายว่า ถ้าสงสัยอะไร ถ้ามาสอบถามมาได้เลยนะ

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

4. Sign off บอกลา

ถ้าสนิทกัน ก็สามารถใช้คำว่า Thanks again, See you soon!,  Cheers ได้ค่ะ

แต่ถ้าเป็นอีเมลที่เป็นทางการ แนะนำให้เลือกใช้คำที่ Formal ขึ้นมาหน่อย เช่น

Regards = ความเคารพนับถือ, ความหวังดี, ความนับถือ

เราสามารถใส่คำว่า Regards แล้วตามด้วยชื่อเลยก็ได้

ซึ่งสามารถใช้ได้ทั่วไป ไม่ทางการเกินไป

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

Your … (ด้วยความ…)

ค่อนข้างเป็นทางการมาก

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

Dear All concerned แปล ว่า อะไร

หรือ จะลาพร้อมไปกับ with ….

With best wishes, หรือ Best Wishes,

With many thanks and best wishes

เพียงแค่มี 4 อย่างนี้ ก็จะช่วยให้ E-mail ของทุกคนดูเป็นทางการ และดูโปรขึ้นมากเลยค่ะ

สุดท้ายนี้ การมีคำสวย ๆ ประโยคเด็ด ๆ ไปใช้ ถือเป็นสิ่งที่ดีมากเลยค่ะ
แต่จะดียิ่งกว่านั้นอีก ถ้าเราจัดเวลาฝึกฝนทั้ง ฟัง พูด อ่าน เขียน ในภาษาอังกฤษได้มากขึ้น
วันละนิดละหน่อย เพื่อให้ไม่ใช่แค่ e-mail ที่ดูโปร แต่เป็นภาษาอังกฤษของเราทั้งหมดดีขึ้นไปด้วยค่ะ

All the best & happy learning, คะน้า