ระบบไหลเวียนเลือด ขณะออกกำลัง กาย

การออกกำลังกาย มีมากมายหลากหลายรูปแบบ การจำกัดการไหลเวียนเลือดเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการฝึกที่มีความหนักอยู่ในระดับต่ำแต่สามารถกระตุ้นการปรับตัวของระบบต่างๆ ได้ เช่นเดียวกับการฝึกที่ความหนักระดับสูงโดยการฝึกแบบนี้จะทำร่วมกับการฝึกรูปแบบอื่นๆ เช่น แอโรบิก ออกกำลังกายด้วยแรงต้าน

หลักการในการออกกำลังกายรูปแบบนี้คือการนำสายรัดมารัดไว้ที่รยางค์ขาหรือแขนที่ใช้ในการ    ออกกำลังกาย โดยใช้สายรัดที่สามารถปรับความแน่นได้ เพื่อให้เกิดการคั่งค้างของเลือด ลดการไหลเวียนของเลือดที่เข้าสู่กล้ามเนื้อที่ทำงาน ลดการไหลกลับของเลือดดำ ทำให้การส่งออกซิเจนเข้ากล้ามเนื้อน้อยลง การกำจัดของเสียออกจากกล้ามเนื้อน้อยลงจนเกิดภาวะที่ไม่สมดุลของออกซิเจนในกล้ามเนื้อ ทำให้ร่างกายตอบสนองโดยการเพิ่มระบบไหลเวียนโลหิตเพิ่มมากขึ้นทำให้ร่างกายทำงานหนักขึ้นโดยใช้ความหนักในการออกกำลังกายที่ต่ำ ส่งผลให้

  • เกิดการสร้างกล้ามเนื้อเพิ่มมากขึ้น
  • ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเพิ่มมากขึ้น
  • เพิ่มสมรรถภาพทางการออกกำลังกายแบบใช้ออกซิเจนและแบบไม่ใช่ออกซิเจน
  • เกิดการสังเคราะห์โปรตีนมากขึ้นและลดการสลายโปรตีน
  • เพิ่มหลอดเลือดฝอยในกล้ามเนื้อ

ข้อดีของการฝึกแบบนี้คือช่วยลดความหนักในการฝึกลงซึ่งเป็นประโยชน์มากในการฝึกออกกำลังกายที่มีความหนักระดับสูง และสามารถนำไปปรับใช้ได้กับกลุ่มที่มีความเจ็บป่วยจนไม่สามารถออกกำลังกายได้ตามโปรแกรมที่ต้องการ เช่น ผู้ที่มีการบาดเจ็บหัวเข่าไม่สามารถออกกำลังกายหนักเพื่อเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อได้ หรือในกลุ่มนักกีฬาที่ต้องฝึกในลักษณะจำเพาะของกีฬานั้นๆ เช่น นักกีฬาว่ายน้ำ การออกกำลังกายรูปแบบนี้จึงช่วยแก้ปัญหาได้

ปัจจุบันมีรูปแบบการจำกัดการไหลเวียนเลือดที่แตกต่างกัน เช่น การเลือกขนาดของสายรัด แรงดันที่ใช้ในการจำกัดการไหลเวียนของเลือด และรายละเอียดการฝึกต่างๆ

ขั้นตอนการฝึก

  1. รัดสายรัดที่ส่วนต้นของกล้ามเนื้อมัดที่ต้องการฝึก เช่น ต้นแขน ต้นขา โดยระหว่างฝึกให้แบ่งช่วงรัดและคลายเพื่อป้องกันอาการปวดและเจ็บจากการถูกบีบรัด
  2. อุปกรณ์ที่ใช้การฝึกสามารถใช้เป็นยางยืด สายรัดคุมความดัน สายรัดธรรมดาได้ แตกต่างกันที่สายรัดบางรูปแบบจะสามารถปรับแรงดันได้แต่หากไม่มีตัววัดอาจใช้ความรู้สึกขณะถูกรัดแทน ความกว้างของสายรัดก็เป็นอีกปัจจัยในการควบคุมแรงดัน หากสายรัดเส้นใหญ่แรงที่กระทำต่อพื้นผิวจะน้อยกว่าการใช้สายรัดเส้นเล็กด้วยแรงที่เท่ากัน
  3. แรงดันที่ใช้ในการฝึกมีวิธีที่นิยมอยู่ 3 วิธีได้แก่
    • กำหนดจากขนาดเส้นรอบวงของรยางค์แขนหรือขาของแต่ละบุคคล
    • กำหนดจากความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว
    • กำหนดจากเปอร์เซ็นของการปิดกั้นการไหลเวียนเลือดแดงจากแรงดันของสายรัด

การฝึกการจำกัดการไหลเวียนเลือดสามารถเอาไปปรับใช้ได้กับการออกกำลังกายทำให้เกิดการพัฒนาขนาดและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อโดยใช้ความหนัก ระยะเวลา และความถี่ในการฝึกน้อยกว่าการฝึกรูปแบบเดิมเหมาะกับนำไปฝึกในกลุ่มที่มีข้อจำกัดเช่น ผู้สูงอายุ ผู้พิการ หรือผู้ที่ต้องการฟื้นฟูความแข็งแรงกล้ามเนื้อ

Light exercise is as effective as strenuous exercise by limiting blood flow.

exercise There are many forms. Blood flow restriction is another form of low-intensity training that can stimulate adaptation of the system, as well as high-intensity training. with other forms of training such as aerobics, resistance exercises

The principle of this exercise is to attach a strap to the leg or arm used for exercise by using a strap that can adjust the tightness. to cause blood congestion Reduced blood flow to working muscles reduce venous backflow This makes the delivery of oxygen into the muscles less. The removal of waste from the muscles is reduced until the condition of the oxygen imbalance in the muscles. Make the body respond by increasing the circulatory system, causing the body to work harder by using low intensity exercises, resulting in

Increased muscle building
Increased muscle strength
Improves aerobic and non-aerobic exercise performance
Increased protein synthesis and reduced protein breakdown
increase capillaries in muscles

 

เอกสารอ้างอิง

นภัสกร ชื่นศิริ.การประยุกต์ใช้การฝึกการจำกัดการไหลเวียนเลือดร่วมกับการออกกำลังกายแบบใช้แรงต้านและแอโรบิก.(2564).วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ.ปีที่ 22.ฉบับที่ 1.คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โดยพื้นฐานก็คล้าย ๆ กับในคนปกติ เพียงแต่ควรจะเน้นไปที่การออกกำลังกายในระดับปานกลาง เช่น
#การออกกำลังกายแอโรบิก : ใช้พลังกล้ามเนื้อทุกส่วนของร่างกายซึ่งในขณะที่กล้ามเนื้อของเราออกแรงนั้น จะทำให้มีการรับออกซิเจนเข้าไปในกระแสเลือด ส่งผลให้หัวใจเต้นแรงและเร็วขึ้น มีการสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายมากขึ้นด้วย
#การเดินเร็ว : เหมาะกับผู้ป่วยโรคหัวใจซึ่งอายุมากแล้ว เพราะจะไม่ทำให้ผู้ป่วยเหนื่อยจนเกินไป 
*ผู้สูงอายุที่มีการเดินเร็วสัปดาห์ละ 1-3 ชั่วโมง จะลดอัตราการเกิดโรคหัวใจได้ถึง 30 เปอร์เซ็นต์
#การวิ่ง : ให้ผลดีต่อหัวใจมากกว่าการเดิน เพราะช่วยให้กล้ามเนื้อหัวใจได้ออกแรงสูบฉีดเร็วกว่า ลดความเครียด และช่วยให้กล้ามเนื้อส่วนอื่นๆ แข็งแรงอีกด้วย
#การเล่นเทนนิส : ทำให้กล้ามเนื้อ และการเคลื่อนไหวแข็งแรง เมื่อมีการออกกำลังกายอย่างเต็มที่จะทำให้ระบบไหลเวียนเลือดในร่างกายดีขึ้น
#การว่ายน้ำ : ดีต่อสุขภาพหัวใจ เพราะจะทำให้กล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรง และมีความยืดหยุ่น
***ก่อนออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬาใด ๆ ผู้ป่วยทุกคนควรปรึกษาแพทย์และควรออกกำลังแต่พอเหมาะ 
ที่สำคัญ….ต้องไม่ลืมวอร์มร่างกาย 10-15 นาที ก่อนและหลังการออกกำลังกาย ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมากและควรทำทุกครั้ง
………
แน่นอนว่า การออกกำลังกายนั้น มีประโยชน์และดีสำหรับทุกคน 
#มนุษย์มีร่างกายที่ต้องดูแล แม้มันจะต้องเสื่อมตามกาลเวลา 
อย่างไรก็ตามเราสามารถอยู่กับร่างกายเราอย่างมีความสุขได้ ด้วยความแข็งแรง 
“ การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ “
.
******************************************************************
.

?ปรึกษาเรื่องโรคหัวใจ หรือ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ?ได้ตลอด 24 ชั่วโมง?

.

? ศูนย์หัวใจเซฟฮาร์ท-วัฒนา สาขาโรงพยาบาลนอร์ทอีสเทอร์นวัฒนา

? 065-135-2222 หรือ ? 042-219 888 ต่อ ศูนย์หัวใจ

? Line ID : @safeheartcenter

.

? ศูนย์หัวใจเซฟฮาร์ท สาขา โรงพยาบาลสมุทรสาคร

? 095-919-5835

  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

การออกกำลังกายมีผลอย่างไรต่อระบบไหลเวียนเลือด

1. หัวใจ การวิ่งออกกำลังกาย ช่วยระบบไหลเวียนโลหิตกล้ามเนื้อหัวใจ แข็งแรงขึ้น หลอดเลือดเเดงที่มาเลี้ยงหัวใจมีความยืดหยุ่นมากขึ้น ลดปัญหาการตีบตันที่ทำให้เกิดโรคหัวใจขาดเลือด

เมื่อเราออกกำลังกายเลือดจะมีแก๊สใดมากขึ้น

ขยายตัว เลือดหมุนเวียนได้เร็วขึ้น ทำ ให้มีอาการหน้าแดง ขณะเดียวกันต่อมเหงื่อมี การขับเหงื่อเพิ่มขึ้นเพื่อช่วยระบายความร้อน และกระบวนการเมแทบอลิซึมก็ทำ ให้เกิด แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด ร่างกายจึงต้องขับแก๊สนี้ออกโดยการหายใจแรงและถี่ ขึ้นเพื่อนำ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกายให้เร็วที่สุด

ขณะออกกำลังกายระบบหายใจมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

การออกกำลังกายแบบแอโรบิคร่างกายจะปรับตัวอย่างไร 1. ระบบการหายใจของร่างกายจะทำงานเร็วและแรงมากขึ้น ทำให้ต้องหายใจทางปากเพื่อดูดอากาศหรือออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายให้ได้มากที่สุด 2. หัวใจจะเต้นเร็วขึ้นเพื่อเร่งการส่งเลือดจากปอดที่เต็มไปด้วยออกซิเจนไปหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ในร่างกายให้

การออกกำลังกายวิธีใดเพิ่มความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิต

การออกกำลังกายแบบแอโรบิก คือ การออกกำลังกายด้วยความหนักเล็กน้อยถึงปานกลาง มากเพียงพอให้เกิดการกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิตด้วยกิจกรรมต่าง ๆ เช่น เดินเร็ว วิ่งเหยาะ ว่ายน้ำ ขี่จักรยาน เต้นแอโรบิค รวมไปถึงกิจกรรมอื่น ๆ ที่สามารถทำให้เกิดกระตุ้นมากเพียงพออย่างต่อเนื่อง เป็นต้น