สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

  ระบบนิเวศประกอบด้วยโครงสร้าง  2  ชนิด  คือ       โครงสร้างทางกายภาพหรือสิ่งที่ไม่มีชีวิตในระบบนิเวศ (Abiotic  Factor  หรือ  Abiotic Component)       โครงสร้างทางชีวภาพหรือสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ  (Biotic  Factor  หรือ  Biotic Component)

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

โครงสร้างของระบบนิเวศทางกายภาพหรือส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิต
แสงเป็นแหล่งพลังงานที่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด  พืชรับพลังแสงมาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์แสง  ดิน  มีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตต่อพืชและสัตว์ เพราะเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย  และแหล่งอาหารของสิ่งมีชีวิต
แร่ธาตุหมายถึง เกลือแร่ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช และสัตว์ ในร่างกายของพืชและสัตว์จะมีสารประกอบพื้นฐาน คือ  คาร์บอน ออกซิเจน ไฮโดรเจน และไนโตรเจน  แร่ธาตุต่างๆ เหล่านี้จะมีการหมุนในระบบนิเวศจะผ่านทางร่างกายของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมโดยการกิน แก๊สในบรรยากาศซึ่งมีหลายชนิดแต่ที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิต ได้แก่  แก๊สออกซิเจน ซึ่งมีอยู่ในอากาศ  21 %  สิ่งมีชีวิตใช้สำหรับการหายใจซึ่งได้  จากการสังเคราะห์ของพืชสีเขียวต่างๆ  คาร์บอนไดออกไซด์ มีความสำคัญต่อกระบวนการสังเคราะห์แสงของพืช (หนูทิพย์  จำรัส.  2550)
อุณหภูมิ  เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตภายในระบบนิเวศ   สิ่งมีชีวิตในเขตร้อนจะมีช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสมที่  20 – 30  องศาเซลเซียส ส่วนสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในเขตหนาว จะมีช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสมที่   0 -  5  องศาเซลเซียส  ความชื้น   ปริมาณไอน้ำในอากาศขณะใดขณะหนึ่งในบริเวณใดบริเวณหนึ่งความชื้นของอากาศสูงหรือต่ำเกินไปจะมีผลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์หลายชนิด   

โครงสร้างทางชีวภาพหรือสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ           ผู้ผลิต(producers) หมายถึง  สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารขึ้นได้เองด้วยการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่  พืชที่มีสีเขียวเพราะสีเขียวในพืชมีคลอโรฟิลด์ที่สามารถดูดกลืนพลังงานแสงอาทิตย์ มาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้ำ และแร่ธาตุมาผลิตเป็นคาร์โบไฮเดรต ยังมีพืชบางชนิด  เช่น ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง  ต้นแขนงนายพราน ต้นกาบหอยแครง  ซึ่งนอกจากจะสร้างอาหารเองแล้วก็ยังดักจับแมลงเป็นอาหารด้วย

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

          ผู้บริโภค (consumers) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้  ต้องรับสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร  ได้แก่  สัตว์ต่าง ๆ ซึ่ง  สิ่งมีชีวิตที่ต้องอาศัยการบริโภคสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นเป็นอาหารเพื่อการดำรงชีวิต ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง เป็นผู้เชื่อมโยงการถ่ายทอดพลังงานภายในระบบนิเวศ ได้แก่ สัตว์ชนิดต่างๆและหากแบ่งตามลักษณะของการบริโภค สามารถแบ่งย่อยได้เป็น 4   กลุ่ม ดังนี้            - สิ่งมีชีวิตที่กินพืชเป็นอาหารเพียงอย่างเดียว  เช่น  ม้า  วัว ควาย  กระต่าย             -  สิ่งมีชีวิตที่กินสัตว์เป็นอาหารเพียงอย่างเดียว  เช่น  เสือ  งู  กบ เป็นต้น           -  สิ่งมีชีวิตที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร  เช่น  คน  เป็ด  หมู  สุนัข  เป็นต้น

           -  สิ่งมีชีวิตที่บริโภคซากสิ่งมีชีวิตเป็นอาหาร เช่น  แบคทีเรีย  รา  เห็ด  

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

ผู้ย่อยสลาย (decomposer)  เป็นพวกไม่สามารถปรุงอาหารได้แต่จะกินอาหารโดย การผลิตเอนไซม์ออกมาย่อยสลายแร่ธาตุต่าง ๆ ในส่วนประกอบของสิ่งที่มีชีวิตให้เป็นสารโมเลกุลเล็ก แล้วจึงดูดซึมไปใช้เป็นสารอาหารบางส่วน ส่วนที่เหลือปลดปล่อยออกไปสู่ระบบนิเวศซึ่งผู้ผลิตจะสามารถเอาไปใช้ต่อไป จึงนับว่าผู้ย่อยสลายเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้สารอาหารสามารถหมุนเวียนเป็นวัฏจักรได้ ส่วนใหญ่เป็นพวกสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ย่อยสลายสารอินทรีย์ให้กลายเป็นสารอนินทรีย์ ซึ่งจะเป็นตัวสำคัญในกระบวนการหมุนเวียนของธาตุต่างๆ

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

                                 

ภาวะพึ่งพา (mutualism) (+,+)/(-,-)  เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต  2  ชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกันตลอดชีวิต และต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์จากกันและกันแต่หากแยกจากกันจะไม่สามารถดำรงชีวิตต่อไปได้  ตัวอย่างเช่น
                         Ø  ไลเคน  (lichen)  พบตามเปลือกต้นไม้ขนาดใหญ่บริเวณที่มีความชื้นสูงไลเคนเป็นสิ่งมีชีวิต 2  ชนิดคือ รากับสาหร่ายสีเขียว การอยู่ร่วมกันนี้ทั้งสาหร่ายและราต่างได้รับประโยชน์ กล่าวคือ สาหร่ายสร้างอาหารได้เองแต่ต้องอาศัยความชื้นจากรา ราก็ได้อาศัยอาหารที่สาหร่ายสร้างขึ้น และ ให้ความชื้นแก่สาหร่าย  
                        Ø  ด้วงกับมดดำ  ด้วงขนาดเล็กให้สารอาหารที่สร้างขึ้นกับมด  มดเลี้ยงดูและป้องกันศัตรูให้ด้วง 
  ปลวกกับโพรโทซัวที่อยู่ในลำไส้ปลวก Ø โพรโทซัวได้อาหารและที่อยู่อาศัยจากปลวก  ปลวกอาศัยโพรโทซัวช่วยย่อยไม้ที่กินเข้าไป   
Ø  แบคทีเรียพวกไรโซเบียม (Rhizobiun)  ที่อาศัยอยู่ที่ปมรากพืชตระกูลถั่ว โดยแบคทีเรียได้อาหารและที่อาศัยจากต้นถั่ว  พืชตระกูลถั่วได้อาหารจากแบคทีเรียช่วยเปลี่ยนแก๊สไนโตรเจนจากอากาศเป็นปุ๋ย  (หนูทิพย์   จำรัส.  2550

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน       ภาวะได้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน (protocooperation) (+,+)/(0,0)  สิ่งมีชีวิต 2 ชนิดเมื่ออาศัยอยู่ร่วมกันต่างก็ได้รับประโยชน์จากกันและกันแต่ไม่จำเป็นต้องอยู่ร่วมกันเสมอไปแม้แยกกันอยู่ก็สามารถดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้  เช่น              ¯ มดดำกับเพลี้ย   เพลี้ยอาศัยมดดำพาไปวางไข่ตามต้นพืช  มดดำได้อาหารจากเพลี้ยด้วยการดูดน้ำเลี้ยงจากเพลี้ย                ¯ นกเอี้ยงกับควาย   นกเอี้ยงได้กินแมลงต่าง ๆ  บนหลังควาย   ควายสบายตัวเพราะไม่มีแมลงมารบกวน              ¯ ดอกไม้กับแมลง   แมลงได้น้ำหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร   ดอกไม้ได้แมลงช่วยผสมเกสร                ¯ ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล  ดอกไม้ทะเลจะเกาะอยู่บนเปลือกของปูเสฉวน สามารถเคลื่อนที่ไปหาแหล่งอาหารใหม่ ๆ ได้ และยังได้รับอาหารบางส่วนจากปูเสฉวนด้วย ในขณะที่ปูเสฉวนก็ใช้ดอกไม้ทะเลช่วยพรางตาศัตรูได้  (หนูทิพย์   จำรัส.  2550)

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

ภาวะอิงอาศัย           ภาวะอิงอาศัย(commensalism ) (+,0)/(-,0)  เมื่ออยู่ร่วมกันฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ เมื่อแยกจากกันตัวที่ไม่ได้ไม่เสียประโยชน์จะเหมือนเดิมแต่ฝ่ายที่เคยได้รับประโยชน์จะไม่ได้อะไรแทนหรืออาจจะเสียประโยชน์เมื่อไม่ได้อยู่รวมกันกับผู้อื่น เช่น   ¯  พืชที่เจริญเติบโตบนต้นไม้ใหญ่ µ  กล้วยไม้บนต้นไม้ กล้วยไม้เป็นพืชที่เกาะอยู่บนต้นไม้อื่นๆ โดยไม่ชอนไชรากลงไปเพื่อแย่งน้ำหรืออาหารจากต้นไม้µ  เฟิร์น  พลูด่าง  เถาวัลย์ ที่เลื้อยพันอยู่กับต้นไม้ใหญ่ เฉพาะบริเวณเปลือกของลำต้นซึ่งอาศัยความชื้นและแร่ธาตุบางอย่างจากเปลือกต้นไม้เท่านั้น โดยต้นไม้ใหญ่ไม่เสียประโยชน์          ¯  เหาฉลามกับปลาฉลาม เหาฉลามจะเคลื่อนที่ไปพร้อมกับปลาฉลามและได้รับอาหารที่เหลือจากปลาฉลามด้วย ส่วนปลาฉลามก็ไม่ได้หรือเสียประโยชน์อะไร(หนูทิพย์   จำรัส.  2550)

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

ภาวะปรสิต(Parasitism) ใช้สัญลักษณ์   + / -   อาศัยอยู่กับ Host ได้ 2 ลักษณะ   1. ปรสิตภายนอก(Ectoparasite) ได้แก่  กาฝาก  ฝอยทอง เหา หมัด โลน  เป็นต้น

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

2. ปรสิตภายใน(Endoparasite) ได้แก่  แบคทีเรีย ไวรัส พยาธิต่างๆ

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

การล่าเหยื่อ (Predation)  ใช้สัญลักษณ์  + / -    1. สัตว์กินสัตว์ เช่น เสือกินวัว นกกินแมลง    2. สัตว์กินพืช เช่น ตั๊กแตนปาทังก้ากินต้นข้าวโพด พะยูนกินหญ้าทะเล

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

ภาวะแข่งขัน (Competition) ใช้สัญลักษณ์ -/-   บัวกับผักตบชวาในสระน้ำ จอกกับแหนในแหล่งน้ำ ต้นถั่วที่ปลูกมากมายในกระป๋องเล็กๆต้นไม้ในป่าที่แข่งกันสูง เพื่อแข่งกันรับแสงสว่าง  มอด 2 ชนิดต่างก็ต่อสู้แย่งอาหารชนิดเดียวกัน

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

สิ่งมีชีวิตใด อยู่ มีความสัมพันธ์แบบเดียวกับ มดดำ และ เพลี้ย

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตคู่ใดเหมือนความสัมพันธ์ของแบคทีเรียในปมรากถั่ว

รูปที่ 1.4 ความสัมพันธ์แบบ mutualism ระหว่างราและสาหร่าย แบคทีเรียไรโซเบียม (Rhizobium) ในปมรากพืชวงศ์ถั่ว ตรึงไนโตรเจนจากอากาศให้แก่รากถั่ว ในขณะเดียวกันแบคทีเรียก็ได้รับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และแร่ธาตุจากต้นถั่ว รูปที่ 1.5 ปมรากถั่วซึ่งภายในมีแบคทีเรียไรโซเบียม

มดดำกับเพลี้ยอ่อนมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

มดดำกับเพลี้ย เพลี้ยได้รับประโยชน์ในการที่มดดำพาไปดูดน้ำเลี้ยงที่ต้นไม้ และมดดำก็จะได้รับน้ำหวาน ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล (Sea Nnemone) ปูเสฉวนอาศัยดอกไม้ทะเลพรางตัวจาก ศัตรู และยังอาศัยเข็มพิษจากดอกไม้ทะเลป้องกันศัตรู ส่วนดอกไม้ทะเลก็ได้รับ

สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิด (Interspecific interactions) หมายถึง ความเกี่ยวข้องหรือสายสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นจากการอาศัยอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดในระบบนิเวศ โดยก่อให้เกิดทั้งภาวะของการพึ่งพาอาศัยกันและกัน การแก่งแย่งแข่งขัน หรือแม้แต่การเบียดเบียนสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นเพื่อความอยู่รอด

สิ่งมีชีวิตชนิดใด มีความสัมพันธ์แบบได้ประโยชน์ร่วมกัน

1. การได้รับประโยชน์ร่วมกัน (mutualism) เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ได้ประโยชน์ด้วยกันทั้งสองชนิด ใช้สัญลักษณ์ +, + เช่น แมลงกับดอกไม้ แมลงดูดน้ำหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร และดอกไม้ก็มีแมลงช่วยผสมเกสร นกเอี้ยงกับควาย นกเอี้ยงได้กินแมลงต่าง ๆ จากหลังควาย และควายก็ได้นกเอี้ยงช่วยกำจัดแมลงที่มาก่อความรำคาญ