เฉลยคําตอบการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจําวัน3

2 คํานาํ ชุดวิชาการใชพลังงานไฟฟาในชีวิตประจําวัน 3 รหัสวิชา พว32023 ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใชไดกับผูเรียนระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ชดุ วชิ านี้ประกอบดวยเนื้อหาความรูเกี่ยวกับพลังงานไฟฟา การผลิตไฟฟา วงจรไฟฟาและอุปกรณไฟฟา ตลอดจนการใชและการประหยัดพลังงานไฟฟา ซึ่งเนื้อหาความรู ดังกลาว มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูเรียน กศน. มีความรูความเขาใจ ทักษะ และตระหนักถึงความ จําเปน ของการใชพ ลังงานไฟฟา ในชวี ติ ประจําวัน สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณการไฟฟา ฝา ยผลติ แหงประเทศไทย (กฟผ.) ท่ีใหการสนับสนุนองคความรูประกอบการนําเสนอเนื้อหาและ งบประมาณ รวมทั้งผูมีสวนเก่ียวของในการจัดทําชุดวิชา หวังเปนอยางยิ่งวาชุดวิชานี้ จะเกิด ประโยชนต อ ผูเรยี น กศน. และนาํ ไปสูก ารใชพ ลังงานไฟฟาอยางเหน็ คณุ คา ตอ ไป สาํ นกั งาน กศน. เมษายน 2559

3 คําแนะนําการใชชดุ วชิ า ชุดวิชาการใชพลังงานไฟฟาในชีวิตประจําวัน 3 รหัสวิชา พว32023 ใชสําหรับนักศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย แบงออกเปน 2 สว น คอื สวนที่ 1 โครงสรางของชุดวิชา แบบทดสอบกอนเรียน โครงสรางของหนวยการเรียนรู เน้อื หาสาระ กิจกรรมเรยี งลําดับตามหนวยการเรยี นรู และแบบทดสอบหลงั เรยี น สว นท่ี 2 เฉลยแบบทดสอบและกจิ กรรม ประกอบดวย เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและ หลงั เรียน เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทายเรอื่ งเรียงลําดบั ตามหนว ยการเรยี นรู วธิ กี ารใชช ุดวชิ า ใหผเู รียนดําเนินการตามขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. ศึกษารายละเอียดโครงสรางชุดวิชาโดยละเอียด เพื่อใหทราบวาผูเรียนตองเรียนรู เนอ้ื หาในเรอื่ งใดบา งในรายวิชาน้ี 2. วางแผนเพื่อกําหนดระยะเวลาและจัดเวลาท่ีผูเรียนมีความพรอมที่จะศึกษาชุดวิชา เพื่อใหสามารถศึกษารายละเอียดของเน้ือหาไดครบทุกหนวยการเรียนรู พรอมทํากิจกรรมตามท่ี กําหนดใหท นั กอนสอบปลายภาค 3. ทําแบบทดสอบกอนเรียนของชุดวิชาตามที่กําหนด เพื่อทราบพ้ืนฐานความรูเดิมของ ผูเรยี น โดยใหทําลงในสมดุ บันทึกกิจกรรมการเรียนรูและตรวจสอบคําตอบจากเฉลยแบบทดสอบ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทายเลม 4. ศึกษาเน้ือหาในชุดวิชาในแตละหนวยการเรียนรูอยางละเอียดใหเขาใจ ท้ังในชุดวิชา และสอ่ื ประกอบ (ถาม)ี และทํากิจกรรมท่ีกําหนดไวใ หค รบถว น 5. เมอ่ื ทาํ กิจกรรมเสรจ็ แตละกจิ กรรมแลว ผูเรยี นสามารถตรวจสอบคําตอบไดจากเฉลย แนวตอบทายเลม หากผูเรียนยงั ทาํ กจิ กรรมไมถูกตอ งใหผูเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาสาระในเรื่อง น้นั ซํ้าจนกวา จะเขาใจ 6. เมือ่ ศึกษาเนือ้ หาสาระครบทกุ หนว ยการเรียนรแู ลว ใหผูเ รยี นทาํ แบบทดสอบหลังเรียน และตรวจคาํ ตอบจากเฉลยทายเลมวาผูเรียนสามารถทําแบบทดสอบไดถูกตองทุกขอหรือไม หาก

4 ขอใดยงั ไมถกู ตอ ง ใหผ ูเ รยี นกลับไปทบทวนเนือ้ หาสาระในเรื่องน้ันใหเขาใจอีกครั้งหนึ่ง ผูเรียนควร ทําแบบทดสอบหลังเรียนใหไดคะแนนมากกวาแบบทดสอบกอนเรียน และควรไดคะแนนไมนอย กวารอยละ 60 ของแบบทดสอบท้ังหมด (หรือ 24 ขอ) เพ่ือใหม่ันใจวาจะสามารถสอบปลายภาค ผาน 7. หากผูเรียนไดทําการศึกษาเนื้อหาและทํากิจกรรมแลวยังไมเขาใจ ผูเรียนสามารถ สอบถามและขอคําแนะนาํ ไดจ ากครูหรอื แหลง คน ควาเพิ่มเติมอน่ื ๆ หมายเหตุ : การทาํ แบบทดสอบกอนเรียน - หลงั เรียน และกจิ กรรมทายเรื่อง ใหท ําและ บันทกึ ลงในสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชุดวิชา การศกึ ษาคนควา เพม่ิ เติม ผูเรียนอาจศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมไดจากแหลงเรียนรูอ่ืน ๆ เชน หนังสือเรียนรายวิชา การใชพลังงานไฟฟาในชีวิตประจําวัน รหัสรายวิชา พว02027 การศึกษาจากอินเทอรเน็ต พิพธิ ภัณฑ นทิ รรศการ โรงไฟฟา หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ไฟฟา และการศกึ ษาจากผูรู เปน ตน การวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ผูเรียนตองวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ดังนี้ 1. ระหวางภาค วัดผลจากการทํากิจกรรมหรืองานที่ไดรับมอบหมายระหวางเรียน รายบุคคล 2. ปลายภาค วดั ผลจากการทาํ ขอสอบวัดผลสมั ฤทธป์ิ ลายภาค

5 โครงสรา งชุดวชิ า สาระการเรียนรู สาระความรูพนื้ ฐาน มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐานท่ี 2.2 มคี วามรู ความเขาใจและทักษะเก่ียวกับคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรู มีความรู ความเขาใจ ทักษะและเห็นคุณคาเก่ียวกับกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี ส่ิงมีชีวิต ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใน ทองถ่ิน ประเทศและโลก สาร แรง พลังงาน กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลก และดารา ศาสตร มจี ิตวิทยาศาสตรแ ละนาํ ความรูไปใชประโยชนในการดําเนินชวี ติ ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง อธิบาย ออกแบบ วางแผน ทดลอง ทดสอบ ปฏิบัติการเร่ืองไฟฟาไดอยางถูกตองและ ปลอดภัย คิด วิเคราะห เปรียบเทียบขอดี ขอเสียของการตอวงจรไฟฟาแบบอนุกรม แบบ ขนาน แบบผสม ประยุกตและเลือกใชความรูและทักษะอาชีพชางไฟฟาใหเหมาะสมกับดาน บรหิ ารจดั การและการบรกิ ารเพ่ือนําไปสูการจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร สาระสําคญั พลังงานไฟฟาเปนปจ จัยท่ีสําคญั ในการดาํ เนนิ ชวี ติ และการพฒั นาประเทศ ความตองการใช พลงั งานไฟฟาของประเทศไทยมแี นวโนมเพิ่มสงู ขึ้นอยา งตอเน่ือง ในปจ จบุ นั การผลิตพลังงานไฟฟา ของประเทศยังคงพ่ึงพาเชื้อเพลิงฟอสซิลเปนเชื้อเพลิงหลักในการผลิตกระแสไฟฟา ซึ่งเช้ือเพลิง ดังกลาวกําลังจะหมดไปในอนาคตอันใกล ดังนั้นเพ่ือเปนการลดปญหาการขาดแคลนพลังงาน ไฟฟาในอนาคต จึงตองมีการจัดหาพลังงานทดแทนเพื่อใชเปนพลังงานสําหรับผลิตกระแสไฟฟา แทนเช้ือเพลิงฟอสซิล และกระจายการใชเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟาใหมีความหลากหลาย เพื่อใหเกิดความสมดุลในการผลิตพลังงานไฟฟาใหมากข้ึน นอกจากน้ียังตองชวยกันประหยัด พลังงานไฟฟา ใชพลังงานไฟฟาใหคุมคาที่สุด เพื่อใหมีพลังงานไฟฟาใชตอไปในอนาคตไดอีก ยาวไกล

6 ขอบขา ยเนอ้ื หา หนวยการเรยี นรูท่ี 1 พลงั งานไฟฟา หนวยการเรียนรูที่ 2 การผลติ ไฟฟา หนวยการเรยี นรทู ่ี 3 อุปกรณไ ฟฟา และวงจรไฟฟา หนวยการเรยี นรทู ่ี 4 การใชแ ละการประหยดั พลงั งานไฟฟา สือ่ ประกอบการเรียนรู 1.หนงั สอื เรียนรายวชิ าเลือก การใชพลงั งานไฟฟา ในชีวติ ประจาํ วนั พว02027 2. ชุดวิชาการใชพลังงานไฟฟาในชีวิตประจาํ วนั 3 รหสั วชิ า พว32023 3. สมุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นรู ที่ใชป ระกอบชุดวชิ าการใชพ ลังงานไฟฟา ใน ชีวิตประจาํ วนั 3 4. วีดิทัศน 5. สื่อเสริมการเรียนรูอ น่ื ๆ จํานวนหนว ยกติ 3 หนวยกติ (120 ชว่ั โมง) กิจกรรมการเรียนรู 1. ทําแบบทดสอบกอ นเรียน ตรวจสอบคาํ ตอบจากเฉลยทา ยเลม 2. ศกึ ษาเน้ือหาสาระในหนวยการเรียนรูทกุ หนวย 3. ทํากจิ กรรมตามท่กี าํ หนดและตรวจสอบคาํ ตอบจากเฉลยทายเลม 4. ทําแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทา ยเลม การประเมินผล 1. ทําแบบทดสอบกอนเรยี น - หลงั เรียน 2. ทาํ กิจกรรมในแตละหนวยการเรยี นรู 3. เขา รบั การทดสอบปลายภาค

7 สารบญั คํานาํ หนา คาํ แนะนําการใชชุดวิชา โครงสรางชดุ วิชา 1 สารบัญ 3 หนว ยการเรียนรทู ี่ 1 พลังงานไฟฟา 6 21 เรือ่ งท่ี 1 การกาํ เนิดของไฟฟา 26 เรื่องที่ 2 สถานการณพลังงานไฟฟา ของประเทศไทย ประเทศในอาเซียน และโลก 27 เร่อื งท่ี 3 หนวยงานท่ีเกย่ี วขอ งดานพลงั งานไฟฟาในประเทศไทย 67 หนว ยการเรียนรทู ี่ 2 การผลติ ไฟฟา 77 เรอ่ื งท่ี 1 เชอ้ื เพลิงและพลงั งานทใ่ี ชใ นการผลติ ไฟฟา 78 เรื่องที่ 2 โรงไฟฟา กบั การจัดการดานส่งิ แวดลอ ม 89 หนว ยการเรียนรทู ี่ 3 อุปกรณไ ฟฟา และวงจรไฟฟา 94 เรื่องท่ี 1 อปุ กรณไฟฟา 97 เรื่องที่ 2 วงจรไฟฟา 98 เรอ่ื งท่ี 3 สายดนิ และหลักดนิ 105 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 4 การใชและการประหยดั พลงั งานไฟฟา 125 เรอ่ื งที่ 1 กลยทุ ธก ารประหยดั พลงั งานไฟฟา 3 อ. 136 เรอ่ื งท่ี 2 การเลือกซอ้ื การใช และการดูแลรกั ษาเคร่ืองใชไฟฟา ภายในบาน 146 เร่ืองที่ 3 การวางแผนและการคาํ นวณคา ไฟฟา ในครวั เรือน 148 บรรณานุกรม 150 เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น 173 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทายเร่ือง คณะผจู ัดทาํ

1 หนวยการเรยี นรูที่ 1 พลังงานไฟฟา สาระสําคญั พลังงานไฟฟา มกี ําเนิดหลายลักษณะ ซ่ึงกอใหเกิดพลังงานที่สามารถนําไปใชประโยชนใน ลักษณะตาง ๆ เชน ความรอน แสงสวาง เปนตน โดยการไดมาซึ่งพลังงานไฟฟาจะตองอาศัย เชือ้ เพลงิ ในการผลิตไฟฟา ในปจจุบนั เชื้อเพลิงจากฟอสซิลยังคงเปนเช้ือเพลิงหลักท่ีใชในการผลิต ไฟฟา และมีแนวโนมจะหมดไปในระยะเวลาอนั ใกล แตท ุกประเทศมีแนวโนมการใชพลังงานไฟฟา เพิม่ ขึน้ อยา งตอเนอื่ ง ตามอตั ราการขยายตวั ของภาคครัวเรือน เศรษฐกิจ อตุ สาหกรรม และบริการ จงึ เปน เหตุผลใหท ุกประเทศตองมกี ารวางแผนการผลิตไฟฟาใหเพียงพอกับความตองการและเกิด ความม่ันคงทางพลงั งานไฟฟา สําหรับประเทศในกลุมอาเซียนนอกจากจะมีแผนในการจัดการกับ ความม่นั คงทางพลงั งานไฟฟา แลว ยังมกี ารวางแผนการผลติ และการใชพ ลงั งานไฟฟารวมกัน โดย มกี ารเชือ่ มโยงโครงขา ยระบบไฟฟาในระดบั ภูมิภาค การบรกิ ารดานพลังงานไฟฟา ของประเทศไทย จะมีหนวยงานท่รี บั ผดิ ชอบดูแล ตวั ช้วี ัด 1. บอกการกําเนดิ ของไฟฟา 2. บอกสัดสว นเชอื้ เพลิงท่ใี ชในการผลติ ไฟฟา ของประเทศไทย ประเทศในกลมุ อาเซียนและโลก 3. ตระหนักถึงสถานการณของเช้อื เพลิงท่ีใชในการผลิตไฟฟาของประเทศไทย 4. วเิ คราะหสถานการณพลงั งานไฟฟา ของประเทศไทย 5. เปรยี บเทียบสถานการณพ ลังงานไฟฟา ของประเทศไทย ประเทศในกลมุ อาเซียนและโลก 6. อธิบายองคป ระกอบในการจัดทําแผนพฒั นากาํ ลังการผลิตไฟฟา ของประเทศไทย (PDP) 7. ระบชุ ือ่ และสังกัดของหนวยงานทเี่ ก่ียวของดา นพลังงานไฟฟา ในประเทศไทย 8. อธบิ ายบทบาทหนา ที่ของหนว ยงานท่เี ก่ียวขอ งดานพลังงานไฟฟา 9. แนะนาํ บรกิ ารของหนว ยงานทเี่ กี่ยวของดานพลังงานไฟฟา ในประเทศไทย ขอบขายเนอ้ื หา เรอื่ งท่ี 1 การกาํ เนิดของไฟฟา เร่อื งที่ 2 สถานการณพลงั งานไฟฟาของประเทศไทย ประเทศในกลมุ อาเซยี น และโลก เร่อื งที่ 3 หนวยงานท่ีเก่ียวของดา นพลงั งานไฟฟา ในประเทศไทย

2 เวลาที่ใชใ นการศกึ ษา 15 ช่ัวโมง สือ่ การเรยี นรู 1. ชดุ วิชาการใชพ ลงั งานไฟฟา ในชวี ติ ประจาํ วนั 3 รหสั วชิ า พว32023 2. วีดทิ ัศน เร่ือง ทําไมคาไฟฟา แพง เรอ่ื ง ไฟฟาซือ้ หรอื สรา ง เรอ่ื ง ขุมพลงั อาเซยี น

3 เร่ืองที่ 1 การกาํ เนดิ ของไฟฟา ราชบัณฑิตยสถานไดใหความหมายของคําวา “ไฟฟา” ไววา “พลังงานรูปหนึ่งซ่ึง เก่ียวขอ งกับการแยกตัวออกมา หรือการเคลื่อนท่ีของอิเล็กตรอนหรือโปรตอนหรืออนุภาคอื่นที่มี สมบัติแสดงอํานาจคลายคลึงกับอิเล็กตรอนหรือโปรตอน ท่ีกอใหเกิดพลังงานอ่ืน เชน ความรอน แสงสวาง การเคลอ่ื นที่ ”เปน ตน โดยการกาํ เนดิ พลงั งานไฟฟาท่สี าํ คญั ๆ มี 5 วิธี ดังน้ี 1. ไฟฟา ท่ีเกดิ จากการเสยี ดสีของวัตถุ เปน ไฟฟาทีเ่ กิดขนึ้ จากการนําวัตถุตางกัน 2 ชนิด มาขัดสีกนั เชน จากแทง ยางกับผา ขนสัตว แทงแกวกับผาแพร แผนพลาสติกกับผา และหวีกับผม เปน ตน ผลของการขัดสดี ังกลาวทําใหเ กิดความไมส มดลุ ขึ้นของประจุไฟฟาในวัตถทุ งั้ สอง เน่ืองจาก เกิดการถายเทประจุไฟฟา วัตถุท้ังสองจะแสดงศักยไฟฟาออกมาตางกัน วัตถุชนิดหนึ่งแสดง ศักยไฟฟาบวก (+) ออกมา วัตถุอีกชนิดหนึ่งแสดงศักยไฟฟาลบ (-) ออกมา ซึ่งเรียกวา “ไฟฟาสถติ ” ดังภาพ แทง ยาง ภาพอุปกรณไฟฟาท่ีเกิดจากการเสียดสีของวตั ถุ 2. ไฟฟาที่เกิดจากการทําปฏิกิริยาทางเคมี เปนไฟฟาที่เกิดจากการนําโลหะ 2 ชนิด ที่แตกตางกนั โลหะทง้ั สองจะทาํ ปฏิกิรยิ าเคมีกบั สารละลายอิเลก็ โทรไลท ซ่ึงปฏิกิริยาทางเคมีแบบนี้ เรียกวา “โวลตาอิกเซลล” เชน สังกะสีกับทองแดงจุมลงในสารละลายอิเล็กโทรไลท จะ เกิดปฏิกริ ิยาเคมที ําใหเกดิ ไฟฟาดงั ตวั อยา งในแบตเตอรี่ และถานอัลคาไลน (ถา นไฟฉาย) เปน ตน

4 แบตเตอรี่ ถานอลั คาไลน 1.5 โวลต ถานอลั คาไลน 9 โวลต ภาพอปุ กรณไฟฟา ท่เี กดิ จากการทําปฏกิ ริ ิยาทางเคมี 3. ไฟฟาที่เกดิ จากความรอ น เปน ไฟฟาท่ีเกิดขึ้นจากการนําแทงโลหะหรือแผนโลหะตาง ชนิดกัน 2 แทง โดยนําปลายดานหนึ่งของโลหะท้ังสองตอติดกันดวยการเช่ือมหรือยึดดวยหมุด ปลายท่เี หลืออกี ดา นนําไปตอ กับมเิ ตอรวดั แรงดัน เมื่อใหความรอนที่ปลายดานตอติดกันของโลหะท้ัง สอง สงผลใหเกิดการแยกตัวของประจุไฟฟาเกิดศักยไฟฟาขึ้นท่ีปลายดานเปดของโลหะ แสดงคา ออกมาที่มเิ ตอร ภาพการตอ อปุ กรณใ หเ กดิ ไฟฟา จากความรอ น 4. ไฟฟาท่ีเกิดจากพลังงานแสงอาทิตย โดยสามารถสรางเซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) ที่ทําหนาท่ีเปล่ียนพลังงานแสงอาทิตยใหเปนพลังงานไฟฟา ปจจุบันเคร่ืองใชไฟฟา หลายชนิดใชพ ลงั งานแสงอาทิตยได เชน นาฬิกาขอมือ เครื่องคิดเลข เปนตน แตคาใชจายในการ ผลติ กระแสไฟฟา จากแสงอาทิตยค อนขางสงู

5 ภาพเซลลแ สงอาทติ ยท ่ีใชใ นการผลิตไฟฟา ของเขอื่ นสิรนิ ธร จังหวัดอบุ ลราชธานี 5. ไฟฟา ท่เี กิดจากพลังงานแมเหล็กไฟฟา กระแสไฟฟาท่ีไดมาจากพลังงานแมเหล็ก โดยวิธีการใชล วดตวั นาํ ไฟฟา ตัดผานสนามแมเ หล็ก หรือการนําสนามแมเหล็กว่ิงตัดผานลวดตัวนํา อยางใดอยางหนึ่ง ท้ังสองวิธีน้ีจะทําใหมีกระแสไฟฟาไหลในลวดตัวนํานั้น กระแสท่ีผลิตไดมีทั้ง กระแสตรงและกระแสสลบั ภาพ อปุ กรณก ําเนดิ ไฟฟาจากพลังงานแมเหลก็ ไฟฟา นอกจากน้ี ไฟฟา ยังมีกาํ เนดิ จากวธิ ีอ่ืน ๆ อีก เชน ไฟฟา จากแรงกดอัด โดยอาศัยผลึกของ สารบางชนิด ที่มีคุณสมบัติทําใหเกิดไฟฟาไดเม่ือไดรับแรงกดอัด กระแสไฟฟาจะมากหรือนอย ข้ึนกับแรงที่กด กระแสไฟฟาท่ีไดจะมีกําลังต่ํา จึงนํามาใชไดกับอุปกรณบางประเภท เชน ไมโครโฟน หวั เข็มแผน เสยี ง เปนตน กิจกรรมทายเร่อื งที่ 1 การกาํ เนดิ ของไฟฟา (ใหผ ูเรยี นไปทํากิจกรรมเร่อื งท่ี 1 ทสี่ มุดบันทึกกิจกรรมการเรียนร)ู

6 เร่อื งที่ 2 สถานการณพลงั งานไฟฟาของประเทศไทย ประเทศในกลุมอาเซียน และโลก ปจจุบันการใชพลังงานไฟฟาของประเทศไทยและประเทศตาง ๆ ท่ัวโลกเพ่ิมสูงขึ้น อยา งตอเนื่อง โดยเชอ้ื เพลิงหลักทนี่ าํ มาใชใ นการผลติ ไฟฟา คือ เช้ือเพลิงฟอสซิล เริ่มลดลงเรื่อย ๆ ดังนั้นหากผูใชพลังงานไฟฟายังไมตระหนักถึงสาเหตุดังกลาว จนอาจสงผลกระทบตอการผลิต ไฟฟา ในอนาคตอนั ใกล จงึ จาํ เปน ตอ งเขา ใจถึงสถานการณพ ลังงานไฟฟา และแนวโนมการใชไฟฟา ในอนาคต ในเรื่องที่ 2 ประกอบดว ย 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 สถานการณพลงั งานไฟฟา ของประเทศไทย ตอนที่ 2 สถานการณพ ลงั งานไฟฟาของประเทศในกลุมอาเซยี น ตอนท่ี 3 สถานการณพลังงานไฟฟา ของโลก ตอนท่ี 1 สถานการณพลงั งานไฟฟา ของประเทศไทย พลังงานไฟฟาเปน ปจ จัยท่สี ําคัญในการดาํ เนนิ ชวี ิตและการพฒั นาประเทศ ท่ีผานมาความ ตองการใชไฟฟาของประเทศไทยเพิ่มข้ึนอยางตอเน่ืองประมาณรอยละ 4 - 5 ตอป ซึ่งสอดคลอง กบั จํานวนประชากรท่ีเพ่มิ ข้นึ และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ปจจุบันพลังงานไฟฟาไดเขามามี บทบาทตอการดํารงชีวิตประจําวันอยางหลีกเลี่ยงไมได รวมทั้งเปนปจจัยสําคัญในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจของประเทศมากขึ้น โดยในป พ.ศ. 2557 ประเทศไทยมีการใชไฟฟาเปนอันดับที่ 24 ของโลก ซงึ่ เปน ท่ีนากังวลวาพลังงานไฟฟาจะเพียงพอตอความตองการใชไฟฟาในอนาคตหรือไม ดังน้นั ความม่ันคงทางพลังงานไฟฟาจงึ มปี ระเด็นสาํ คัญทปี่ ระชาชนทกุ คนควรรู ดงั นี้ 1. สดั สว นการผลติ ไฟฟาจากเช้ือเพลิงประเภทตา ง ๆ ของประเทศไทย การผลิตไฟฟาของประเทศไทยมีการใชเชื้อเพลิงที่หลากหลาย ซ่ึงไดมาจากแหลง เชื้อเพลิงทั้งภายในและภายนอกประเทศ จากขอมูลป พ.ศ. 2558 พบวา ประเทศไทยมีการผลิต ไฟฟา จากกา ซธรรมชาติเปนสว นใหญ คดิ เปน รอ ยละ 69.19 ของการผลิตไฟฟาทั้งหมด รองลงมา คือ ถานหินนําเขาและถานหินในประเทศ (ลิกไนต) รอยละ 18.96 พลังงานหมุนเวียน รอยละ 11.02 น้ํามนั เตาและน้ํามนั ดเี ซล รอยละ 0.75 และมกี ารนําเขาไฟฟา จากมาเลเซีย รอ ยละ 0.07

7 ท่มี า : การไฟฟาฝายผลติ แหง ประเทศไทย, ธนั วาคม 2558 แผนภมู ิสดั สว นเชอื้ เพลงิ ท่ใี ชใ นการผลิตไฟฟาของประเทศไทย ป พ.ศ. 2558 แมว า ในปจ จบุ ันการผลติ กระแสไฟฟาของประเทศไทยจะเพียงพอและสามารถรองรับ ความตองการได แตในอนาคตยังคงมีความเส่ียงตอความม่ันคงทางพลังงานไฟฟาคอนขางสูง เน่ืองจากประเทศไทยมีการพ่ึงพากาซธรรมชาติในการผลิตไฟฟามากเกินไป โดยกาซธรรมชาติที่ นํามาใชผลติ ไฟฟา ของประเทศไทยมาจาก 2 แหลง หลกั ๆ คือ แหลงกาซธรรมชาติในประเทศไทย ประมาณรอยละ 60 ซึ่งจากการคาดการณปริมาณกาซธรรมชาติที่พิสูจนแลวในอาวไทย ขอมูล ณ ป พ.ศ. 2557 มีเหลือใชอีกเพียง 5.7 ป เทานั้น สวนท่ีเหลืออีกประมาณรอยละ 40 นําเขามา จากเมียนมาร โดยมาจากแหลง ยาดานาและเยตากุน จากการท่ีประเทศไทยพึ่งพากาซธรรมชาติในการผลติ กระแสไฟฟามากเกินไปจึงทําให เกิดปญ หาอยางตอ เนื่องทุกป เม่ือแหลงผลิตกาซธรรมชาติมีปญหาหรือตองหยุดการผลิตเพ่ือการ ซอมบาํ รุง หรอื ในกรณขี องทอสง กาซธรรมชาติเกดิ ความเสียหาย ทําใหไ มส ามารถสงกาซธรรมชาติ ได สงผลใหกําลังการผลิตไฟฟาสวนหนึ่งหายไป เชน ในชวงระหวางวันท่ี 5 - 14 เมษายน พ.ศ. 2556 เมียนมารไ ดหยดุ ทาํ การผลิตกาซธรรมชาติจากแหลงยาดานา เพ่ือบํารุงรักษาตามวาระ ไดสงผลกระทบตอการผลิตไฟฟาของประเทศไทยเปนอยางมาก เน่ืองจากโรงไฟฟาท่ีใช กา ซธรรมชาติจากแหลงดงั กลาวของเมียนมาร เชน โรงไฟฟาพระนครเหนือ โรงไฟฟาพระนครใต โรงไฟฟา วงั นอ ย เปน ตน ตอ งหยุดการผลิตไฟฟา ทําใหกาํ ลังการผลิตไฟฟา ของประเทศไทยหายไป รอยละ 25 ของกาํ ลังการผลิตไฟฟา ในแตละวัน สงผลใหไมสามารถผลิตไฟฟาไดเพียงพอตอความ

8 ตอ งการไฟฟาสูงสดุ ท่ีไดคาดการณไว ทําใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ตองจัดทํา มาตรการรับมือไวหลายดาน เชน การประสานงานขอซ้ือไฟฟาจากประเทศเพื่อนบาน การนํา น้ํามนั มาใชเปนเช้ือเพลิงสําหรับโรงไฟฟาท้ังหมดท่ีสามารถเดินเคร่ืองดวยน้ํามันได เปนตน ซึ่งใน กรณีที่นาํ นาํ้ มันมาใชเ ปน เช้ือเพลงิ อาจทําใหราคาคาไฟสูงข้ึน เพราะตนทุนคาเชื้อเพลิงที่นํามาใชมี ราคาสูง นอกจากนย้ี ังไดม กี ารประชาสมั พนั ธรณรงคใหป ระชาชนประหยดั พลังงาน เพ่ือใหสามารถ ผา นพนชว งวกิ ฤตไปได ดังนนั้ การสรา งความมน่ั คงทางพลงั งานไฟฟา ประเทศไทยจึงควรพิจารณาการเลือกใช เชอ้ื เพลิงในการผลิตไฟฟา โดยคํานงึ ถึงปจ จยั ดงั ตอไปนี้ 1) ตองมปี รมิ าณเชือ้ เพลิงสํารองเพยี งพอและแนน อนเพอ่ื ความม่นั คงในการจดั หา 2) ตองมีการกระจายชนิดและแหลงท่ีมาของเชื้อเพลิง เชน การใชถานหิน หรือ พลังงานทางเลือกใหมากขึ้น เปนตน 3) ตองเปน เชอ้ื เพลิงทม่ี รี าคาเหมาะสมและมีเสถียรภาพ 4) ตองเปนเชื้อเพลิงท่ีเมื่อนํามาผลิตไฟฟาแลว สามารถควบคุมมลพิษใหอยูใน ระดบั มาตรฐานคุณภาพท่สี ะอาดและยอมรับได 5) ตองใชท รัพยากรพลงั งานภายในประเทศท่มี อี ยูอ ยางจาํ กัดใหเ กิดประโยชนส งู สดุ 2. การใชไ ฟฟาในแตละชวงเวลาในหนึ่งวันของประเทศไทย การเลือกใชเช้ือเพลิงมาผลิตไฟฟา นอกจากการพิจารณาถึงปจจัยตาง ๆ ที่ไดกลาว มาแลวน้ัน อีกปจ จยั สาํ คญั ทตี่ อ งนาํ มาพิจารณาดวย คือ ประเภทของโรงไฟฟาท่ีตองการในระบบ ใหสอดคลองกับความตองการใชไฟฟาในแตละชวงเวลา เพ่ือความมีประสิทธิภาพของระบบและ ตนทุนคาไฟฟาท่ีเหมาะสม เพราะโรงไฟฟาแตละประเภทมีความเหมาะสมในการผลิตไฟฟาใน แตล ะชว งเวลาท่ตี า งกนั และโรงไฟฟา แตล ะประเภทก็มกี ารใชเ ช้อื เพลงิ ที่แตกตางกันดว ย ดงั ภาพ

โรงไฟฟาฐาน 9 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 โรงไฟฟาขนาดใหญ ความตอ งการไฟฟาสงู สุด เดินเคร่ืองตลอด 24 ชวั่ โมง ราคาถูก พลงั นํ้า น้าํ มนั ความตอ งการไฟฟา ปานกลาง กา ซธรรมชาติ พลังงานทดแทน ความตองการไฟฟาพ้นื ฐาน (โรงไฟฟาฐาน) กา ซธรรมชาติ ลกิ ไนต ภาพการใชไ ฟฟา แตล ะชวงเวลาในหน่ึงวัน กลาวคือ การใชไฟฟาแตละชวงเวลาในหนึ่งวันของประเทศไทย มีปริมาณความ ตองการใชไฟฟาไมสมํ่าเสมอ โดยความตองการไฟฟาสูงสุดจะเกิด 3 ชวงเวลา คือ เวลา 10.00 – 11.00 น. เวลา 14.00 –15.00 น. และเวลา 19.00 –20.00 น. และความตองการ ใชไฟฟาในแตละวันจะแบง ออกเปน 3 ระดบั ดงั น้ี ระดับ 1 ความตองการไฟฟาพื้นฐาน (Base Load) เปนความตองการใชไฟฟาตํ่าสุด ของแตล ะวัน ซึ่งในแตละวนั จะตอ งผลิตไฟฟาไมตํ่ากวาความตองการในระดับน้ี โดยโรงไฟฟาท่ีใช เดนิ เคร่อื งผลติ ไฟฟาตามความตองการไฟฟาพื้นฐานจะเรียกวา “โรงไฟฟาฐาน” ซึ่งเปนโรงไฟฟา ขนาดใหญแ ละตองเดนิ เครื่องอยตู ลอดเวลา จึงควรเปนโรงไฟฟาท่ีใชเชื้อเพลิงราคาถูกเปนลําดับแรก ไดแก โรงไฟฟาพลังความรอนที่ใชถานหินเปนเชื้อเพลิง โรงไฟฟาพลังความรอนรวมท่ีใช กา ซธรรมชาติเปนเชื้อเพลงิ และโรงไฟฟา พลงั งานนิวเคลียร ระดับ 2 ความตองการไฟฟาปานกลาง (Intermediate Load) เปนความตองการใช ไฟฟา มากขึน้ กวาความตอ งการพน้ื ฐานแตก ็ยงั ไมม ากถึงระดับสูงสุด โรงไฟฟาที่ผลิตพลังงานไฟฟา ชวงท่ีมีความตองการไฟฟาปานกลางควรเดินเคร่ืองโรงไฟฟาตลอดเวลาเหมือนกับโรงไฟฟาชนิด แรก แตสามารถเพ่ิมหรือลดกําลังการผลิตได โดยการปอนเชื้อเพลิงมากหรือนอยขึ้นกับความ ตอ งการ เชน โรงไฟฟาพลงั ความรอนรว มท่ใี ชกา ซธรรมชาติเปน เช้อื เพลิง พลงั งานทดแทน เปน ตน ระดับ 3 ความตองการไฟฟาสูงสุด (Peak Load) เปนความตองการใชไฟฟาบาง ชวงเวลาเทาน้ัน สําหรับโรงไฟฟาที่ผลิตไฟฟาในชวงท่ีมีความตองการน้ีจะทําการเดินเคร่ืองผลิต

10 ไฟฟา ในชวงเวลาท่ีมีความตองการไฟฟาสูงสุดเทาน้ัน และเปนโรงไฟฟาท่ีเดินเคร่ืองแลวสามารถ ผลติ ไฟฟาไดทันที เชน โรงไฟฟากงั หนั กาซท่ใี ชน ํา้ มนั ดีเซลเปนเชอ้ื เพลงิ โรงไฟฟา พลังนํ้า โรงไฟฟา พลังนํ้าแบบสบู กลบั เปน ตน 3. สภาพปจจบุ นั และแนวโนม การใชพลงั งานไฟฟา กําลงั การผลิตไฟฟา ของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2558 มจี าํ นวนรวมทัง้ ส้ิน 38,774 เมกะวัตต แบงเปนกาํ ลังการผลิตภายในประเทศ 35,387 เมกะวัตต คิดเปนรอยละ 91.26 และกําลังผลิตท่ีมี สัญญาซื้อไฟฟาจากตางประเทศอีก 3,387 เมกะวัตต คิดเปนรอยละ 8.74 โดยมีความตองการ ไฟฟาสงู สดุ ที่ 27,346 เมกะวัตต ซ่งึ ความตองการไฟฟา มแี นวโนมเพมิ่ ขน้ึ ทกุ ปต ามสภาพภูมิอากาศ จาํ นวนประชากรที่เพมิ่ สงู ข้ึน และการขยายตวั ทางเศรษฐกิจและอตุ สาหกรรม

11 ภาพการใชพ ลงั งานไฟฟา ของประเทศไทย จากภาพ จะเห็นไดวา การใชพลังงานไฟฟาของประเทศไทยมีแนวโนมเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่อง โดยในป พ.ศ. 2558 มีการใชพลังงานไฟฟา 183,288 ลานหนวย เพิ่มขึ้นจาก ป พ.ศ. 2557 รอยละ 3.2 เนื่องจากกลุมผูใชไฟฟาเกือบทุกประเภทมีการใชไฟฟาตามภาวะ เศรษฐกิจที่ปรับตัวดีขึ้น โดยภาคอุตสาหกรรม มีการใชไฟฟามากที่สุด ถึงรอยละ 45 รองลงมา คือ ภาคครัวเรือน รอยละ 22 ภาคธุรกิจ รอยละ 19 ภาคกิจการขนาดเล็ก รอยละ 11 และ อ่ืน ๆ รอยละ 3 จากการประมาณการภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) คาดวาในป พ.ศ. 2559 เศรษฐกิจจะขยายตัว รอยละ 3.7 สํานักงานนโยบายและแผนพลังงานจึงประมาณความตองการพลังงานไฟฟาของ ประเทศภายใตสมมติฐานดงั กลา ว ซ่งึ ไดม ีการคาดการณวา ความตองการไฟฟาสูงสุดในป พ.ศ. 2559 อยูท่ี 28,470 เมกะวัตต หรือเพิ่มข้ึนรอยละ 4.1 และจากการพยากรณความตองการไฟฟาของ ประเทศในอีก 20 ปขางหนา พบวา ประเทศไทยจะมีความตองการใชไฟฟาขึ้นอยางตอเนื่อง โดยคาดการณวาในป พ.ศ. 2579 ความตองการพลังงานไฟฟารวมสุทธิ 326,119 ลานหนวย และมีความตองการไฟฟาสูงสุดสุทธิ 49,655 เมกะวัตต

12 4. แผนพัฒนากาํ ลังการผลติ ไฟฟาของประเทศไทย (Power Development Plan : PDP) แผนพฒั นากาํ ลังการผลิตไฟฟา คือ แผนแมบทในการผลิตไฟฟาของประเทศ วาดวย การจดั หาพลังงานไฟฟา ในระยะยาว 15 – 20 ป เพอื่ สรางความม่นั คงและความเพียงพอตอความ ตองการใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน และเพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ ปจจบุ ันใชแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของประเทศไทยป 2558 - 2579 (PDP 2015) ซ่งึ เปน แผนฉบบั ลาสุด และเปนแผนทส่ี อดคลอ งกบั แผนอนุรกั ษพลงั งาน ที่มเี ปา หมายเพ่อื ประหยัด และเพมิ่ ประสิทธิภาพการใชพลังงาน และแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ซึ่ง การจัดทําแผน PDP ตองจัดทําคาพยากรณความตองการไฟฟาของประเทศ เพ่ือนําคาพยากรณ ความตองการไฟฟาจัดทาํ แผนการกอ สรา งโรงไฟฟาใหเพียงพอในอนาคตตอ ไป การจดั ทําคาพยากรณค วามตองการไฟฟา ของประเทศนั้น ใชคาประมาณการแนวโนม การขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว อัตราการเพิ่มของประชากร และมีการประยุกตใชแผนการ อนรุ ักษพ ลังงาน รวมทง้ั พิจารณากรอบของแผนพัฒนาและพลังงานทางเลือกดวย สําหรับกรอบใน การจดั ทาํ แผนพัฒนากาํ ลงั การผลติ ไฟฟา ประเทศไทย มดี ังน้ี 1) ดานความม่ันคงทางพลังงาน (Security) ตองจัดหาไฟฟาใหเพียงพอตอความ ตองการใชไฟฟาและใชเช้ือเพลิงหลากหลาย รวมท้ังมีความเหมาะสมเพื่อลดความเส่ียงจากการ พ่ึงพาเช้อื เพลิงชนดิ ใดชนิดหนึง่ มากเกินไป 2) ดานเศรษฐกิจ (Economy) ตองคํานึงถึงตนทุนการผลิตไฟฟาท่ีเหมาะสมและ คาํ นงึ ถงึ การใชไ ฟฟาอยางมีประสิทธิภาพในภาคเศรษฐกิจตาง ๆ 3) ดานส่ิงแวดลอม (Ecology) ตองลดผลกระทบที่เกิดข้ึนกับสิ่งแวดลอมและชุมชน โดยเฉพาะเปา หมายในการปลดปลอยกา ซคารบ อนไดออกไซดต อหนว ยการผลิตไฟฟา

13 ภาพปจจยั ที่ตอ งคาํ นึงถึงในการจัดทําแผนพัฒนากาํ ลังการผลิตไฟฟา ของประเทศ (PDP) จากกรอบแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของประเทศไทย ท่ีใชเปนแนวทางในการจัดทํา แผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของประเทศไทยป 2558 - 2579 (PDP 2015) ซึ่งไดวางแผน กําลังการผลิตไฟฟาในอีก 20 ปขางหนา (พ.ศ. 2579) เพื่อใหกําลังการผลิตไฟฟาเพียงพอตอ ความตองการในป พ.ศ. 2579 จะตองมีกําลังการผลิตเพ่ิมข้ึนจาก 37,612 เมกะวัตต เปน 70,335 เมกะวัตต โดยมีการกระจายสดั สวนการใชเ ชอ้ื เพลงิ ในการผลิตพลังงานไฟฟา ตารางสดั สว นการใชเ ชื้อเพลงิ ตามแผนพฒั นากําลังการผลติ ไฟฟา ของประเทศไทยป 2558 – 2579 ดีเซล / นํา้ มนั เตา ที่มา : สํานกั งานนโยบายและแผนพลงั งาน

14 ตอนท่ี 2 สถานการณพ ลังงานไฟฟา ของประเทศในกลมุ อาเซียน อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asian Nation : ASEAN) เปนองคกรที่กอตั้งขึ้นเพ่ือสรางสันติภาพในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต อันนํามาซึ่งเสถียรภาพทางการเมืองและความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยมุงเนนใหอาเซียนเปนตลาดเดียวกันและเปนฐานการผลิตรวมที่มี ศกั ยภาพในการแขง ขนั ทางการคา กบั ภูมิภาคอืน่ ๆ ของโลก ปจ จบุ นั มีประเทศสมาชิก 10 ประเทศ แบงออกเปนประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ คือ บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และประเทศไทย ประเทศสมาชิกใหม 4 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว เมียนมาร และ เวียดนาม อาเซียนถือเปนภูมิภาคท่ีมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่รวดเร็ว ทําใหความ ตอ งการพลงั งานไฟฟาเพมิ่ สูงข้นึ อยา งตอเนอื่ ง ดงั นั้นเพ่ือเปนการเตรียมพรอมรับมอื กบั สถานการณ พลงั งานไฟฟาท่ีกาํ ลังจะเกิดขึน้ จึงจาํ เปนตองมคี วามรคู วามเขา ใจถึงสถานการณพ ลังงานไฟฟาของ ประเทศตาง ๆ ในอาเซียน เพ่ือจะไดเลือกใชทรัพยากรพลังงานไดอยางเหมาะสมและสามารถ สาํ รองพลังงานใหเ พียงพอกบั ความตอ งการใชใ นอนาคต อาเซยี น เปน ภูมภิ าคทมี่ ที รพั ยากรพลังงานมากและมีความหลากหลาย โดยกระจายอยู ในประเทศตาง ๆ ทั้งน้ํามัน กาซธรรมชาติ พลังนํ้า และถานหิน โดยทางตอนเหนือของภูมิภาค ไดแก ประเทศเมียนมาร ลาว และเวียดนาม มีแหลงน้ํามากท่ีมีศักยภาพในการนํานํ้ามาใชผลิต ไฟฟา สวนตอนกลางและตอนใต ไดแก ประเทศมาเลเซีย ไทย กัมพูชา บรูไน และอินโดนีเซีย มี แหลงกา ซธรรมชาติ นอกจากน้ียงั มีแหลง ถา นหินในประเทศไทย มาเลเซยี และอนิ โดนีเซยี ดวย สดั สวนการผลิตไฟฟาจากเชอ้ื เพลงิ ประเภทตาง ๆ ของประเทศในกลุมอาเซียน จากความหลากหลายของทรัพยากรพลังงานที่แตกตางกันของแตละประเทศในกลุม ประเทศอาเซียน จึงทาํ ใหแตล ะประเทศมีนโยบายและเปาหมายทางดานพลังงานไฟฟาที่แตกตาง กัน โดยสัดสว นการใชเช้ือเพลิงในการผลิตไฟฟาของประเทศในกลุมอาเซียนจะแตกตางกันขึ้นกับ ทรัพยากรพลังงานของประเทศน้ัน ๆ โดยประเทศในภูมิภาคอาเซียนมีการผลิตไฟฟาจาก กาซธรรมชาติมากท่ีสุด รองลงมา คือ ถานหิน พลังน้ํา นํ้ามัน และพลังงานทดแทน ตามลําดับ สาํ หรับสัดสวนการใชเ ชื้อเพลงิ ผลติ ไฟฟาของแตล ะประเทศในกลุมอาเซียน ป พ.ศ. 2557 ดังภาพ

15 ท่ีมา : The World Bank-World Development Indicators ภาพสัดสว นการใชเ ชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา ของประเทศในกลมุ อาเซียน ป พ.ศ. 2557 1) เมยี นมาร (สาธารณรัฐแหงสหภาพเมยี นมาร) เมียนมาร เปนประเทศท่ีมีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย ที่สาํ คัญ คือ กาซธรรมชาติ และนํ้ามนั นอกจากนย้ี ังมีแหลงน้ําที่มีศักยภาพในการนําน้ํามาใชผลิตไฟฟาอีกดวย ดังนั้นสัดสวน เชื้อเพลิงหลักในการผลิตไฟฟาของเมียนมารจึงมาจากพลังน้ําและกาซธรรมชาติ โดย ในป พ.ศ. 2557 มีการผลิตไฟฟาท้ังส้ิน 8,910 ลานหนวย สวนใหญมาจากพลังนํ้า รอยละ 71.2 รองลงมา คือ กาซธรรมชาติ รอยละ 22.3 ถานหิน รอยละ 6.3 และอน่ื ๆ รอยละ 0.2 2) กมั พูชา (ราชอาณาจกั รกมั พูชา) กมั พูชา มแี หลงเชอื้ เพลงิ ที่สําคญั คือ พลังงานชีวมวล แตเนื่องจากพลังงานดังกลาว ไมเหมาะสมที่จะนํามาใชเปนเช้ือเพลิงหลักในการผลิตไฟฟา ในป พ.ศ. 2557 มีการผลิตไฟฟา ท้ังสิ้น 1,220 ลานหนวย สวนใหญผลิตจากนํ้ามัน รอยละ 48.4 และพลังนํ้า รอยละ 34.4 รองลงมา คอื พลงั งานความรอ นใตพ ิภพ รอยละ 13.1 ถานหนิ รอยละ 2.5 และอน่ื ๆ รอ ยละ 1.6 3) เวยี ดนาม (สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนาม) เวียดนาม มแี หลง พลังงานทส่ี าํ คญั คือ นาํ้ มนั กาซธรรมชาติ และถานหิน นอกจากนี้ ยงั มแี หลง นาํ้ ทม่ี ศี ักยภาพในการนํานํ้ามาใชผลิตไฟฟาดวย ดังน้ันสัดสวนเชื้อเพลิงหลักในการผลิต

16 ไฟฟาของเวียดนามจงึ มาจากพลงั นํา้ กา ซธรรมชาติ และถานหิน โดยในป พ.ศ. 2557 มีการผลิต ไฟฟาทั้งสิ้น 140,670 ลานหนวย สวนใหญผลิตจากพลังนํ้า รอยละ 38.5 และกาซธรรมชาติ รอยละ 35.4 รองลงมา คือ ถานหิน รอยละ 20.9 น้ํามัน รอยละ 5.1 และอ่ืน ๆ รอยละ 0.1 เวยี ดนามเปนประเทศที่จําเปนตองเพิ่มกําลังการผลิตไฟฟาในปริมาณมาก เพ่ือรองรับการเติบโต ทางเศรษฐกิจ โดยเนนการเพิ่มกําลังการผลิตจากถานหินและพลังงานนิวเคลียร ทั้งน้ีเวียดนามมี แผนสรา งโรงไฟฟาพลงั งานนวิ เคลยี รเปน แหง แรกในอาเซยี น พรอมทั้งมีแผนจะพัฒนาทุงกังหันลม (Wind farm) นอกชายฝง แหง แรกในเอเชียดวย 4) ลาว (สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว) ลาวมีสภาพภมู ิประเทศทีม่ ีแมน า้ํ หลายสายไหลผา น จึงทําใหล าวอุดมไปดวยพลังงาน จากน้ํา ดังนั้นสัดสวนเช้ือเพลิงหลักในการผลิตไฟฟาของประเทศลาวจึงมาจากพลังนํ้า โดยในป พ.ศ. 2557 มีการผลติ ไฟฟา ทงั้ สนิ้ 10,130 ลานหนวย โดยการผลิตเกือบท้ังหมดมาจากพลังน้ําถึง รอยละ 90.7 รองลงมา คือ ถานหนิ รอ ยละ 6.2 และนา้ํ มัน รอยละ 3.1 5) มาเลเซยี (สหพนั ธรฐั มาเลเซีย) มาเลเซยี มแี หลง พลงั งานทีส่ ําคญั คือ กา ซธรรมชาติ โดยในป พ.ศ. 2557 มีการผลิต ไฟฟาท้ังส้ิน 122,460 ลานหนวย ถือเปนประเทศที่มีกําลังการผลิตไฟฟาเปนอันดับ 3 ของกลุม ประเทศอาเซียน โดยเปนการผลติ จากกา ซธรรมชาติมากท่ีสดุ รอยละ 43.2 รองลงมา คือ ถานหิน รอยละ 39.2 น้ํามัน รอยละ 9.0 พลังน้ํา รอยละ 6.8 และอื่น ๆ รอยละ 1.9 อยางไรก็ตาม มาเลเซียกําลังเผชิญกับภาวะปริมาณสํารองกาซธรรมชาติคอย ๆ ลดลง จึงมีแผนลดสัดสวนการ ผลิตไฟฟาดวยกาซธรรมชาติลง โดยเพ่ิมสัดสวนการใชถานหิน ซ่ึงตองมีการนําเขาถานหินและ พยายามกระจายแหลงนําเขาถานหินจากหลาย ๆ ประเทศ นอกจากน้ียังมีแผนกระจายแหลง เช้ือเพลิงใหหลากหลายมากข้ึน ทั้งมีการสนับสนุนพลังงานหมุนเวียน และมีแผนพัฒนาโรงไฟฟา พลงั งานนวิ เคลียร 6) อินโดนีเซีย (สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซีย) อินโดนเี ซีย เปนประเทศที่มีแหลง เชือ้ เพลิงจํานวนมาก ท้ังกาซธรรมชาติ น้ํามัน และ ถานหิน เนื่องจากมีลักษณะภูมิประเทศท่ีเปนเกาะและมีภูเขาไฟ จึงทําใหมีทรัพยากรดังกลาว มากกวาประเทศอ่ืนในกลุมประเทศอาเซียน สําหรับการผลิตไฟฟา ในป พ.ศ. 2557 มีการผลิต ไฟฟาทั้งส้ิน 194,160 ลานหนวย ถือเปนประเทศท่ีมีกําลังการผลิตไฟฟาเปนอันดับ 1 ของกลุม

17 ประเทศอาเซียน โดยเปนการผลิตจากถานหนิ มากท่สี ดุ รอ ยละ 49.2 รองลงมา คือ นํ้ามัน รอยละ 22.5 กาซธรรมชาติ รอยละ 19.8 พลงั นา้ํ รอยละ 7.0 พลังงานความรอนใตพิภพ รอยละ1.4 และ อน่ื ๆ รอ ยละ 0.1 อินโดนีเซียเปนประเทศท่ีตองเพ่ิมกําลังการผลิตไฟฟาตามความตองการที่มากขึ้น เพ่อื สนับสนนุ การพัฒนาเศรษฐกจิ โดยมีแผนการกระจายเชื้อเพลิงและลดการใชนํ้ามัน การที่เปน ประเทศที่มีแหลงเช้ือเพลิงมาก จึงมุงเนนการใชเช้ือเพลิงในประเทศกอน แตเนื่องจากปริมาณ กาซธรรมชาตกิ ็เรม่ิ ลดลง จงึ มีแผนท่จี ะลดสดั สว นการใชกาซธรรมชาติลง โดยเพ่ิมสัดสวนพลังงาน หมุนเวยี น ซึ่งเนน พลังน้ําและพลงั งานความรอ นใตพ ภิ พ เนอ่ื งจากมศี ักยภาพมากพอ 7) ฟลิปปน ส (สาธารณรฐั ฟลปิ ปนส) ฟลิปปนส มีแหลงพลังงานที่สําคัญ คือ กาซธรรมชาติ สําหรับการผลิตไฟฟา ในป พ.ศ. 2557 มกี ารผลิตไฟฟาทั้งสน้ิ 62,480 ลานหนว ย โดยสว นใหญผลิตจากถานหิน รอยละ 48.3 เนื่องจากมีตนทุนการผลิตท่ีต่ํากวา รองลงมา คือ กาซธรรมชาติ รอยละ 28.9 พลังนํ้า รอยละ 13.8 น้ํามัน รอยละ 8.6 และอื่น ๆ รอยละ 0.4 ฟลิปปนสมีแผนเพิ่มกําลังการผลิตไฟฟา โดยมุง สํารวจหาแหลงกาซธรรมชาติและถานหินในประเทศมาใชเพ่ิมเติม แตขณะเดียวกันก็มีแผน กระจายสัดสวนการใชเชื้อเพลิง โดยการเพ่ิมการผลิตไฟฟาดวยพลังงานหมุนเวียน ซ่ึงจะเนน พลงั นาํ้ และพลังงานความรอ นใตพ ิภพ 8) บรไู น (เนการาบรไู นดารสุ ซาลาม) บรไู น มแี หลง พลังงานหลกั คือ กาซธรรมชาติและนํ้ามัน สําหรับการผลิตไฟฟา ในป พ.ศ. 2557 มีการผลิตไฟฟาทั้งสิ้น 3,490 ลานหนวย โดยการผลิตเกือบทั้งหมดมาจาก กา ซธรรมชาติ รอ ยละ 99.1 และนา้ํ มัน รอ ยละ 0.9 9) สงิ คโปร (สาธารณรฐั สงิ คโปร) สิงคโปร เปนประเทศท่เี ปนตลาดการซอ้ื ขายนํา้ มันแหลงใหญแหงหนึ่งในอาเซียน จึง มกี ารใชพลังงานหลักจากน้ํามันและกาซธรรมชาติ สําหรับการผลิตไฟฟา ในป พ.ศ. 2557 มีการ ผลติ ไฟฟา ท้ังสน้ิ 47,210 ลา นหนว ย โดยสวนใหญผลิตจากกาซธรรมชาติ รอยละ 48.3 รองลงมา คอื นา้ํ มัน รอ ยละ 22.1 และอืน่ ๆ รอ ยละ 2.5 ในอดีตสิงคโปรตองนาํ เขากาซธรรมชาตจิ ากมาเลเซียและอนิ โดนีเซีย โดยสงผานทาง ทอสงกาซเทาน้ัน ตอมาในป พ.ศ. 2556 สิงคโปรไดสรางสถานี รับ - จาย กาซธรรมชาติเหลว

18 (Liquid Natural Gas : LNG) แลวเสร็จ ทําใหสามารถกระจายแหลงนําเขากาซธรรมชาติจาก หลายประเทศมากขึน้ ในอนาคตสิงคโปรมีแผนจะรับซื้อไฟฟาจากหลายประเทศ โดยใชโครงขาย ระบบสงทจี่ ะเชอื่ มตอ กนั ในภูมภิ าค (ASEAN Power Grid) นอกจากนี้รัฐบาลสิงคโปรยังลงทุนเพื่อ พัฒนาการผลิตไฟฟา ดวยพลังงานแสงอาทิตย และการวิจยั เพื่อหาความเปน ไปไดใ นการใชพลังงาน นิวเคลียร จะเห็นไดวา สิงคโปรพยายามรักษาความมั่นคงทางพลังงาน โดยการกระจายแหลง นาํ เขาเช้อื เพลงิ และพลังงานไฟฟา จากหลายประเทศ 10) ไทย (ราชอาณาจกั รไทย) ไทย มีแหลง พลังงานหลัก คือ กาซธรรมชาติและนํ้ามัน สําหรับการผลิตไฟฟา ในป พ.ศ. 2557 มกี ารผลิตไฟฟา ทั้งสิน้ 174,960 ลานหนวย ถือเปนประเทศท่ีมกี าํ ลงั การผลิตไฟฟาเปน อันดับ 2 ของกลุมประเทศอาเซียน โดยสวนใหญผลิตจากกาซธรรมชาติ รอยละ 70.4 รองลงมา คอื ถา นหิน รอ ยละ 21.4 พลงั น้าํ รอยละ 3.2 นํ้ามนั รอยละ 2.3 และอ่นื ๆ รอยละ 2.7 จะเห็นไดว า ทกุ ประเทศในกลมุ อาเซยี น ตองรับมอื กับความตอ งการใชไ ฟฟาท่ีสูงข้ึน และ เช้ือเพลิงฟอสซิลยังคงเปนแหลงพลังงานหลักที่ทุกประเทศตองพึ่งพาอยู แตขณะเดียวกันทุก ประเทศก็มแี ผนในการจัดการกับความมั่นคงทางพลงั งานไฟฟา โดยเนน การกระจายแหลงเชอื้ เพลิง ใหห ลากหลาย แสวงหาแหลงพลังงานทดแทนอ่ืน ๆ ทั้งพลังงานหมุนเวียนและพลังงานนิวเคลียร รวมถงึ แผนซอื้ ไฟฟาจากประเทศในภูมิภาคดวย นอกจากนี้เพ่ือเสริมสรางความมั่นคงทางพลังงานไฟฟาในภูมิภาคอาเซียน กลุมประเทศ สมาชกิ จงึ ไดดาํ เนินโครงการผลติ และการใชพลังงานรว มกนั เชน โครงการเชื่อมโยงโครงขายระบบ ไฟฟา ของอาเซียน (ASEAN Power Grid) เปนโครงการทม่ี วี ตั ถุประสงค ในการสง เสริมความม่ันคง ของการจา ยไฟฟา ของภูมภิ าค และสง เสริมใหม ีการซ้ือขายพลังงานไฟฟาระหวางประเทศ เพ่ือลด ตน ทุนการผลติ ไฟฟา ซึ่งมีการดําเนินงานเพือ่ เชอื่ มโยงโครงขา ยท้งั ส้ิน 16 โครงการ เปน ตน ตอนที่ 3 สถานการณพ ลงั งานไฟฟาของโลก ปจจุบนั ความตอ งการไฟฟายังคงเพิม่ ขึ้นท่ัวโลก สอดคลองกับจาํ นวนประชากรที่เพิ่มข้ึน และการขยายตัวทางเศรษฐกิจ จากการประเมินขององคการพลังงานระหวางประเทศ (International Energy Agency : IEA) ระบุวา การใชพลังงานของโลกมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น เรื่อยๆ โดยแหลงพลังงานที่ใชสูงสุด 3 อันดับแรก ไดแก น้ํามัน กาซธรรมชาติ และถานหิน

19 ทสี่ าํ คัญหากโลกมกี ารใชพลังงานในระดับที่เปน อยูในปจจุบันและไมมีการคนพบแหลงพลังงานอ่ืน เพ่ิมเติมไดอีก คาดวาโลกจะมีปริมาณสํารองน้ํามันใชไดอีก 52.5 ป กาซธรรมชาติ 54.1 ป และ ถานหินอีกประมาณ 110 ป เทา นัน้ ดังนัน้ การใชพ ลังงานจากแหลงพลังงานเหลาน้ีจําเปนตอง คํานึงถึงความสมดุลระหวางความตองการใชพลังงานกับปริมาณสํารองของพลังงานที่มีเหลืออยู อีกท้ังจําเปนตองทําการศึกษาและพัฒนาแหลงพลังงานใหม ๆ เพื่อทดแทนแหลงพลังงานเกาท่ี กําลังจะหมดไป นอกจากนี้สิ่งที่ตองตระหนักเปนอยางยิ่ง คือ ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น อันเน่ืองมาจากการใชพลงั งานเหลา น้โี ดยเฉพาะปญหาดานสง่ิ แวดลอ ม อตั ราการเพ่ิมขึ้นของกําลังผลิตไฟฟาในทวีปตาง ๆ จะมีความแตกตางกัน ท้ังน้ีเปนผล เน่ืองมาจากอัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ โดยทวีปเอเชียจะมีอัตราการผลิตไฟฟาเพิ่มขึ้น สูงสุด เนื่องจากประเทศในทวีปเอเชียสวนใหญเปนประเทศท่ีกําลังพัฒนาจึงมีความตองการใช ไฟฟา สงู และมแี นวโนมเพิ่มสูงขึ้นอีกในอนาคต ในขณะที่ประเทศในทวีปยุโรปซึ่งเปนประเทศท่ีมี อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ดีและประชาชนมีการดํารงชีวิตท่ีสูงกวามาตรฐานน้ันจะมีอัตรา การใชพ ลงั งานคอ นขา งคงที่ ในอดีตการผลติ ไฟฟาสวนใหญอาศัยแหลงพลังงานหลักจากนํ้ามัน กาซธรรมชาติ และ ถา นหนิ แตเ มอ่ื พิจารณาถงึ แหลง พลงั งานทมี่ อี ยูอ ยางจํากัด และคํานึงถึงผลกระทบตอส่ิงแวดลอม ทีจ่ ะเกิดจากการใชพลังงานเหลา นีม้ าผลติ ไฟฟา ทาํ ใหท ่วั โลกพยายามแสวงหาแหลงพลังงานอื่น ๆ มาใชทดแทน เชน พลงั น้าํ พลังงานนิวเคลียร พลังลม พลังงานแสงอาทิตย ชีวมวล เปนตน ดังจะ เหน็ ไดจ ากภาพแผนภมู วิ งกลมแสดงการผลติ ไฟฟา จากแหลงพลังงานตา ง ๆ ของโลก ป พ.ศ. 2557 ทม่ี า: The World Bank-World Development Indicators

20 ภาพแผนภูมแิ สดงการผลติ ไฟฟา จากแหลงพลังงานตา ง ๆ ของโลก ป พ.ศ. 2557 จากขอมลู ป พ.ศ. 2557 พบวา ทั่วโลกมีการผลิตไฟฟาจากถานหินมากที่สุด รอยละ 38.9 รองลงมา คือ กาซธรรมชาติ รอยละ 22.0 พลังน้ํา รอยละ 16.8 พลังงานนิวเคลียร รอยละ 10.8 นาํ้ มัน รอ ยละ 4.6 และพลังงานทดแทนอ่นื ๆ อีกรอ ยละ 3.7 ถึงแมวาปจจุบันการผลิตไฟฟายังคง พึง่ พาเช้ือเพลิงฟอสซลิ เปน หลัก ซง่ึ ผลิตจากถานหินมากที่สุด เน่ืองจากถานหินเปนเชื้อเพลิงราคา ถูก แตในหลายประเทศไดมีนโยบายเรื่องส่ิงแวดลอมและมีการกระตุนใหเปลี่ยนไปใชเช้ือเพลิง สะอาด ซง่ึ เปนปจจัยหน่ึงท่ีทําใหการผลิตจากเชื้อเพลิงฟอสซิลท่ัวโลกเร่ิมลดลง สงผลใหมีการใช เช้ือเพลิงหมุนเวียนมากข้ึน นอกจากนี้พลังงานนิวเคลียรถูกพิจารณาวาจะมีการนํามาใชมากขึ้น โดยจะสูงข้ึนกวาเดิมรอยละ 80 ภายในป พ.ศ. 2583 แตปจจุบันการกอสรางโรงไฟฟาพลังงาน นวิ เคลียรช ะลอตัวลงหลังอบุ ัติเหตุโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรที่เมืองฟุกุชิมะในประเทศญี่ปุน เมื่อ พ.ศ. 2554 เนื่องจากการพิจารณาเร่ือง กฎระเบียบดานความปลอดภัย แตอยางไรก็ดี การผลิต ไฟฟา จากพลงั งานนิวเคลยี รย งั คงเพมิ่ ขึ้นโดยเฉพาะในประเทศจีน เกาหลีใต อนิ เดีย และรสั เซยี กจิ กรรมทายเรอื่ งท่ี 2 สถานการณพ ลงั งานไฟฟา ของประเทศไทย ประเทศในกลุม อาเซียนและโลก (ใหผูเรียนไปทาํ กิจกรรมเรอื่ งที่ 2 ทีส่ มดุ บันทึกกจิ กรรมการเรยี นร)ู

21 เรอื่ งท่ี 3 หนวยงานทีเ่ ก่ียวของดานพลังงานไฟฟาในประเทศไทย หนวยงานทร่ี ับผดิ ชอบเก่ียวกับไฟฟาในประเทศไทยต้ังแตร ะบบผลิต ระบบสงจายจนถึง ระบบจําหนายใหกบั ผูใ ชไฟฟา แบง เปน 2 ภาคสว น คือ 1) ภาครัฐ ไดแก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) และการไฟฟา นครหลวง (กฟน.) 2) ภาคเอกชน มีเฉพาะระบบผลิตไฟฟาเทาน้ัน เชน บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จาํ กดั (มหาชน) บริษทั ผลติ ไฟฟา จาํ กัด (มหาชน) เปนตน นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ซึ่งเปนองคกรอิสระที่ทํา หนาที่กาํ กับกจิ การไฟฟาและกิจการกาซธรรมชาติภายใตกรอบนโยบายของรัฐบาลและกระทรวง พลังงาน ระบบผลติ ระบบจาํ หนา ย ภาพการสงไฟฟา จากโรงไฟฟา ถึงผูใชไฟฟา 1. การไฟฟาฝายผลติ แหง ประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) กอตั้งข้ึนเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 โดยรัฐบาลไดร วมรัฐวสิ าหกจิ ทีร่ ับผดิ ชอบในการจดั หาไฟฟา ซึง่ ไดแก การลิกไนท (กลน.) การไฟฟายันฮี (กฟย.) และการไฟฟาตะวันออกเฉียงเหนือ (กฟ.อน.) เปนหนวยงานเดียวกัน คือ “การไฟฟาฝา ยผลติ แหง ประเทศไทย” มีช่อื ยอ วา “กฟผ.” มนี ายเกษม จาตกิ วณิช เปนผวู า การ คนแรก

22 กฟผ. เปนรัฐวสิ าหกจิ ดา นกิจการพลังงานภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงพลังงาน และกระทรวงการคลัง มภี ารกิจในการจัดหาพลงั งานไฟฟาใหแ กป ระชาชน โดยการผลิต จัดสง และ จําหนายพลังงานไฟฟาใหแกการไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค และผูใชไฟฟารายอ่ืน ๆ ตามที่กฎหมายกําหนด รวมท้ังประเทศใกลเคียง พรอมท้ังธุรกิจอ่ืนๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการไฟฟา ภายใตกรอบพระราชบัญญัติ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย โดยระบบผลิตไฟฟาของ กฟผ. ประกอบดวยโรงไฟฟา 5 ประเภท คือ โรงไฟฟาพลังความรอน โรงไฟฟาพลังความรอนรวม โรงไฟฟาพลังนํ้า โรงไฟฟา พลังงานทดแทน และโรงไฟฟา ดเี ซล นอกจากการผลิตไฟฟาจากโรงไฟฟาของ กฟผ. แลว กฟผ. ยังรับซ้ือไฟฟาจากผูผลิต ไฟฟาเอกชน รวมท้ังรบั ซือ้ ไฟฟาจากผูผ ลติ ไฟฟาในประเทศเพ่ือนบาน ไดแก ลาว และมาเลเซีย ซ่ึง ดําเนินการจัดสงไฟฟาที่ผลิตจากโรงไฟฟาของ กฟผ. รวมถึงที่รับซื้อจากผูผลิตไฟฟารายอื่นผาน ระบบสงไฟฟาของ กฟผ. ซึ่งมีโครงขายครอบคลุมท่ัวประเทศ เพ่ือจําหนายไฟฟาใหแก การไฟฟา นครหลวง การไฟฟาสว นภมู ิภาค ผูใชไฟฟาท่ีรับซ้ือโดยตรง และประเทศเพื่อนบาน ไดแก ลาว เมยี นมาร และกัมพชู า Call center ของการไฟฟาฝายผลติ แหง ประเทศไทย หมายเลข 1416 2. การไฟฟา สวนภมู ภิ าค (กฟภ.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) เปนรัฐวิสาหกิจดานสาธารณูปโภค สังกัด กระทรวงมหาดไทย กอต้ังขึ้นตามพระราชบญั ญัติการไฟฟาสวนภูมิภาค พ.ศ. 2503 โดยรับโอน ทรัพยสิน หนี้สิน และความรับผิดชอบขององคการไฟฟาสวนภูมิภาคในขณะนั้นมาดําเนินการ อยูภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงมหาดไทย มีภารกิจในการผลิต จัดใหไดมา จัดสง

23 จัดจําหนายและการบริการดานพลังงานไฟฟา ใหแกประชาชน ธุรกิจ และอุตสาหกรรมตางๆ ในเขตจาํ หนาย 74 จงั หวัดทั่วประเทศ ยกเวน กรุงเทพมหานคร นนทบรุ ี และสมุทรปราการ การไฟฟาสวนภมู ิภาคมสี าํ นักงานใหญตง้ั อยทู กี่ รงุ เทพมหานคร มีหนาที่กําหนดนโยบาย และแผนงาน ใหค าํ แนะนาํ ตลอดจนจดั หาวสั ดุอุปกรณต า ง ๆ ใหหนวยงานในสวนภูมิภาค สําหรับ ในสวนภูมิภาค แบงการบริหารงานออกเปน 4 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคใต แตละภาคแบงออกเปนเขต รวมเปน 12 การไฟฟาเขต มีหนาท่ีควบคุมและ ใหคําแนะนําแกสํานักงานการไฟฟาตาง ๆ ในสังกัดรวม 894 แหง ในความรับผิดชอบ 74 จังหวัดทั่วประเทศ ไดแก การไฟฟาจังหวัด 74 แหง การไฟฟาอําเภอ 732 แหง การไฟฟาตําบล 88 แหง หากประชาชนในสวนภูมภิ าคไดร ับความขัดของเกย่ี วกบั ระบบไฟฟา เชน หมอแปลงไฟฟา ระเบิดเสาไฟฟาลม ไฟฟาดับ ไฟฟาตก บิลคาไฟฟาไมถูกตอง เปนตน นอกจากน้ียังรวมไปถึง การขอใชไ ฟฟา เปล่ียนขนาดมิเตอรไฟฟา สามารถติดตอไดที่การไฟฟาสวนภูมิภาคท่ีอยูในแตละ พนื้ ที่ หรือตดิ ตอ Call Center Call Center ของการไฟฟาสว นภมู ภิ าค หมายเลข 1129 3. การไฟฟา นครหลวง (กฟน.) การไฟฟานครหลวงจัดต้ังข้ึนเม่ือวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2501ตามพระราชบัญญัติ การไฟฟานครหลวง พ.ศ. 2501 ซึ่งมีการแกไขเพิ่มเติมในป พ.ศ. 2530 และ พ.ศ. 2535 เปน รฐั วิสาหกิจประเภทสาธารณปู โภค สาขาพลงั งาน สังกดั กระทรวงมหาดไทย มีภารกจิ ในการจัด ใหไดมา จําหนาย ดําเนินธุรกิจเก่ียวกับพลังงานไฟฟา และธุรกิจเก่ียวเนื่องหรือท่ีเปนประโยชน แกก ารไฟฟานครหลวง โดยมพี ้นื ท่เี ขตจําหนายใน 3 จงั หวดั ไดแก กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และ สมุทรปราการ

24 หากประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ไดรับความ ขัดของเก่ียวกับระบบไฟฟา เชน หมอแปลงไฟฟาระเบิด เสาไฟฟาลม ไฟฟาดับ ไฟฟาตก บิลคา ไฟฟาไมถูกตอง เปนตน นอกจากนีย้ งั รวมไปถึงการขอใชไ ฟฟา เปลี่ยนขนาดมิเตอรไฟฟา สามารถ ติดตอไดท่ีการไฟฟานครหลวงที่อยูในแตละพื้นท่ี และมีชองทางการติดตอ คือ ศูนยบริการขอมูล ขาวสาร และศูนยบรกิ ารขอมลู ผใู ชไ ฟฟา (MEA Call Center) ศนู ยบ รกิ ารขอ มูลขา วสารการไฟฟา นครหลวง โทรศัพท 0-2252-8670 ศูนยบ รกิ ารขอ มูลผูใชไฟฟา (MEA Call Center) โทรศพั ท 1130 หรือ อเี มล แอดเดรส : [email protected] (ตลอด 24 ชัว่ โมง) 4. คณะกรรมการกาํ กบั กจิ การพลงั งาน (กกพ.) คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จัดต้ังขึ้นเม่ือวันท่ี 1 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551 ตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 เพื่อแยกงานนโยบาย และงานกํากับดูแล ออกจากการประกอบกิจการพลังงาน โดยเปดโอกาสใหภาคเอกชน ชุมชน และประชาชนมีสวนรวมและมีบทบาทมากขึ้น รวมท้ังใหการประกอบกิจการพลังงานเปนไป อยางมปี ระสิทธิภาพ มคี วามมั่นคง มีปริมาณเพียงพอและท่ัวถึงในราคาที่เปนธรรมและมีคุณภาพ ไดม าตรฐาน โดย กกพ. ทาํ หนาท่กี ํากับกจิ การไฟฟา และกจิ การกาซธรรมชาตภิ ายใตก รอบนโยบาย ของรัฐ ในการดาํ เนินงานของ กกพ. มีเปาหมายสูงสุด คือ การกํากับดูแลกิจการพลังงาน ไทยใหเกิดความม่ันคง และสรางความม่ันใจใหแกประชาชน โดยมีการดําเนินงานท่ีสําคัญ ไดแก การจดั ทาํ แผนยทุ ธศาสตรก ารกาํ กับกจิ การพลงั งาน การจัดทาํ รา งกฎหมายลาํ ดบั รองตามกฎหมาย วาดวยการประกอบกิจการพลังงาน เชน การเสนอรางพระราชกฤษฎีกา การออกประกาศและ ระเบียบเกี่ยวกับการออกใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน ทั้งนี้ ในการออกระเบียบและ ประกาศท่ีเกี่ยวของกับการบริหารและกํากับดูแลกิจการพลังงานที่มีผูไดรับผลกระทบ จะตอง ดําเนินการดานกระบวนการรับฟงความคิดเห็นดวย การออกใบอนุญาตการประกอบกิจการ

25 พลังงานและการอนญุ าตผลิตพลังงานควบคุม กําหนดโครงสรางคาไฟฟา โดยพิจารณาปรับคาไฟฟา ฐานและคา ไฟฟาผนั แปร (Ft) สามารถติดตอ ได ตามชองทางตา ง ๆ โทร: 0 2207 3599 Call Center: 1204 อเี มล: [email protected] กจิ กรรมทายเรอ่ื งที่ 3 หนวยงานท่เี กี่ยวของดานพลงั งานไฟฟาในประเทศไทย (ใหผเู รียนไปทํากจิ กรรมเรอื่ งที่ 3 ทีส่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู)

26 หนวยการเรียนรูท ่ี 2 การผลติ ไฟฟา สาระสาํ คญั การผลิตไฟฟาสามารถผลิตไดจากเชื้อเพลิงและพลังงานหลายประเภท ซึ่งเช้ือเพลิงและ พลงั งานแตล ะประเภทกม็ ขี อดีขอจํากัดท้ังในแงตนทุนและผลกระทบ สําหรับเชื้อเพลิงฟอสซิลซ่ึง เปน เชือ้ เพลงิ หลักในการผลติ พลังงานไฟฟา ในปจจุบันกาํ ลงั จะหมดไปในอนาคต สงผลใหตองมีการ จดั หาพลงั งานทดแทนอนื่ มาใชใ นการผลิตพลังงานไฟฟา อยา งไรก็ตามการผลิตพลงั งานไฟฟาไมวา จะเชื้อเพลิงประเภทใด อาจสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอ มและประชาชน ดงั นัน้ จงึ ตอ งมขี อกําหนดให โรงไฟฟาตองมีการดําเนินการเก่ียวกับการวิเคราะหผลกระทบผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) และ การวิเคราะหผลกระทบสง่ิ แวดลอ มสังคมและสุขภาพ (EHIA) ตัวชว้ี ดั 1. อธบิ ายกระบวนการผลติ ไฟฟา จากเช้อื เพลิงแตละประเภท 2. วเิ คราะหศ ักยภาพพลงั งานทดแทนทม่ี ีในชมุ ชนของตนเอง 3. เปรยี บเทยี บขอดี ขอจํากดั ของเช้ือเพลงิ และพลังงานท่ใี ชในการผลติ ไฟฟา 4. เปรียบเทียบตนทุนการผลิตพลังงานไฟฟา ตอหนวยจากเช้อื เพลิงแตละประเภท 5. อธบิ ายผลกระทบดานสงิ่ แวดลอ มที่เกดิ จากโรงไฟฟา 6. อธิบายการจดั การดานสง่ิ แวดลอ มของโรงไฟฟา 7. อธิบายขอกําหนดเกี่ยวกับการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) และการวิเคราะห ผลกระทบสง่ิ แวดลอม สงั คม และสุขภาพ (EHIA) 8. เปรียบเทียบการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม (EIA) และการวิเคราะหผลกระทบ สิง่ แวดลอม สังคม และสขุ ภาพ (EHIA) 9. มเี จตคติทีด่ ีตอโรงไฟฟาแตล ะประเภท ขอบขา ยเน้ือหา เรื่องที่ 1 เชอื้ เพลิงและพลังงานทใ่ี ชใ นการผลิตไฟฟา เรื่องที่ 2 โรงไฟฟา กับการจัดการดา นส่งิ แวดลอ ม เวลาทใ่ี ชใ นการศกึ ษา 45 ชัว่ โมง สือ่ การเรียนรู ชดุ วิชาการใชพลงั งานไฟฟาในชวี ติ ประจําวนั 3 รหสั วิชา พว32023

27 เร่ืองท่ี 1 เชื้อเพลิงและพลังงานที่ใชในการผลิตไฟฟา พลงั งานไฟฟาเปนพลงั งานรูปหนึ่งที่มีความสําคัญและมีการใชงานกันมาอยางยาวนาน โดยสามารถผลิตไดจ ากเชื้อเพลงิ ตา ง ๆ ไดแ ก เชือ้ เพลงิ ฟอสซิลและพลงั งานทดแทน ปจจุบันมีการ ใชพลังงานไฟฟาเพ่ิมมากขึ้นทําใหตองมีการแสวงหาเช้ือเพลิงชนิดตาง ๆ ใหเพียงพอตอความ ตองการโดยแตละประเทศมีสัดสวนการใชเช้ือเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟาแตกตางกันไปตาม ศักยภาพของประเทศน้ัน ๆ อยางไรก็ตามการผลิตกระแสไฟฟายังตองคํานึงถึงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมจึงตองมีการจัดการและแนวทางปองกันท่ีเหมาะสมภายใตขอกําหนดและกฎหมาย แบงเปน 5 ตอน ดงั นี้ ตอนที่ 1 เชอ้ื เพลงิ ฟอสซลิ ตอนที่ 2 พลังงานทดแทน ตอนที่ 3 พลงั งานทดแทนในชุมชน ตอนที่ 4 ตนทนุ การผลิตพลงั งานไฟฟา ตอหนว ยจากเชื้อเพลงิ แตละประเภท ตอนท่ี 5 ขอดแี ละขอ จํากดั ของการผลิตไฟฟา จากเชอ้ื เพลงิ แตละประเภท ตอนที่ 1 เชือ้ เพลิงฟอสซลิ เชอ้ื เพลงิ ฟอสซิล (Fossil Fuel) หมายถึง เช้ือเพลิงท่ีเกิดจากซากพืช ซากสัตวท่ีทับถม จมอยใู ตพ ้ืนพภิ พเปน เวลานานหลายรอ ยลานปโ ดยอาศยั แรงอดั ของเปลือกโลกและความรอนใตผิว โลกมีทง้ั ของแขง็ ของเหลวและกา ซ เชน ถานหินนา้ํ มัน กาซธรรมชาติ เปน ตน แหลงพลังงานนี้เปน แหลงพลังงานที่สําคัญในการผลิตไฟฟาในปจจุบันสําหรับประเทศไทยไดมีการนําเอาพลังงาน ฟอสซลิ มาใชในการผลิตไฟฟาประมาณรอยละ 90 1. ถานหิน (Coal) ถา นหนิ เปนเช้ือเพลงิ ประเภทฟอสซิลท่ีอยูในสถานะของแข็ง เกิดจากการทับถมกัน ของซากพืชในยุคดึกดําบรรพ ถานหินมีปริมาณมากกวาเช้ือเพลิงฟอสซิลชนิดอื่น ๆ และมีแหลง กระจายอยูประมาณ 70 ประเทศท่ัวโลก เชน อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย แอฟริกา เปนตน จากการ คาดการณปริมาณถานหินที่พิสูจนแลว ขอมูล ณ ป พ.ศ. 2557 จาก BP Statistical Review of World Energy คาดวา ถานหินในโลกจะมีเพียงพอตอการใชงานไปอีก 110 ป และถานหินใน ประเทศไทยมเี หลอื ใชอ ีก 69 ป ซ่งึ ถานหนิ ที่นํามาเปนเชื้อเพลิงสําหรับการผลิตกระแสไฟฟา ไดแก ลิกไนต ซับบิทมู ินสั บิทมู นิ ัส

28 ถานหินสวนใหญท่ีพบในประเทศไทยเปนลิกไนตท่ีมีคุณภาพต่ํา ปริมาณสํารองสวน ใหญท่ีนํามาใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟาอยูที่เหมืองแมเมาะ จังหวัดลําปาง ในป พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีการผลิตไฟฟาดวยถานหินรอยละ 18.96 ซึ่งมาจากถานหิน ภายในประเทศและบางสวนนาํ เขาจากตา งประเทศ โดยนําเขาจากอินโดนเี ซียมากท่ีสุด กระบวนการผลติ ไฟฟาจากถา นหิน การผลิตไฟฟาดวยถานหิน เริ่มจากการขนสงถานหินจากลานกองถานหินไปยังยุง ถา น จากน้นั ถา นหนิ จะถูกลาํ เลียงไปยงั เครอ่ื งบด เพอื่ บดถานหินใหเปนผงละเอียดกอนท่ีจะถูกพน เขา ไปเผายังหมอไอน้าํ เม่อื ถานหินเกดิ การเผาไหมก็จะถายเทความรอนใหแกนํ้า ทําใหน้ํารอนข้ึน จนเกดิ ไอน้าํ จะมีความดนั สงู สามารถขบั ใบพัดกังหันไอน้ําทาํ ใหก ังหนั ไอนํา้ หมุนโดยแกนของกังหัน ไอนา้ํ เช่ือมตอ กบั เคร่ืองกําเนิดไฟฟาจึงทําใหเคร่ืองกําเนิดไฟฟาทํางาน สามารถผลิตกระแสไฟฟา ออกมาได ภาพขั้นตอนการผลิตไฟฟาดว ยถา นหนิ การเผาไหมของถานหินจะเกิดกาซไนโตรเจนออกไซด ฝุนละออง และกาซ ซลั เฟอรไดออกไซด ซ่ึงอาจสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนท่ีอาศัยอยูใกล โรงไฟฟาได ดังนั้นโรงไฟฟาถานหินในปจจุบัน เรียกวา “โรงไฟฟาเทคโนโลยีถานหินสะอาด (Clean Coal Technology)” ซึ่งมีการติดตั้งเครื่องกําจัดกาซไนโตรเจนออกไซด เคร่ืองกําจัด

29 กาซซลั เฟอรไดออกไซด และเครื่องดักจับฝุนแบบไฟฟาสถิต ทําใหลดมลสารที่เกิดขึ้นจากการเผา ไหม และสามารถควบคุมการปลอยมลสารใหอยูในเกณฑมาตรฐานตามที่กฎหมายกําหนด จึงไม กระทบตอสงิ่ แวดลอ ม แมประเทศไทยจะเคยประสบปญหาเรอื่ งผลกระทบดานสิ่งแวดลอมอันเกิดมาจากฝุน ละออง กาซซัลเฟอรไดออกไซด กาซไนโตรเจนไดออกไซด จากการใชถานหินลิกไนตมาผลิตไฟฟา ของโรงไฟฟาแมเมาะ เนื่องจากถานหินมีคุณภาพไมดีและเทคโนโลยีในขณะน้ันยังไมทันสมัย แตหลังจากท่ีประเทศไทยไดมีการนําเอาเทคโนโลยีถานหินสะอาดมาใชในการผลิตกระแสไฟฟา โดยการติดต้ังระบบกําจัดและควบคุมมลสารที่มีประสิทธิภาพสูง ซ่ึงชวยรักษาสิ่งแวดลอม ของชุมชนไดเ ปน อยา งดี ปจจุบนั แมเมาะเปนชุมชนที่นา อยูแ ละมอี ากาศบริสทุ ธ์ิ 2. นํ้ามนั (Petroleum Oil) น้าํ มันเปนเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลท่ีมีสถานะเปนของเหลว เกิดจากซากสัตวและ ซากพืชทบั ถมเปน เวลาหลายรอ ยลา นป พบมากในภูมิภาคตะวันออกกลาง สําหรับประเทศไทย มีแหลงน้ํามันดิบจากแหลงกลางอาวไทย เชน แหลงเบญจมาศ แหลงยูโนแคล แหลงจัสมิน เปนตน และแหลงบนบก ไดแก แหลงสิริกิต์ิ อําเภอลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร จากการ คาดการณปริมาณน้ํามันที่พิสูจนแลว ขอมูล ณ ป พ.ศ. 2557 จาก BP Statistical Review of World Energy คาดวา น้ํามันในโลกจะมีเพยี งพอตอ การใชงานไปอกี 52.5 ป และน้าํ มันในประเทศ ไทยมีเหลือใชอ ีก 2.8 ป น้ํามันที่ใชในการผลิตไฟฟามี 2 ประเภท คือ น้ํามันเตา และนํ้า มันดีเซ ล ในป พ.ศ. 2558 การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ใชนํ้ามันผลิตไฟฟาในสัดสวนเพียง รอยละ 1 เทานั้น เนื่องจากมีตนทุนการผลิตสูงสําหรับการใชนํ้ามันมาผลิตไฟฟาน้ันมักจะใชเปน เชื้อเพลงิ สํารองในกรณีท่เี ชื้อเพลงิ หลัก เชน กาซธรรมชาติ มปี ญหาไมสามารถนาํ มาใชไ ด เปน ตน กระบวนการผลติ ไฟฟาจากนํา้ มนั 1) การผลติ ไฟฟา จากนํ้ามันเตาใชน้ํามันเตาเปนเชื้อเพลิงใหความรอนไปตมน้ํา เพื่อ ผลิตไอนํ้าไปหมุนกังหนั ไอนาํ้ ที่ตออยกู บั เคร่อื งกําเนิดไฟฟา 2) การผลิตไฟฟาจากน้ํามันดีเซล มีหลักการทํางานเหมือนกับเครื่องยนตในรถยนต ท่ัวไป ซึง่ จะอาศัยหลกั การสันดาปของน้าํ มันดีเซลทถี่ ูกฉีดเขา ไปในกระบอกสูบของเคร่ืองยนตที่ถูก อดั อากาศจนมีอณุ หภูมิสูง และเกิดระเบิดดันใหลูกสูบเคล่ือนที่ลงไปหมุนเพลาขอเหวี่ยงซ่ึงตอกับ

30 เพลาของเคร่ืองยนต ทําใหเพลาของเคร่ืองยนตหมุน และทําใหเครื่องกําเนิดไฟฟาซ่ึงตอกับเพลา ของเครอ่ื งยนตหมุนตามไปดวยจึงเกิดการผลติ ไฟฟา ออกมา ภาพการผลติ ไฟฟา จากนํา้ มนั ดีเซล เนื่องจากการเผาไหมนา้ํ มันในกระบวนการผลิตไฟฟานั้น จะมีการปลดปลอยกาซ กํามะถัน กาซซลั เฟอรไดออกไซด กาซไนโตรเจนออกไซด รวมทั้งฝุนละออง ซึ่งอาจสงผลกระทบ ตอ สง่ิ แวดลอมและสขุ ภาพของประชาชนท่ีอาศัยอยูใกลโรงไฟฟาได จึงไดมีการติดต้ังเครื่องกําจัด กา ซซัลเฟอรไดออกไซด (Flue Gas Desulfurization: FGD) เพ่ือลดการปลอ ยกา ซกาํ มะถนั และมี การควบคมุ คณุ ภาพอากาศใหไดตามมาตรฐานสงิ่ แวดลอ ม 3. กาซธรรมชาติ (Natural Gas) กาซธรรมชาติ เปนเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลที่มีสถานะเปนกาซ ซ่ึงเกิดจากการทับถม ของซากสัตวและซากพืชมานานนับลานป พบมากในภูมิภาคตะวันออกกลาง จากการคาดการณ ปริมาณกาซธรรมชาติที่พิสูจนแลว ขอมูล ณ ป พ.ศ. 2557 จาก BP Statistical Review of World Energy คาดวา กาซธรรมชาติในโลกจะมีเพียงพอตอการใชงานไปอีก 54.1 ป และกาซ ธรรมชาตใิ นประเทศไทยมเี หลอื ใชอ ีก 5.7 ป กระบวนการผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติ เริ่มตนดวยกระบวนการเผาไหมกาซธรรมชาติ ในหองสันดาปของกังหันกาซที่มี ความรอนสูงมาก เพือ่ ใหไดกา ซรอนมาขบั กงั หนั ซ่ึงจะไปหมุนเครอ่ื งกําเนิดไฟฟา จากนั้นจะนํากาซ รอนสวนที่เหลือไปผลิตไอนํ้าสําหรับใชขับเคร่ืองกําเนิดไฟฟาแบบกังหันไอน้ํา สําหรับไอน้ําสวนท่ี

31 เหลือจะมีแรงดันตํ่าก็จะผานเขาสูกระบวนการลดอุณหภูมิ เพื่อใหไอน้ําควบแนนเปนนํ้าและ นํากลับมาปอนเขา ระบบผลติ ใหมอยา งตอ เน่อื ง หมอ แปลงไฟฟา ภาพกระบวนการผลติ ไฟฟา จากกา ซธรรมชาติ

32 ตอนที่ 2 พลงั งานทดแทน พลังงานทดแทน (Alternative Energy) ตามความหมายของกระทรวงพลังงานคือ พลังงานท่ีนํามาใชแทนนํ้ามันเชื้อเพลิงซึ่งเปนพลังงานหลักที่ใชกันอยูทั่วไปในปจจุบันพลังงาน ทดแทนท่ีสําคัญ เชน พลังงานนํ้า พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย พลังงานความรอนใตพิภพ พลงั งานจากชวี มวล และพลังงานนิวเคลยี ร เปนตน ปจจุบันท่ัวโลก โดยเฉพาะประเทศไทย กําลังเผชิญกับปญหาดานพลังงานเช้ือเพลิง ฟอสซิล เชน น้ํามัน กาซธรรมชาติ เปนตน ท้ังในดานราคาที่สูงข้ึน และปริมาณที่ลดลงอยาง ตอ เนอื่ ง นอกจากนีป้ ญหาสภาวะโลกรอนซ่งึ สวนหนึ่งมาจากการใชเชือ้ เพลงิ ฟอสซิลที่มากขึ้นอยาง ตอ เนอื่ งตามการขยายตวั ของเศรษฐกจิ โลก ดงั น้ันจึงจําเปนตองมีการกระตุนใหเกิดการคิดคนและ พัฒนาเทคโนโลยที ีใ่ ชพลงั งานชนดิ อ่ืน ๆ ขึน้ มาทดแทนซ่ึงพลังงานทดแทนเปนพลังงานชนิดหนึ่งท่ี ไดรับความสนใจ และภาครัฐไดมีนโยบายสงเสริมใหมีการพัฒนาเทคโนโลยีดานพลังงานทดแทน อยา งกวา งขวางในประเทศ เนอื่ งจากเปน พลงั งานท่ใี ชแลว ไมท ําลายสิ่งแวดลอ ม โดยพลงั งานทดแทนทีส่ าํ คัญและใชกันอยใู นปจ จุบัน ไดแ ก ลม นํ้า แสงอาทิตย ชีวมวล ความรอนใตพ ิภพ และนิวเคลียร ซึ่งมรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1. พลังงานลม การผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานลมจะใชกังหันลมเปนอุปกรณในการเปลี่ยน พลังงานลมเปน พลังงานไฟฟา โดยจะตอใบพัดของกังหันลมเขากับเคร่ืองกําเนิดไฟฟา เมื่อลมพัด มาปะทะจะทําใหใบพัดหมุน แรงจากการหมุนของใบพัดจะทําใหแกนหมุนที่เชื่อมอยูกับเคร่ือง กาํ เนดิ ไฟฟาหมุน เกดิ การเหนีย่ วนาํ และไดไ ฟฟาออกมา อยางไรก็ดีการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม ก็จะขึ้นอยูกับความเร็วลม สําหรับประเทศไทยมีศักยภาพพลังงานลมตํ่าทําใหผลิตไฟฟาไดจํากัด ไมเตม็ กาํ ลังการผลิตติดตง้ั พลังงานที่ไดรับจากกังหันลม สามารถแบงชวงการทํางานของกังหันลม ไดดังน้ี 1) ความเร็วลมต่ําในชวง 1 - 3 เมตรตอวินาที กังหันลมจะยังไมทํางานจึงยัง ไมส ามารถผลิตไฟฟาออกมาได 2) ความเร็วลมระหวาง 2.5 - 5 เมตรตอวินาที กังหันลมจะเร่ิมทํางาน เรียกชวงนี้ วา “ชว งเริ่มความเรว็ ลม” (Cut in wind speed)

33 3) ความเร็วลมชวงประมาณ 12 - 15 เมตรตอวินาที เปนชวงที่เรียกวา “ชวง ความเร็วลม” (Rate wind speed) ซึ่งเปนชวงที่กังหันลมทํางานอยูบนพิกัดกําลังสูงสุด ในชวงท่ี ความเร็วลมไตระดับไปสูชวงความเร็วลม เปนการทํางานของกังหันลมดวยประสิทธิภาพสูงสุด (Maximum rotor efficiency) 4) ชว งท่ีความเร็วลมสูงกวา 25 เมตรตอวินาที กังหันลมจะหยุดทํางาน เนื่องจาก ความเร็วลมสูงเกินไป ซึ่งอาจทําใหเกิดความเสียหายตอกลไกของกังหันลมได เรียกวา “ชวงเลย ความเรว็ ลม” (Cut out wind speed) กังหันลมขนาดใหญในปจจุบันน้ันมีขนาดเสนผานศูนยกลางของใบพัดมากกวา 65 เมตร ในขณะท่ีกังหันลมขนาดที่เล็กลงมามีขนาดประมาณ 30 เมตร (ซึ่งสวนมากใชอยูใน ประเทศกําลังพฒั นา) สวนเสาของกังหันมีความสูงอยูร ะหวาง 25 - 80 เมตร ภาพกงั หนั ลมเพือ่ ผลติ พลังงานไฟฟา ศักยภาพของพลังงานลมกับการผลติ พลังงานไฟฟา ศกั ยภาพของพลังงานลม ไดแก ความเร็วลม ความสมา่ํ เสมอของลม ความยาวนาน ของการเกดิ ลม ปจจัยตาง ๆ เหลานี้ ลวนมีผลตอการทํางานของกังหันลมเพ่ือผลิตพลังงานไฟฟา ดงั นั้นการตดิ ตง้ั กงั หนั ลมเพอื่ ผลิตพลงั งานไฟฟาในพน้ื ท่ตี าง ๆ จึงตอ งพิจารณาถงึ ปจจัยตาง ๆ ดังที่ กลา วมา และตองออกแบบลักษณะของกังหันลมท่ีจะติดตั้ง ไดแก รูปแบบของใบพัด วัสดุที่ใชทํา ใบพัด ความสูงของเสาท่ีติดตั้งกังหันลม ขนาดของเคร่ืองกําเนิดไฟฟา และระบบควบคุมใหมี ลักษณะที่สอดคลองกับศักยภาพของพลังงานลมในพนื้ ทนี่ น้ั ๆ ปจจุบันมีการติดต้ังเคร่ืองวัดความเร็วลมในพื้นท่ีตาง ๆ ของประเทศไทย เพื่อหา ความเร็วลมในแตล ะพน้ื ที่ ซึ่งแผนที่แสดงความเรว็ ลมมีประโยชนม ากมาย เชน ใชพิจารณากําหนด

34 ตําแหนงสถานที่สําหรับติดต้ังกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟา ใชออกแบบกังหันลมใหมี ประสทิ ธิภาพการทาํ งานสงู สุด ใชประเมนิ พลังงานไฟฟาท่ีกังหนั ลมจะสามารถผลิตได และนํามาใช วิเคราะหและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานลมในดานตาง ๆ ใหมีความเหมาะสมกับศักยภาพของ พลังงานลม เปนตน 1 ขอ มลู 1 ป ขอ มลู นอ ยกวา 1 ป แผนท่ีศักยภาพพลงั งานลมของประเทศไทย ความเร็วลมในประเทศไทยในพื้นท่ีสวนใหญเปนความเร็วลมตํ่าประมาณ 4 เมตร ตอ วินาที บางพ้ืนท่มี รี ะดับความเร็วลมเฉลีย่ 6 - 7 เมตรตอ วนิ าที ซึ่งไดแก บริเวณเทือกเขาสูงของ ภาคตะวันตกและภาคใต พ้ืนท่ีบางสวนตรงบริเวณรอยตอระหวางภาคกลางกับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณรอยตอระหวางภาคตะวันออกกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

35 และชายฝงบางบริเวณของภาคใต ดังน้ันการใชประโยชนจากพลังงานลมจึงควรพัฒนากังหันลม ผลติ ไฟฟา ใหมีความเหมาะสมกับความเร็วลมทม่ี อี ยู ประเทศไทยมีการนําพลังงานลมมาใชเพื่อผลิตพลังงานไฟฟายังไมคอยแพรหลาย เนอื่ งจากความเรว็ ลมโดยเฉลี่ยมีคาคอนขางตํ่า ทําใหหลายพ้ืนท่ียังไมมีความเหมาะสมที่จะติดต้ัง กงั หันลมเพื่อผลติ พลงั งานไฟฟาในเชิงพาณชิ ย ที่ตอ งใชค วามเร็วลมในระดบั 6 เมตรตอ วนิ าที ขน้ึ ไป ภาพโรงไฟฟา กงั หนั ลมบนเขายายเท่ียง อําเภอสีค้ิว จงั หวัดนครราชสมี า 2. พลังงานนํ้า การผลิตไฟฟาจากพลังงานน้ําโดยการปลอยน้ําจากเข่ือนใหไหลจากที่สูงลงสูที่ตํ่า เมื่อนํ้าไหลลงมาปะทะกับกังหันนา้ํ ก็จะทําใหกังหันหมุนแกนของเคร่ืองกําเนิดไฟฟาท่ีถูกตออยูกับ กงั หันนาํ้ ดังกลา วก็จะหมนุ ตาม เกิดการเหนี่ยวนําและไดไฟฟาออกมา จากนั้นก็ปลอยนํ้าใหไหลสู แหลงนํ้าตามเดิม แตประเทศไทยสรางเขื่อนโดยมีวัตถุประสงคหลักคือการกักเก็บนํ้าไวใชใน การเกษตร ดังน้นั การผลิตไฟฟาดวยพลังงานนา้ํ จากเข่ือนจึงเปน เพยี งผลพลอยไดเ ทา น้นั

36 ภาพการผลติ ไฟฟาดว ยพลังงานนํา้ โรงไฟฟาพลังนํ้าในปจจุบันท่ีมีท้ังโรงไฟฟาขนาดใหญและขนาดเล็ก ซ่ึงหลักการ ทาํ งานและลกั ษณะของโรงไฟฟา ทั้ง 2 ประเภท มดี งั นี้ 2.1 โรงไฟฟาพลังนํ้าขนาดใหญ มีกําลังผลิตพลังงานไฟฟามากกวา 15 เมกะวัตต จะใชน ํา้ ในแมนาํ้ หรือในลํานํา้ มาเปนแหลงผลิตพลังงานไฟฟา โดยจะสรางเขื่อนกั้นนํ้าไว 2 แบบ คือ 1) ในลักษณะของฝายก้ันนา้ํ และ 2) ในลักษณะของอางเก็บน้ําโดยใชหลักการปลอยนํ้าไป ตามอุโมงคสงน้ําจากท่ีสูงลงสูท่ีมีระดับตํ่ากวา เพ่ือนําพลังงานน้ําท่ีไหลไปหมุนกังหันนํ้า ใหเ ครอ่ื งกาํ เนดิ ไฟฟา ทาํ งานและผลิตพลังงานไฟฟาออกมาจากน้ันก็จะปลอยน้ําใหไหลลงสูแมน้ํา หรือลาํ นาํ้ ตามเดมิ โรงไฟฟา พลังนา้ํ เขอื่ นปากมลู จังหวดั อุบลราชธานี โรงไฟฟา พลังนํ้า เขื่อนภูมพิ ล จังหวดั ตาก ก้นั แมน ้าํ มลู มกี าํ ลังการผลติ 136 เมกะวัตต กน้ั แมนํา้ ปง มีกําลังการผลติ 779.2 เมกะวัตต ภาพโรงไฟฟา พลงั นา้ํ ขนาดใหญ

37 2.2 โรงไฟฟาพลงั นาํ้ ขนาดเล็ก เปนแหลงผลิตพลังงานไฟฟาที่สําคัญของประเทศ ไทย จุดประสงคห ลักของโรงไฟฟาขนาดเล็ก คอื เพ่ือใหชุมชนท่ีอยูหางไกลจากระบบสายสงไฟฟา มพี ลังงานไฟฟาใชใ นครวั เรอื น และชวยแกป ญ หาขอ จํากัดของโรงไฟฟาขนาดใหญท่ีตองใชพ้ืนท่ีใน การกักเก็บนํ้าเปนบริเวณกวาง โรงไฟฟาพลังน้ําขนาดเล็กมีกําลังผลิตพลังงานไฟฟาตั้งแต 200 กโิ ลวัตต จนถงึ 15 เมกะวัตต จะใชนาํ้ ในลาํ นํา้ เปน แหลงในการผลิตพลังงานไฟฟา โดยจะกั้น นํ้าไวใ นลักษณะของฝายกัน้ น้าํ ใหอยูในระดับท่ีสูงกวาระดับของโรงไฟฟา จากนั้นจะปลอยนํ้าจาก ฝายกั้นน้ําใหไหลไปตามทอสงนํ้าเขาไปยังโรงไฟฟา เพ่ือนําพลังงานนํ้าท่ีไหลไปหมุนกังหันของ เครื่องกําเนิดไฟฟา เพื่อผลิตพลังงานไฟฟา จากนั้นจะปลอยน้ําลงสูลํานํ้าตามเดิม ซ่ึงหลักการนี้ จะคลา ยคลึงกับหลกั การทาํ งานของโรงไฟฟา พลงั น้ําขนาดใหญ สําหรับโรงไฟฟาพลังนํ้าขนาดเล็ก ในประเทศไทย เชน โรงไฟฟาบานขุนกลางจงั หวดั เชียงใหม โรงไฟฟาพลังน้ําคลองชองกลํ่าจังหวัด สระแกว เปน ตน ภาพแสดงแผนผังองคประกอบของโรงไฟฟา พลังงานน้ําขนาดเลก็ 3. พลังงานแสงอาทิตย การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยใชเซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) ซ่ึงเปน ส่ิงประดษิ ฐท างอเิ ลก็ ทรอนิกสชนิดหนึ่งทํามาจากสารกงึ่ ตวั นําพวกซิลิคอนสามารถเปล่ียนพลังงาน แสงอาทติ ยใ หเปน พลงั งานไฟฟาไดโดยตรง เซลลแสงอาทติ ยแ บงตามวสั ดทุ ใ่ี ชผลิตได 3 ชนิดหลักๆ คือ เซลลแสงอาทิตยแบบผลึกเด่ียว เซลลแสงอาทิตยแบบผลึกรวม และเซลลแสงอาทิตยแบบ อะมอรฟส มีลกั ษณะดังภาพ

38 ภาพเซลลแ สงอาทติ ยแ บบผลกึ เดีย่ ว ภาพเซลลแ สงอาทิตยแ บบผลกึ เดย่ี ว ภาพเซลลแ สงอาทิตยแ บบผลึกรวม ภาพเซลลแสงอาทิตยแ บบอะมอรฟส เ ซ ล ล แ ส ง อ า ทิ ต ย แ ต ล ะ ช นิ ด จ ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ก า ร แ ป ร เ ป ล่ี ย น พ ลั ง ง า น แสงอาทติ ยเปน พลังงานไฟฟาตา งกนั ดังนี้ 1) เซลลแสงอาทิตยแ บบผลึกเดี่ยว มีประสทิ ธภิ าพ รอยละ 10 – 16 2) เซลลแสงอาทติ ยแบบผลึกรวม มีประสิทธิภาพ รอ ยละ 10 - 14.5 3) เซลลแ สงอาทติ ยแ บบอะมอรฟ ส มปี ระสิทธิภาพ รอ ยละ 4 – 9 แมพลังงานแสงอาทติ ยจะเปนพลังงานสะอาดแตก็มีขอจํากัดในการผลิตไฟฟา โดย สามารถผลิตไฟฟาไดแคชวงที่มีแสงแดดเทานั้น ประสิทธิภาพของการผลิตไฟฟาขึ้นอยูกับความ เขมรังสีดวงอาทิตย ซ่ึงจะมีคาเปลี่ยนแปลงไปตามเสนละติจูด ชวงเวลาของวัน ฤดูกาล สภาพ อากาศ ศักยภาพของพลงั งานแสงอาทติ ยก ับการผลิตพลงั งานไฟฟา ศักยภาพของพลังงานแสงอาทิตยของพื้นที่แหงหน่ึงจะสูงหรือต่ํา ข้ึนกับปริมาณ ความเขมและความสม่ําเสมอของรังสีดวงอาทิตยโ ดยหากมีการติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตยในพื้นที่ ท่ีมีความเขมรังสีดวงอาทิตยมาก ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟาจะสูงขึ้น ในขณะเดียวกันอุณหภูมิ ของแผงเซลลแสงอาทิตยท่ีจะเพ่ิมข้ึนจากการตากแดด จะทําใหแผงเซลลแสงอาทิตยมี ประสิทธภิ าพลดตํ่าลง โดยศักยภาพของพลงั งานแสงอาทติ ยเ ปนดงั ภาพ

39 ภาพแผนที่ศกั ยภาพพลงั งานแสงอาทติ ยเฉลี่ยตลอดปข องประเทศไทย ความเขมแสงอาทิตยของประเทศไทยมีการเปล่ียนแปลงตามพ้ืนท่ีและฤดูกาลโดย ไดร ับรังสดี วงอาทติ ยคอ นขางสงู ระหวา งเดอื นเมษายน และพฤษภาคม เทานั้น บริเวณที่รับรังสีดวง อาทิตยสูงสุดตลอดทั้งปที่คอนขางสมํ่าเสมออยูในบริเวณจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย ศรีสะเกษ รอยเอ็ด ยโสธร อุบลราชธานี และอุดรธานี บางสวนในภาคกลางที่จังหวัดสุพรรณบุรี ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา และลพบุรี สวนในบริเวณจังหวัดอื่น ๆ ความเขมรังสีดวงอาทิตยยังมีความไม สม่ําเสมอและมีปริมาณความเขมตํ่า ยังไมคุมคากับการลงทุนสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย เพือ่ หวงั ผลในเชงิ พาณิชย ในการจัดต้ังโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยในประเทศไทย ควรคํานึงถึงสภาพ ภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศดังกลาวไปแลวขางตน เพราะโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยน้ัน

40 ตองการพื้นที่มาก ในการสรางโรงไฟฟาขนาด 1 เมกะวัตต ตองใชพื้นที่มากถึง 15 -25 ไร ซ่ึงหาก เลอื กพื้นที่ทีไ่ มเหมาะสม เชน เลอื กพน้ื ทที่ ี่มีความอุดมสมบรู ณของธรรมชาติ มีตนไมใหญหนาแนน อาจตอ งมีการโคนถางเพ่ือปรับพ้ืนท่ีใหโลง สิ่งน้ีอาจเปนการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ นอกจาก จะไมชว ยเร่อื งภาวะโลกรอนแลว อาจสรา งปจ จยั ท่ีทาํ ใหเกดิ สภาวะโลกรอ นเพ่ิมขึน้ ดว ย ตําแหนงทตี่ ิดต้งั แผงเซลลแสงอาทิตยต องเปนตําแหนงที่สามารถรับแสงอาทิตยไดดี ตลอดทง้ั วัน ตลอดทัง้ ป ตอ งไมม ีสงิ่ ปลกู สรา งหรอื ส่ิงอน่ื ใดมาบงั แสงอาทิตยต ลอดท้งั วัน และไมควร เปนสถานท่ีที่มีฝุน หรือไอระเหยจากน้ํามันมากเกินไป เพ่ือประสิทธิภาพในการแปรเปล่ียน แสงอาทติ ยเ ปน ไฟฟา โ ร ง ไ ฟ ฟ า พ ลั ง ง า น แ ส ง อ า ทิ ต ย ที่ ใ ห ญ ที่ สุ ด ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย อ ยู ที่ จั ง ห วั ด ล พ บุ รี มีขนาดกําลังการผลติ 84 เมกะวัตต ใชพ น้ื ที่ 1,400 ไร แสดงดงั ภาพ ภาพโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย จงั หวดั ลพบุรี 4. พลงั งานชีวมวล ชีวมวล (Biomass) หมายถึง อินทรียสารที่ไดจากส่ิงมีชีวิต ท่ีผานการยอยสลาย ตามธรรมชาติ โดยมอี งคป ระกอบพื้นฐานเปน ธาตคุ ารบอน และธาตไุ ฮโดรเจน ซ่งึ ธาตดุ งั กลาวไดมา จากกระบวนการดาํ รงชีวิตของส่งิ มีชวี ิตเหลา นน้ั แลว สะสมไวถึงแมจะยอ ยสลายแลวกย็ งั คงอยู ชีวมวลมีแหลงกําเนิดมาจากภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคชุมชน สําหรับประเทศไทยซึ่งเปนประเทศเกษตรกรรม ทําใหมีผลผลิตและวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร ในอดีตชีวมวลสวนใหญจะถูกท้ิงซากใหเปนปุยอินทรียหรือเผาทําลายโดยเปลาประโยชน อีกทั้ง

41 ยังเปนการสรางมลพิษใหกับส่ิงแวดลอม อันที่จริงแลวผลผลิตและวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร ดงั กลาวมคี ุณสมบัตเิ ปน เชื้อเพลิงไดอยา งดี ซ่งึ ใหความรอนในปรมิ าณสงู สามารถนํามาใชป ระโยชน ในการผลิตพลังงานทดแทนได หรือนํามาใชโดยผานกระบวนการแปรรูปใหเปนเชื้อเพลิงที่อยูใน สถานะตา ง ๆ ไดแ ก ของแขง็ ของเหลว และกา ซ เรียกวา “พลงั งานชวี มวล” ชีวมวล สามารถนําไปใชเปนแหลงพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy Source) ทง้ั ในรปู ของเช้ือเพลิงที่ใหความรอนโดยตรง และเปลี่ยนรูปเปนพลังงานไฟฟา อีกทั้งยัง สามารถนํามาใชเปนวัตถุดิบ (Materials) สําหรับผลิตภัณฑอื่น ๆ ท่ีไมใชพลังงานไดดวย เชน อาหาร ปยุ เครอื่ งจกั สาน เปนตน ภาพแหลง กาํ เนดิ ชวี มวล

42 ผลผลิตทางการเกษตรทีม่ ีวสั ดุเหลือท้ิงสามารถนํามาใชเ ปน แหลง พลังงานชีวมวลได ดังตัวอยา งตอ ไปน้ี ชวี มวลที่ไดจ ากพืชชนดิ ตา ง ๆ ชนิดของพืช ชวี มวล ขา ว แกลบ ฟาง ขาวโพด ลําตน ยอด ใบ ซัง ออ ย ยอดใบ กาก สบั ปะรด ตอ ซงั มันสําปะหลัง ลาํ ตน เหงา ถวั่ เหลอื ง ลาํ ตน เปลือก ใบ มะพราว กะลา เปลือก กาบ กา น ใบ ปาลม นาํ้ มนั กา น ใบ ใย กะลา ทะลาย ไม เศษไม ขเ้ี ลอ่ื ย ราก ชีวมวลในทองถ่ินหรือชุมชนแตละชุมชนอาจไมเหมือนกันขึ้นอยูกับพื้นที่ในแตละ ทองถ่ินวามีชีวมวลชนิดใดบา งท่ีสามารถแปรรูปเปน พลงั งานหรือนํามาใชประโยชนได เชน พ้ืนท่ีที่ มีการปลูกขาวมากจะมีแกลบท่ไี ดจากการสีขาวเปลือก สามารถนํามาใชเปนเช้ือเพลิง ใชผสมลงใน ดินเพ่ือปรับสภาพดินกอนเพาะปลูก หรือในพ้ืนท่ีท่ีมีการเลี้ยงสัตวมากทําใหมีมูลสัตว สามารถ นํามาใชผ ลติ กาซชวี ภาพและทาํ เปนปยุ เปน ตน ปจจุบันในประเทศไทยมีการผลิตไฟฟาโดยใชชีวมวลเปนเชื้อเพลิงกันอยาง แพรห ลายซงึ่ มหี ลกั การทาํ งานจาํ แนกเปน 2 ประเภท ดังน้ี 1) โรงไฟฟาพลังความรอนชวี มวล การผลติ ไฟฟาจากชวี มวลสวนใหญเลือกใชระบบการเผาไหมโดยตรง (Direct- Fired) โดยชวี มวลจะถูกสงไปยังหมอ ไอนาํ้ (Boiler) หมอ ไอนํ้าจะมีการเผาไหมทําใหน้ํารอนขึ้นจน เกิดไอน้าํ ตอจากน้นั ไอน้ําถกู สง ไปยังกงั หนั ไอนํ้า เพือ่ ปน กังหนั ท่ีตอ อยูกบั เครือ่ งกําเนิดไฟฟา ทําให ไดกระแสไฟฟา ออกมา

43 ภาพการผลิตไฟฟา จากพลงั งานความรอนชีวมวล การผลิตไฟฟาจากชีวมวลอาจสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม คือ การเผาไหม ชีวมวลอาจเกิดฝุนเถาขนาดเล็กลอยออกสูบรรยากาศ เกิดกาซคารบอนไดออกไซด กาซซลั เฟอรไ ดออกไซด กา ซไนโตรเจน และกา ซอน่ื ๆ เชนเดยี วกับการเผาไหมทั่วไป เพื่อไมใหเกิด ผลกระทบกับสิ่งแวดลอม จึงจําเปนตองติดต้ังระบบในการดักจับกาซและฝุนละอองท่ีออกจาก กระบวนการเผาไหมกอ นปลอ ยกา ซออกสูบ รรยากาศ ระบบกําจัดมลพิษดังกลาวประกอบดวยระบบดักจับฝุนระบบกําจัดกาซ ซัลเฟอรไ ดออกไซดและระบบลดปรมิ าณกา ซไนโตรเจนออกไซด 2) โรงไฟฟากา ซชีวภาพ การผลิตไฟฟาจากกาซชีวภาพเปนการหมักหรือยอยสลายของเสีย น้ําเสีย ของทิ้ง และมูลสัตวท่ีไดจากโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตร เชน โรงงานผลิตแปงมันสําปะหลัง โรงงาน ผลิตเหลาเบียร อาหารกระปอง ฟารมปศุสัตว ใหไดกาซชีวภาพไดแก มีเทน คารบ อนไดออกไซด ไนโตรเจน ไฮโดรเจนซลั ไฟด และกาซอื่น ๆ ไปตมน้ําจนเกิดไอนํ้า ตอจากน้ัน ไอนํ้าถูกสงไปยังกังหันไอน้ํา เพ่ือปนกังหันท่ีตออยูกับเครื่องกําเนิดไฟฟา ทําใหไดกระแสไฟฟา ออกมา