ชุมนุมเจ้าพิมาย จังหวัดอะไร

ชุมนุมเจ้าพิมายนั้น มี กรมหมื่นเทพพิพิธ เป็นเจ้าเมือง กรมหมื่นเทพพิพิธ พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ผนวชในรัชสมัยพระเจ้าเอกทัศ แต่ต่อมาได้มีความผิดฐานคิดกบฏ จึงถูกเนรเทศออกไปอยู่ที่ลังกา และ เมื่อพระเจ้ามังระส่งกองทัพมาตีไทย กรมหมื่นเทพพิพิธได้ทราบว่าเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า จึงได้เดินทางกลับไทย เกลี้ยกล่อมผู้คนในเมืองนครราชสีมาให้สมัครเป็นพรรคพวกของตน และในที่สดก็ยึดเมืองนครราชสีมาได้

ต่อมา หลวงแพ่ง น้องพระยาราชสีมาได้ไปเกณฑ์พลจากเมืองพิมาย เพื่อไปตีเมืองนครราชสีมาเอาเมืองคืน ปรากฏว่ารบชนะ จึงจับกรมหมื่นเทพพิพิธได้ หลวงแพ่งต้องการที่จะประหารชีวิตกรมหมื่นเสีย แต่เจ้าพิมายมีความสงสารจึงขอชีวิตไว้ และขอนำกรมหมื่นเทพพิพิธไปคุมไว้ที่เมืองพิมาย แต่เจ้าพิมายจงรักภักดีต่อเจ้ากรุงศรีอยุธยามาก จึงยกกรมหมื่นเทพพิพิธขึ้นเป็นเจ้าเมืองพิมาย ส่วนตนนั้นได้ถูกแต่งตั้งให้เป็นเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ผู้สำเร็จราชการบ้านเมืองทั้งหมด หลังจากนั้น กรมหมื่นฯก็ได้กำจัดหลวงแพ่ง แล้วยึดเมืองนครราชสีมา และ หัวเมืองน้อยใหญ่ทั้งปวงมารวมกับพิมายทั้งหมด

ชุมนุมเจ้าพิมาย จังหวัดอะไร

หลังจากการสถาปนากรุงธนบุรีสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีมีพระบัญชาให้ พระราชวริน (ทองด้วง) และพระมหามนตรี (บุญมา) ยกทัพไปตีชุมนุมพิมาย ภายหลังจากทรงหายจากการรบกับพิษณุโลก และ เป็นปีเดียวกันกับปีที่ยกทัพไปตีพิษณุโลก กองทัพพิมายมิสามารถต้านทานกองทัพกรุงธนบุรีได้จึงต้องแตกพ่ายไป ครั้นเมื่อกรมหมื่นเทพพิพิธทราบข่าว จึงรีบอพยพครอบครัวไปอยู่เวียงจันทน์ แต่ ขุนชนะ กรมการเมืองนครราชสีมาตามตัวไว้ได้ทัน จึงนำมาถวายสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระองค์ไม่ทรงปรารถนาที่จะสำเร็จโทษ แต่กรมหมื่นเทพพิพิธแสดงกิริยากระด้างกระเดื่อง ไม่ยอมอ่อนน้อม พระองค์จึงจำต้องสำเร็จโทษกรมหมื่นเทพพิพิธ  (สภาพจลาจลหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง. 2556: ออนไลน์)

การปราบเจ้าพิมาย

ใน พ.ศ. 2311 พระเจ้ากรุงธนบุรียกทัพไปเมืองนคาราชสีมาเพื่อจะปราบเจ้าพิมาย โปรดให้พระมหามนตรีและพระราชวรินทร์คุมกองทัพไปทางหนึ่งรบกับข้าศึกที่ด่านกระโทก พระเจ้ากรุงธนบุรีเสด็จยกทัพหลวงรบข้าศึกที่ด่านจอหอ กองทัพทั้งสองแสดงฝีมือในการรบจนได้ชัยชนะ นับว่าได้ขยายอาณาเขตไปจนถึงนครราชสีมาเจ้าพิมายหนี แต่กรมการเมืองนครราชสีมาจับตัวมาถวายได้ซึ่งหมายจะเลี้ยงเอาไว้ แต่เจ้าพิมายแสดงความกระด้างกระเดื่องไม่อ่อนน้อม เลยโปรดให้ประหารชีวิตเสียโปรดให้พระราชวรินทร์เลื่อนเป็น พระยาอภัยรณฤทธิ์โปรดให้พระมหามนตรีเลื่อนเป็น พระยาอนุชิตราชา (สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. 2556: ออนไลน์)

ปราบชุมนุมเจ้าพิมาย..สำเร็จเป็นชุมนุมแรก

หลังจากที่ปราบชุมนุมเจ้าพิษณุโลกไม่สำเร็จ และต้องบาดเจ็บกลับมาเมื่อทรงหายจากการประชวรก็ทรงเปลี่ยนพระทัยที่จะเลือก

ชุมนุมเจ้าพิมาย จังหวัดอะไร

ที่มา: http://school.obec.go.th/khokphochaisuksa/social/power2.html

ปราบชุมนุม ที่อ่อนที่สุดก่อน และเห็นว่าชุมนุมเจ้าพิมายน่าจะอ่อนแอที่สุด พระองค์จึงทรงยกทัพไปตีชุมนุมเจ้าพิมาย ที่นครราชสีมา
ในปีเดียวกันคือปี พ.ศ.2311 เมื่อตีพิมายได้สำเร็จ ได้ทรงเกลี้ยกล่อมให้เจ้าพิมายคือกรมหมื่นเทพพิพิธยอมอ่อนน้อมแต่โดยดีแต่เจ้าพิมายไม่ยอมอ่อนน้อม จึงรับสั่งให้เอาไปประหารชีวิต (สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. 2556: ออนไลน์)

ารรบพม่าที่บางกุ้ง

 

ชุมนุมเจ้าพิมาย จังหวัดอะไร

            พระเจ้ากรุงธนบุรี เห็นว่าการรวมเมืองไทยนั้น  ควรจะปราบชุมนุมเล็ก ๆ ก่อน  ชุมนุมที่จะไปปราบครั้งนี้คือชุมนุมเจ้าพิมาย  พระองค์จึงให้พระมหามนตรี กับพระราชวรินทรยกกำลังไปตีด่านกระโทก  ซึ่งทางฝ่ายเจ้าพิมายให้พระยาวรวงศาธิราชเป็นผู้รักษาด่านอยู่  ส่วนพระองค์ยกไปตีด่านจอหอ  ซึ่งมีพระยาศรีสุริยวงศ์เป็นผู้รักษาด่าน  ทั้งสองทัพตีได้ด้านทั้งสองในเวลาใกล้เคียงกัน  กรมหมื่นเทพพิพิธเห็นว่าจะสู้ไม่ได้ จึงเตรียมหนีไปกรุงศรีสัตนาคนหุต  แต่ถูกขุนชนะกรมการเมืองพิมายจับตัวไว้ได้เสียก่อน  แล้วนำตัวมาถวายพระเจ้ากรุงธนบุรี  ในตอนแรกพระเจ้ากรุงธนบุรีเห็นว่าเป็นโอรสกษัตริย์คิดจะเลี้ยงไว้  แต่กรมหมื่นเทพพิพิธมีขัตติยมานะ ไม่ยอมอ่อนน้อมด้วย  พระองค์จึงให้ประหารเสีย  แล้วตั้งให้ขุนชนะเป็นพระยาคำแหงสงคราม  ครองเมืองนครราชสีมาต่อ
เมื่อเลิกทัพกลับกรุงธนบุรีแล้ว   พระเจ้ากรุงธนบุรีจึงพระราชทานความดีความชอบแก่แม่ทัพนายกองทั้งหลาย ที่สำคัญตั้งพระราชวรินทร์เป็นพระยาอภัยรณฤทธิ์ และตั้งพระมหามนตรีเป็นพระยาอนุชิตราชา  ในตำแหน่งจางวางกรมตำรวจ ทั้ง 2 คน  (การรบพม่าที่บางกุ้ง. 2556: ออนไลน์)

พระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

 การตีชุมนุมพิษณุโลกไม่สำเร็จนั้น ทำให้พระเจ้ากรุงธนบุรีได้คติว่า การปราบชุมนุมใหญ่ก่อนนั้นมิใช่วิธีที่ดี ควรปราบชุมนุมเล็กๆ ก่อน ในบรรดาชุมนุมต่างๆ นั้น ชุมนุมพระเจ้าพิมายมีกำลังอ่อนแอที่สุด จึงควรยกทัพไปปราบก่อนชุมนุมก่อน หอหายประชวรเรียบร้อยแล้ว ทราบว่าพระเจ้าพิมายให้พระยาวรวงศ์ธิราช (ลูกคนเล็กของเจ้าพระยาศรีสุริวงศ์) เป็นแม่ทัพรักษาเขตแดนอยู่ที่ด่านกะโทกแห่งหนึ่ง และให้เจ้าพระยาศรีสุริวงศ์เป็นแม่ทัพรักษาเขตแดนอยู่ด่านจอหอแห่งหนึ่ง และทราบว่าเวลานั้นชุมนุมเจ้าพระฝางกับชุมนุมพิษณุโลกกำลังรบพุ่งกัน เห็นเป็นโอกาศเหมาะ จึงโปรดฯ ให้พระมหามนตรีและพระราชวรินทร์คุมกองทัพน้อยยกไปตีด่านกะโทก ส่วนพระเจ้ากรุงธนบุรีคุมกองทัพหลวงยกไปตีด่านจอหอ แล้วยกเลยไปตีชุมนุมเจ้าพิมายพระมหามนตรีและพระราชวรินทร์ตีด่านกะโทกแตก พระยาวรวงศธิราชถอยทัพหนีไปเมืองเสียมราฐ ฝ่ายกรมหมื่นเทพพิพิธเจ้าพิมายเมื่อเห็นจะสู้ไม่ได้ ก็พาพรรคพวกหนีเอาตัวรอดออกจากเมืองพิมายจะไปกรุงศรีสัตนาคนหุต แต่ขุนชนะชาวเมืองนครราชสีมาจับได้นำตัวมาถวายเจ้ากรุงธนบุรีฯ หมายจะชุบเลี้ยงไว้ แต่เจ้าพิมายแสดงกิริยากระด้างกระเดื่องโดยมีขัตติยมานะไม่ยอมอ่อนน้อม จึงตรัสสั่งให้เอาไปประหารชีวิตเสีย ทรงตั้งขุนชนะให้เป็นพระยากำแหงสงคราม ครองเมืองนครราชสีมาต่อไป แล้วเลิกยกทัพกลับกรุงธนบุรี ทรงตั้งให้พระราชวรินทร์เป็นพระยาอภัยรณฤทธิ์ และมหามนตรีเป็นพระยาอนุชิตราชา ผู้มีความชอบในสงคราม ตำแหน่งจางวางพระตำราจสองคน

บรรณานุกรม

  การรบพม่าที่บางกุ้ง. (2556). สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/king/taksin/taksin2.htm

สภาพจลาจลหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง. (2556). สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/สภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. (2556). สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://school.obec.go.th/khokphochaisuksa/social/power2.html

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. (2556). สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก 2http://mathayom.brr.ac.th/~usaa/link4-2.html

พระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (2556). สืบค้นเมื่อ 18กันยายน 2556, จาก http://www.baanjomyut.com/library/taksin/04.html

ชุมนุมเจ้าตากมีจังหวัดอะไรบ้าง

๑. ชุมนุมเจ้าพิมาย ๒. ชุมนุมเจ้าพระฝาง ๓. ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก ๔. ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช

ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลกตั้งอยู่ที่ใด

ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลกเป็นชุมนุมของขุนนางตามระบบจารีตของอาณาจักรอยุธยา ซึ่งเจ้าพระยาพิษณุโลก มีฐานะเป็นพระมหากษัตริย์ เป็น พระเจ้าพิษณุโลก ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก ถือเป็นชุมนุมหัวเมืองเหนือที่ใหญ่ที่สุด มีกำลังทหารมาก มีป้อมปราการที่แข็งแรง เป็นชุมนุมที่แข้มแข็งที่สุด ตั้งอยู่บนฝั่งลำน้ำน่าน มีอาณาเขตตั้งแต่เมืองพิชัย ...

ชุมนุมเจ้าพระฝางตั้งอยู่ที่ใด

"ตีเมืองสวางคบุรี" ซึ่งเป็นที่ตั้งของชุมนุมเจ้าพระฝาง ภาพจากโคลงภาพพระราชพงศาวดาร เชียนโดย หลวงฤทธิจักรกำจร ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เผยแพร่ วันอังคารที่ 7 กันยายน พ.ศ.2564.

ที่ตั้งของชุมนุมทั้ง 5 อยู่ที่ไหนบ้าง

1 ชุมนุมพระเจ้าตาก (สิน) 2 ชุมนุมเจ้าพระฝาง 3 ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก 4 ชุมนุมเจ้าพิมาย 5 ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช