พระพุทธศาสนาในประเทศเวียดนาม สรุป

พ.ศ 1827 พม่าพ่ายแพ้ให้แก่มอญ ในขณะที่กษัตริย์มอญขึ้นครองราชพระพุทธศาสนาเสื่อมโทรมมาก พระสงฆ์แบ่งออกเป็นหมู่คณะ 6 คณะ กระปฏิบัติธรรมถูกละเลย พระพุทธศาสนาเสื่อมเสียมาก จึงมีพระราชดำรัส ให้พระสงฆ์ 22 รูป ฆราวาส 22 คนเดินทางไปลังกา โดยมี  พระโมคคัลลานะเป็นหัวหน้า และได้รับการอุปสมบทใหม่ จึงทำให้พระพุทธศาสนาเริ่มกลับมารุ่งเรืองอีกครั้ง
  • พระเจ้ามินดงทรงอุปถัมภกในการสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 ณ เมืองมัณฑะเลย์
  • พ.ศ. 2429 พม่าตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษทำให้พระพุทธศาสนาเสื่อมลง แต่ชาวพม่าก็ยังคงศรัทธาในพระพุทธศาสนา
  • พ.ศ. 2491 พม่าได้รับเอกราชขากอังกฤษและอยู่ภายใต้การปกครองของนายอูนุ ซึ่งได้พยายามจัดการสังคายนาครั้ง 6 ขึ้น ( ฉัฏฐสังคายนา )ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2497 โดยมีพระธรรมโกศาจารย์ ( ท่านพุทธทาสภิกสุ ) จากประเทศไทยได้ไปร่วมแสดงปาฐกถาธรรมพิเศษเป็นภาษาอังกฤษ เรื่อง "ลักษณะที่น่าอัศจรรย์บงประการของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท"
  • คณะสงฆ์ของพม่าได้มีการจัดตั้ง "สมาคมพระพุทธศาสนาเถรวาทนานาชาติ" จัดประชุมครั้งแรกที่เมืองย่างกุ้ง และครั้งที่สองในเมืองสะกาย ประเทศเมียนม่า
  • พระสงฆ์ในพม่ามีบทบาททางการเมือง โดยมีการจัดตั้ง "ยุวสงฆ์แห่งพม่า" เพื่อดำเนินการเรียกร้องและต่อสู้อย่างสันติภาพเพื่อความยุติธรรมของพระพุทธศาสนา
  • กำรท ำสังคำยนำพระไตรปิฎก ครั้งที่ 6 นั้น มีพระเถระผู้เชี่ยวชำญพระไตรปิฎกจำกประเทศไทย   ศรีลังกา ลาว และกัมพูชา ไปร่วมในกำร สังคำยนำ 
  •  พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
  • มีประชากร 89 %เป็นชาวพุทธ
  •   การเผยแพร่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนีเซีย 

    • พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศอินโดนีเซียในช่วงพุทธศตวรรษที่ 3 
    • มีข้อสันนิษฐานว่าพระพุทธศาสนานิกายมหายาน เพราะมีหลักฐานส าคัญ คือ พระพิมพ์ดินดิบ และรูปพระโพธิสัตว
    • ราชวงศ์ไศเลนทร์แห่งศรีวิชัย ที่มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมด้านศาสนากับกษัตริย์ราชวงศ์ปาละ แห่งแคว้นเบงกอล ราชวงศ์ไศเลนทร์
    • พระพุทธศาสนาในอินโดนีเซียเริ่มเสื่อมลงเมื่ออาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมอ ำนาจ 
    • กระเด่นปาทา ประกาศห้ามเผยแผ่พระพุทธศาสนาในอาณาจักรของพระองค์  เพราะพระองค์มีศรัทธาเลื่อมใสในศาสนาอิสลามมาก 
    • ปัจจุบันศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาประจ ำชาติของอินโดนีเซีย
    • ปัจจุบันยังมีชาวอินโดนีเซียในแถบชวา สุมาตรา และเกาะบาหลี ที่ยังคงมีความศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา
    • พระวิหารบุโรพุทโธดแสดงให้เห็นว่าพระพุทธศาสนานิกายมหายานเคยเจริญรุ่งเรืองในประเทศอินโดนีเซียในสมัย อาณาจักรศรีวิชัยมาก่อน 
    • มีการจัดฉลองวันวิสาขบูชาเป็นเวลานานนับเดือน 
    • ประชากรที่นับถือมีเพียงน้อยละ 1 ในปัจจุบัน

      การเผยแพร่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศมาเลเซีย 

    • พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศมาเลเซีย เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 3 
    • นิกายเถรวาทเป็นนิกายแรกที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาในมาเลเซีย
    • ประชากรชาวพุทธส่วนใหญ่นับถือมหายาน
    • การนับถือของราชวงศ์ในประเทศ และบังคับประชาชนให้นับถือศาสนาอิสลาม คือสาเหตุส าคัญที่สุดที่ทำให้ศาสนาอิสลามเจริญรุ่งเรืองในประเทศมาเลเซียมากกว่าศาสนาพุทธ 
    •  พระพุทธศาสนาได้รับความกระทบกระเทือนในรัชสมัยของพระเจ้าปรเมศวร
    • สุลต่านมัลโมชาห์ สั่งทาลายศาสนสถาน พระพุทธรูป เทวรูปของพระพุทธศาสนา
    • นับถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจำชาติ
    • มีพุทธศาสนิกชนเพียงร้อยละ 19 
    • ปัจจุบันมีการนับถือ 2 นิกาย คือ มหายานกับเถรวาท

      การเผยแพร่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศสิงคโปร์

    • ได้รับการเผยแพร่ลักษณะเดียวกับมาเลเซีย 
    • นิกายที่ได้รับความนิยมมาก คือ นิกายมหายาน
    • มีการเผยแพร่พระพุทธศาสนาอย่างจริงจังเป็นอย่างมาก
    • มีการนำหลักธรรมที่ว่าด้วยเรื่องความมีเมตตามาใช้กันอย่างเคร่งครัด
    • มีประชากรนับถือพระพุทธศาสนาร้อย 42 ของทั้งหมด เนื่องจากมีความหลากหลายทางเชื้อชาติเเละวัฒธรรม
    • มีการจัดตั้งสมาคมต่างๆเพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนา เช่น สหภาพพุทธศาสนิกชน
    • มีวัดไทยที่สำคัญในสิงคโปร์ 2 วัด คือ วัดอานันทเมตยาราม และ วัดป่าเลไลยก์ เป็นศูนย์รวมใจของพุทธศาสนอกชนชาวพุทธ
    • สิงคโปร์มีสมาคมของชาวพุทธประมาณ 2,000 สมาคม
    • วัดฝ่ายนิกายเถรวาทที่ส ำคัญในสิงคโปร์ ได้แก่ วัดศรีลังการามายณะ ของศรีลังกา และวัดอานันทเมตยาราม ของไทย
    • องค์กรยุวพุทธแห่งสิงคโปร์ มีการแสดงพระธรรมเทศนา การแสดงปาฐกถา การอภิปรายธรรม การจัดพิธีกรรมทาง พระพุทธศาสนาใน โอกาส สำคัญ และการแปลคัมภีร์และเอกสารทางพระพุทธศาสนา 
    • การส่งเสริมด้านการปฏิบัติตามหลักธรรมและพิธีกรรมมีกิจการทางสาธารณกุศลให้ความช่วยเหลือผู้ยากไร้

      การเผยแพร่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศลาว 

    • มีการเผยแพร่ศาสนาเข้ามาในช่วงของเจ้าฟ้างงุ้มแห่งอาณาจักรล้านนา ซึ่งพระมเหสีของพระองค์ พระนางแก้วยอดฟ้า ซึ่งเดิม นับถือนิกายเถรวาท มาจากเมืองอินทปัตย์ มาพบเห็นการบูชาของลัทธิต่างๆ ในล้านนา จึงเกิดความไม่สบายพระทัย จึงทูลพระเจ้าฟ้างุ้มให้มีการเผยแพร่ศาสนาพุทธนิกายเถรวาท
    • ลาวมีประชากราส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาและได้ประกาศให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนา ประจำชติ 
    • การปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ของลาวได้ส่งผลกระทบต่อพระพุทธศาสนามาก มีการบังคับให้พระสงฆ์ทำไร่ ทำนาเยี่ยงบุคคลทั่วไป 
    • ในรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชพระพุทธศาสนาในลาวได้รับการอุปถัมภ์บำรุงเป็นอย่างดี แต่หลังจากสิ้นสุดสมัยนี้ไปแล้ว พระพุทธศาสนาก็ค่อย ๆ เสื่อมลง 
    • พุทธศาสนสถานที่สำคัญในลาวเกือบทั้งหมด ถูกสร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแทบทั้งหมด
    • ลาวได้รับอืทธิพลนิกายเถรวาทจากไทย
    • ในช่วงสงครามอินโดจีนลาวได้รับผลกระทบด้านศาสนาอย่างมาก เพราะ ขาดการทุนุบำรุงดูแลเอาใจใส่ แต่ประชาชนชาวลาวยังคงมีศรัทธาในศาสนา
    • รัฐบาลคอมมิวนิสต์ของลาวทำทุกวิถีทางเพื่อลดบทบทาของพระพุทธศาสนา
    • ในปี พ.ศ. 2530 จึงเริ่มมีการฟื้นฟูศาสนาอีกครั้งจากคอมมิวนิสต์
    • ประชากรร้อยละ 90 นับถือพระพุทธศาสนา
    • มีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน
    • พระพุทธศาสนาได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดี ทั้งในเรื่องของ หลักสูตรการสอนธรรม ซึ่งพระที่เรียนจบหลักสูตรจะได้เกียรติบัตรจากกระทรวงศึกษาธการและมีสิทธิได้รับขนานาม ว่า มหา
    • พรสงฆ์ส่วนใหญ่เป็นกำลังสำคัญที่จะไปพัฒนาพระพุทธศาสนาในประเทศลาวให้รุงเรืองยิ่งขึ้น
    • พระพุทธศาสนาในประเทศลาวมีความเจริญรุ่งเรืองเเละมั่นคง เนื่องจาก คนในประเทศลาวมีความเคารพและศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก


      การเผยแพร่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา 


    • พระพุทธศาสนาที่เข้ามาในอาณาจักรฟูนันของกัมพูชาในสมัยแรก ๆ คือนิกายเถรวาท โดยมี พระสงฆ์ชาวอินเดียนำมาเผยแผ่ อีกทั้งยังได้รับอิทธิพลจากจีนและอินเดียด้วย
    • พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ราชาของอาณาจักรเจนละ ที่ขึ้นมาเเทนอาณาจักรฟูนัน ได้ทำนุบำรุงเอาใจใส่พระพุทธศาสนาอย่างดี และได้มีการสร้างพระพุทธศาสนสถานขนาดใหญ่ซึ่งมีพระปรางค์น้อยใหญ่กว่า 50 องค์ เรียกว่า "ปราสาทบายน"
    • พะรพุทธศาสนาได้รับผลกระทบจากการสู้รบต่อต่างๆ ภายในประเทศ เช่น การเเย่งชิงสมบัติของกษัตริย์ หรือการก่อการร้ายของพวกเขมรแดง
    • ในช่วงที่เฮง สัมริน เป็นรัฐบาลของกัมพูชา พระพุทธศาสนาไม่ได้รับการฟื้นฟู อีกทั้ง ชยังมีนโยบายไม่ให้ประชาชนมีศาสนา มีการใช้วัดเป็นสถานตั้งกองทหาร ทำให้วัดตกเป็นเป้าหมายของผู้ก่อการร้าย
    • ในปัจจุบันพระพุทธศาสนาเริ่มถูกทำนุบำรุงให้ดีขึ้นในระดับหนึ่ง
    • ความเจริญรุ่งเรืองและความเสื่อมถอยของพระพุทธศาสนาในกัมพูชาขึ้นอยู่กับระบอบการเมือง และผู้นำประเทศ
    • มีประชากรร้อยละ 95 นับถือพระพุมธศาสนา
    • ปัจจุบันในกัมพูชาแบ่งเป็น 2 นิกาย ได้แก่ มหานิกาย และ ธรรมยุติกนิกาย 

      การเผยแพร่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศเวียดนาม

    • เวียดนามรับพระพุทธศาสนามาจากจีน เพราะเวียดนามเคยเป็นเมืองขึ้นของจีนมาก่อน 
    • พระพุทธศาสนาในเวียดนามที่มีคนนิยมนับถือมากคือนิกาย สุขาวดี 
    • ปัจจุบันความเสื่อมของพระพุทธศาสนาในประเทศเวียดนามเกิดจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศโดยใช้ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์