เฉลย ใบ งาน การ พัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ส ค 31003 ม. ปลาย

การพัฒนาตนเองชุมชนสังคม

การพัฒนาตนเองเป็นการพัฒนาความสามารถของตนเองให้มีศักยภาพ สมรรถนะที่ทันต่อสภาพความจำเป็นตามความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงของสังคม เพื่อให้ตนเองมีชีวิตที่ดีขึ้น ดังนั้น การที่จะพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคมได้ จะต้องมีความรู้ความเข้าใจหลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ความสำคัญของข้อมูล ประโยชน์ของข้อมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคมในด้านต่างๆ รู้วิธีการจัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่หลากหลายและเผยแพร่ข้อมูล การมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชนสังคม รู้เทคนิคการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนครอบครัว ชุมชน สังคม เข้าใจบทบาทหน้าที่ของผู้นำชุมชนในฐานะผู้นำและผู้ตาม ในการจัดทำขับเคลื่อน แผนพัฒนาตนเองชุมชนและสังคม

มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวิเคราะห์ ข้อมูล และกำหนดแนวทางการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ปัจจุบัน

หลักสูตร รายวิชา การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม รหัส สค 31003 ของ สำนักงานกศน. พัฒนาเป็นเอกสารเว็บโ ดย นางสายฝน ฝั้นแก้ว เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง

Just for you: FREE 60-day trial to the world’s largest digital library.

The SlideShare family just got bigger. Enjoy access to millions of ebooks, audiobooks, magazines, and more from Scribd.

Read free for 60 days

Cancel anytime.

1

2 เอกสารสรุปเนื้อหาท่ตี อ งรู รายวิชา การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รหสั วิชา สค31003 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 สํานักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ หามจําหนาย หนังสอื เรยี นนจ้ี ดั พมิ พดวยเงินงบประมาณแผนดนิ เพื่อการศกึ ษาตลอดชีวติ สําหรบั ประชาชน ลิขสิทธิเ์ ปนของสํานกั งาน กศน.สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร

4 สารบัญ หนา คาํ นาํ 1 คําแนะนําการใชห นงั สอื เรียน 1 โครงสรางรายวชิ า 4 บทที่ 1 การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม 7 เรอื่ งท่ี 1 การพัฒนาตนเอง เรื่องท่ี 2 การพฒั นาชมุ ชน เรอ่ื งท่ี 3 การพัฒนาสงั คม บทท่ี 2 ขอมลู ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม 10 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคญั และประโยชนของขอมูล 10 เรอ่ื งท่ี 2 ขอมลู ตนเอง ครอบครัว 13 เร่ืองท่ี 3 ขอ มลู ชุมชน สังคม 13 บทท่ี 3 การจดั เกบ็ ขอ มูล และวเิ คราะหข อ มูล 15 เรอ่ื งที่ 1 การจัดเก็บขอมูล 15 เรอ่ื งที่ 2 การวิเคราะหขอ มลู 17 เรื่องท่ี 3 การนาํ เสนอขอ มลู 18 บทที่ 4 การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม 22 เรือ่ งที่ 1 การวางแผน 22 เรอื่ งที่ 2 การมีสวนรว มในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม24 บทท่ี 5 เทคนิคการมีสว นรวมในการจดั ทําแผน 28 เรื่องที่ 1 เทคนิคการมีสว นรวมในการจัดทาํ แผน 28 เรอ่ื งที่ 2 การจดั ทําแผน 38 เรื่องท่ี 3 การเผยแพรสูการปฏบิ ัติ 44

5 สารบญั (ตอ) หนา บทท่ี 6 บทบาท หนา ทีข่ องผนู ํา/สมาชิกทดี่ ขี องชมุ ชน สงั คม 47 เร่อื งท่ี 1 ผนู ําและผตู าม 47 เรอ่ื งที่ 2 ผนู ํา ผูตามในการจัดทาํ แผนพัฒนาชุมชน สงั คม 55 เรือ่ งท่ี 3 ผนู ํา ผตู ามในการขบั เคลอื่ นแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม 58 กิจกรรมทา ยเลม 60 แนวเฉลยกจิ กรรม 63 บรรณานกุ รม 65 คณะทาํ งาน 72

6 คาํ แนะนาํ ในการใชเอกสารสรุปเนื้อหาทต่ี อ งรู หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คมรายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหนงั สอื เรียนทจ่ี ัดทาํ ขึ้น สําหรบั ผเู รียนทเี่ ปน นักศกึ ษาการศกึ ษา นอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ผเู รียนควรปฏิบตั ิดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และขอบขายเนอ้ื หา 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ี กาํ หนด แลวตรวจสอบกับแนวเฉลยกจิ กรรมทา ยเลม ถาผเู รียนตอบผดิ ควรกลบั ไปศกึ ษาและทํา ความเขาใจ ในเนื้อหานัน้ ใหม ใหเ ขาใจกอนทจ่ี ะศกึ ษาเร่อื งตอ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายบทของแตละบท เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของ เน้ือหาในเร่อื งนน้ั ๆ อีกครัง้ 4. หนงั สอื เรียนเลม นี้มี 6 บท คอื บทที่ 1 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม บทท่ี 2 ขอมลู ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม บทท่ี 3 การจัดเก็บขอมูล และวิเคราะหขอ มลู บทที่ 4 การมสี ว นรว มในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม บทท่ี 5 เทคนิคการมสี ว นรวมในการจดั ทําแผน บทท่ี 6 บทบาท หนา ทข่ี องผูนํา/สมาชิกทดี่ ขี องชุมชน สังคม

7 โครงสรา งรายวชิ าการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย สาระสาํ คญั การพัฒนาตนเอง เปนการพัฒนาความสามารถของตนเองใหมศี ักยภาพ สมรรถนะที่ทัน ตอสภาพความจําเปน ตามความกาวหนา และการเปล่ยี นแปลงของสังคม เพ่ือใหตนเองมีชีวิต ที่ดีข้ึน ดังนั้น การที่จะพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมได จะตองมีความรู ความ เขาใจหลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ความสําคัญของขอมูล ประโยชนของขอมูลตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม ในดานตา ง ๆ รูว ิธกี ารจดั เก็บ วิเคราะหขอมูลดวยวิธีการท่ีหลากหลาย และการเผยแพรขอมลู ความสามารถในการวางแผนพัฒนาตนเองและครอบครวั รเู ทคนิคการมี สวนรว มในการจัดทําแผนพัฒนาชุมชนและสังคม เขาใจบทบาทหนาท่ีของผูนําชุมชน ในฐานะ ผนู ํา และผูตาม ในการจดั ทาํ และขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาชุมชนและสงั คม ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั 1. เพอ่ื ใหผ ูเรยี นมีความรู ความเขา ใจหลกั การพฒั นาชมุ ชน สงั คม 2. บอกความหมายและความสําคัญของแผนชวี ิต และแผนชมุ ชน สังคม 3. วิเคราะหและนาํ เสนอขอ มลู ตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สงั คม ดวยเทคนิคและวิธีการ ท่ีหลากหลาย 4. จงู ใจใหส มาชกิ ของชุมชนมีสว นรวมในการจดั ทําแผนชีวติ และแผนชุมชน สังคมได 5. เปนผนู าํ ผตู ามในการจดั ทาํ ประชาคม ประชาพจิ ารณข องชมุ ชน 6. กําหนดแนวทางในการดําเนินการเพ่ือนําไปสูการทําแผนชีวิตครอบครัว ชุมชน สังคม 7. รวมพฒั นาแผนชมุ ชนตามขั้นตอน ขอบขา ยเน้ือหา บทท่ี 1 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม บทที่ 2 ขอมลู ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม บทท่ี 3 การจัดเก็บขอมูล และวเิ คราะหขอมูล บทที่ 4 การมีสว นรว มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม บทท่ี 5 เทคนคิ การมีสว นรวมในการจดั ทําแผน บทที่ 6 บทบาท หนาท่ขี องผนู าํ และสมาชกิ ทด่ี ีของชมุ ชน สงั คม

1 บทที่ 1 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม เรื่องที่ 1 การพฒั นาตนเอง 1.1 ความหมายของ “การพฒั นา” การพัฒนา (Development) หมายถึง การทําใหดีข้ึน เจริญข้ึน เปนการทํา ใหส งิ่ ตาง ๆ มคี ณุ คา เพ่ิมข้นึ ในการพัฒนา อาจพัฒนาจากสิ่งที่มีอยูเดิม หรือสรางสรรคสิ่งใหม ขนึ้ มาก็ได 1.2ความหมายของ “การพัฒนาตนเอง” การพัฒนาตนเอง (Self Development) หมายถึง ความตองการของบคุ คล ในการที่จะเพิ่มพูนความรู ความสามารถของตนจากที่เปนอยู ใหมีความรู ความสามารถ เพม่ิ ข้นึ เกิดประโยชนต อตนเอง ครอบครวั และหนวยงาน ในการพัฒนาตนเองสามารถทาํ ได ท้ังการพัฒนาทางรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสตปิ ญ ญา เพอื่ จะไดเ ปน สมาชกิ ทม่ี คี ณุ ภาพ ของสงั คม สามารถดําเนนิ ชีวติ อยใู นชมุ ทชนและสงั คมรว มกับผอู ืน่ ไดอ ยา งมคี วามสขุ 1.3 ข้ันตอนการพฒั นาตนเอง การพัฒนาตนเองเปนการพัฒนาคณุ สมบตั ิท่ีอยูในตวั บคุ คล เปนการจดั การ ตนเองใหม ีเปาหมายชีวิตที่ดี ทง้ั ในปจ จุบนั และอนาคต การพัฒนาตนเอง จะทาํ ใหบ คุ คลสํานึก ในคณุ คาความเปน คนไดม ากย่ิงข้ึน ปราณี รามสูต และจาํ รสั ดวงสุวรรณ (2545 : 125-129) ไดกลาวถึง หลักการ พัฒนาตนเอง แบงออกเปน 3 ขัน้ ตอน ดงั น้ี ขัน้ ที่ 1 การตระหนักรถู ึงความจาํ เปนในการปรบั ปรุงตนเอง เปนความตองการ ในการท่ีจะพัฒนาตนเอง เพ่ือใหช วี ติ ประสบความสําเร็จ ความจาํ เปนในการปรบั ปรงุ ตนเอง มีทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ สงั คม และสตปิ ญ ญา ขั้นที่ 2 การวิเคราะหต นเอง โดยการสังเกตตนเอง ประเมินตนเอง และสังเกต พฤตกิ รรมของผอู ่นื รวมท้ังเปรียบเทยี บบุคลกิ ภาพทส่ี ังคมตอ งการ ขนั้ ที่ 3 การวางแผนพฒั นาตนเองและการตง้ั เปาหมาย

2 1.4 แนวทางการพฒั นาตนเอง ในการพฒั นาตนเอง มีแนวทางการพฒั นาในแตล ะดาน ดงั น้ี 1.4.1 การพฒั นาดานจติ ใจ ควรพฒั นาสภาพของจิตท่ีมคี วามรูสึกท่ดี ี ตอ ตนเองและสงิ่ แวดลอม มองโลกในแงดี เชิงสรางสรรค 1.4.2 การพัฒนาดานรา งกาย ควรพัฒนารปู รา งหนา ตา กริ ิยาทา ทาง การแสดงออก น้ําเสียงวาจา การสื่อความหมาย รวมไปถึงสุขภาพอนามัย และการแตงกาย เหมาะกับกาลเทศะ รูปรางและผิวพรรณ 1.4.3 การพัฒนาดานอารมณและความเฉลียวฉลาดทางอารมณ ควรพัฒนา ความสามารถในการควบคุมความรูสึกนึกคิดและการแสดงออก ควบคุมอารมณที่เปนโทษตอ ตนเองและผูอ นื่ 1.4.4 การพัฒนาดานสติปญญา ควรพัฒนาความรอบรู ความฉลาด ไหวพริบ ปฏภิ าณ การวเิ คราะห การตดั สินใจ ความสามารถในการแสวงหาความรู และฝกทักษะใหม ๆ เรียนรวู ถิ ที างการดําเนนิ ชีวติ ท่ีดี 1.4.5 การพัฒนาดานสังคม ควรพัฒนาการปฏิบัติตน ทาทีตอส่ิงแวดลอม ประพฤติตนตามบรรทดั ฐานทางสังคม 1.4.6 การพัฒนาดา นความรู ความสามารถ ควรพฒั นาความรู ความสามารถ ท่ีมีอยใู หก าวหนาย่งิ ขึ้น 1.4.7 การพัฒนาตนเองสูความตองการของตลาดแรงงาน ควรพัฒนาความรู ความสามารถ ทักษะ ความชํานาญทางอาชพี ใหส อดคลอ งกบั ความตองการของตลาดแรงงาน 1.5 วธิ ีการพฒั นาตนเอง วิธีในการพัฒนาตนเองสามารถกระทําไดหลายวิธี ท้ังน้ีขึ้นอยูกับความสนใจ ความถนัด ศักยภาพและความพรอมของแตละบุคคล สิ่งสําคัญคือตองลงมือปฏิบัติเพื่อเพ่ิมพูน ความรแู ละประสบการณข องตนเองอยเู สมอ ท้ังนีเ้ พ่ือใหบ รรลวุ ัตถปุ ระสงคของชีวิตตาม ท่กี าํ หนดไว วิธกี ารในการพัฒนาความรแู ละประสบการณ มดี งั น้ี 1.5.1 การหาความรเู พม่ิ เตมิ อาจใชว ิธีการ ดงั ตอไปน้ี 1) การอานหนังสอื เปน ประจาํ และอยา งตอ เนอ่ื ง 2) การเขา รว มประชมุ หรือเขารับการฝก อบรม 3) การสอนหนงั สอื หรอื การบรรยายตา ง ๆ 4) การรว มกิจกรรมตา ง ๆ ของชุมชนหรือองคการตาง ๆ

3 5) การรว มเปน ทปี่ รึกษาแกบ คุ คลหรือหนว ยงาน 6) การศกึ ษาตอ หรอื เพมิ่ เติมจากสถาบันการศกึ ษาหรือมหาวทิ ยาลัยเปด 7) การพบปะเยีย่ มเยียนบคุ คลหรอื หนว ยงานตาง ๆ 8) การเปน ผูแทนในการประชุมตา ง ๆ 9) การจัดทาํ โครงการพิเศษ 10) การปฏบิ ตั งิ านแทนหวั หนางาน 11) การคนควา หรอื วจิ ยั 12) การศึกษาดงู าน 1.5.2 การเพ่ิมความสามารถและประสบการณ อาจใชวิธกี าร ดังตอ ไปน้ี 1) การลงมอื ปฏิบตั จิ ริง 2) การฝกฝนโดยผูท รงคุณวุฒหิ รือหัวหนางาน 3) การอาน เอกสาร การฟง และการถามผูทรงคณุ วฒุ ิหรอื หัวหนางาน 4) การทาํ งานรว มกับบคุ คลอ่ืน 5) การคน ควาวิจัย 6) การหมุนเวียนเปลย่ี นงานหรือหนาที่ความรบั ผดิ ชอบ 1.6 ประโยชนข องการพัฒนาตนเอง บุคคลท่ีพัฒนาตนเองอยูเสมอ จะไดรับประโยชนทั้งที่เกิดกับตนเองโดยตรง รวมถงึ ประโยชนจากการเก่ยี วขอ งกบั บุคคลอนื่ และสังคม ดังนี้ 1.6.1 ประโยชนท ี่จะเกิดขน้ึ กับตนเอง 1) ประสบความสาํ เร็จในการดํารงชีวิต 2) ประสบความสําเรจ็ ในการประกอบอาชีพการงาน 3) มสี ุขภาพอนามยั สมบรู ณ 4) มคี วามเช่ือมน่ั ในตนเอง 5) มคี วามสงบสุขทางจิตใจ 6) มีความเปนอยแู ละสภาพแวดลอ มทด่ี ี 1.6.2 ประโยชนจ ากการเก่ยี วของกบั บุคคลอน่ื และสงั คม 1) ไดร บั ความเชอื่ ถอื และไววางใจจากเพือ่ นรวมงานและบคุ คลอ่นื 2) สามารถรวมมือและประสานงานกบั บคุ คลอน่ื 3) มคี วามรับผดิ ชอบและความมานะอดทนในการปฏบิ ตั ิงาน

4 4) มคี วามคิดริเรมิ่ สรางสรรคเพอ่ื พฒั นางาน 5) มีความจริงใจ ความเสยี สละ และความซ่อื สตั ยส จุ ริต 6) รักและเคารพหมูคณะ และการทาํ ประโยชนเพ่ือสวนรวม 7) ไดร บั การยกยอง และยอมรบั จากเพือ่ นรวมงาน เรอื่ งท่ี 2 การพฒั นาชุมชน การพฒั นาชุมชน เปน การนาํ คาํ สองคาํ มารวมกัน คือ คําวา “การพัฒนา” กับคําวา “ชมุ ชน” ซึง่ ความหมายของคําวา “การพัฒนา” ไดกลาวถึงแลวในเรื่องของการพัฒนาตนเอง ในที่น้ีจะกลาวถึงความหมายของชุมชน 2.1 ความหมายของ “ชุมชน” ชมุ ชน (Community) หมายถึง กลมุ คนที่อาศยั อยูในอาณาเขตเดยี วกัน มีความรูสึกเปนพวกเดียวกัน มีความศรัทธา ความเชื่อ เชื้อชาติ การงาน มีความสนใจ และ ปฏิบตั ติ นในวถิ ชี ีวิตประจาํ วันทีค่ ลา ยคลึงกัน มคี วามเออ้ื อาทรตอ กัน 2.2 ความหมายของ “การพฒั นาชมุ ชน” การพฒั นาชุมชน (Community Development) หมายถึง การทําใหชุมชนมี ความเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึน หรือเจริญขึ้น ท้ังในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม ชว ยยกระดบั ใหคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนดีขึ้น โดยท่ีประชาชนในชุมชน รวมกันวเิ คราะหปญหาและความตองการ วางแผน ลงมือดําเนินการ ติดตามผล ถอดบทเรียน และรว มรบั ประโยชน ทง้ั นีโ้ ดยใชทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนใหมากท่ีสุด และขอความชวยเหลือ จากรัฐบาลและองคกรตาง ๆ สนับสนุนในกรณีเทาท่ีจําเปน 2.3 ปรัชญาขั้นมลู ฐานของงานพฒั นาชุมชน ในการพัฒนาชุมชน มีปรัชญาซ่ึงเปนความเชื่อพื้นฐานท่ีสําคัญของการ ดําเนินงาน สรปุ ได ดงั นี้ 2.3.1 บุคคลแตละคนยอมมีความสําคัญ และมีความเปนเอกลักษณที่ไม เหมือนกัน จึงมีสิทธิอันพึงไดรับการปฏิบัติดวยความยุติธรรม และไดรับการปฏิบัติอยางมี เกยี รติ โดยไมเลอื กปฏิบัติ 2.3.2 บุคคลแตละคนยอมมีสิทธิ และสามารถที่จะกําหนดวิธีการดํารงชีวิต ของตนไปในทิศทางที่ตนตองการ

5 2.3.3 บุคคลแตละคนถาหากมีโอกาสแลว ยอมมีความสามารถท่ีจะเรียนรู เปล่ยี นแปลงทัศนะ ประพฤติปฏบิ ตั ิ และพัฒนาขดี ความสามารถ ใหมีความรับผิดชอบตอสังคม สูงขน้ึ ได 2.3.4 มนุษยทุกคนมีพลังในเร่ืองความเปนผูนํา ความคิดริเริ่มและความคิด ใหม ๆ ซึ่งซอนเรนอยู ขณะเดียวกัน พลังความสามารถเหลาน้ีสามารถเจริญเติบโต และนํา ออกมาใชได ถาพลังท่ซี อนเรน เหลาน้ไี ดร ับการพัฒนา 2.3.5 การพัฒนาพลังและขีดความสามารถของชุมชนในทุกดานเปนส่ิงที่พึง ปรารถนา และมีความสาํ คัญย่งิ ตอชีวติ ของบคุ คล ชมุ ชน และรัฐ 2.4 แนวคิดพน้ื ฐานของการพัฒนาชมุ ชน แนวคิดพน้ื ฐานของการพัฒนาชมุ ชน มคี วามสาํ คญั ตอ การพัฒนาชมุ ชน ซึ่งสมาชกิ ของชุมชน ผนู าํ ชมุ ชน หรอื นักพัฒนาจากภายนอกชุมชนควรนํามาใชเปนหลักในการ กําหนดแนวทางการพัฒนาชุมชน แนวคิดพ้ืนฐานของการพัฒนาชมุ ชน มดี ังนี้ 2.4.1 การมีสวนรวมของประชาชน (People’s Participation) เปนหัวใจของ การพัฒนาชุมชน โดยยึดหลักของการมีสวนรวมท่ีวา ประชาชนมีสวนรวมในการคิด ตัดสินใจ วางแผนปฏบิ ัตกิ าร บาํ รงุ รกั ษา ติดตาม ประเมนิ ผล และรบั ประโยชน 2.4.2 การพ่ึงตนเอง (Self-reliance) เปนแนวทางในการพัฒนาที่สําคัญ ประการหนึ่ง ท่ีตองพัฒนาใหประชาชนสามารถพ่ึงตนเองไดมากข้ึน โดยมีรัฐคอยใหการ ชว ยเหลือสนับสนุน ในสวนทีเ่ กนิ ขีดความสามารถของประชาชน ตามโอกาสและหลักเกณฑ ทเ่ี หมาะสม 2.4.3 ความคิดริเริ่มของประชาชน (People’s Initiative) ในการทํางานกับ ประชาชนตองยึดหลักการที่วา ความคิดริเริ่มตองมาจากประชาชน ซึ่งตองใชวิถีแหง ประชาธิปไตย และหาโอกาสกระตุนใหการศึกษา ใหประชาชนเกิดความคิด และแสดงออก ซงึ่ ความคิดเห็นอันเปนประโยชนต อ ชมุ ชน หมบู า น ตําบล ของตน 2.4.4 ความตอ งการของชมุ ชน (Community Needs) ในการพัฒนาชุมชนตอง ใหประชาชน และองคกรประชาชน คิด และตัดสินใจบนพ้ืนฐานความตองการท่ีแทจริงของ ชุมชน เพ่ือใหเกิดความคิดท่ีวางานพัฒนาชุมชนเปนของประชาชน และจะชวยกันดูแลรักษา ตอ ไป

6 2.4.5 การศึกษาตลอดชีวิต (Life-long Education) การทํางานพัฒนาชุมชน ถือเปนกระบวนการใหการศึกษาตลอดชีวิตแกประชาชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคน การให การศึกษาดังกลาวตองดําเนินการอยา งตอ เน่ืองไปตราบเทาทบี่ คุ คลยงั ดาํ รงชวี ติ อยใู นชมุ ชน 2.5 หลักการพฒั นาชุมชน จากปรชั ญา และแนวคดิ พนื้ ฐานของการพฒั นาชุมชน ไดนํามาใชเปนหลักการ พฒั นาชุมชน ซึง่ นกั พฒั นาตองยดึ เปนแนวทางปฏิบัติ ดงั นี้ 2.5.1 หลกั ความมีศักดิ์ศรี และศักยภาพของประชาชน และเปดโอกาส ใหประชาชนใชศักยภาพท่ีมีอยูใหมากท่ีสุด จึงตองใหโอกาสประชาชนในการคิด วางแผนเพื่อ แกป ญหาชุมชนดวยตัวของเขาเอง นกั พฒั นาควรเปน ผกู ระตุน แนะนาํ สงเสรมิ 2.5.2 หลักการพ่ึงตนเองของประชาชน ตองสนับสนุนใหประชาชนพ่ึงตนเอง ได โดยการสรางพลังชุมชนเพ่ือพัฒนาชุมชน สวนหนวยงานของรัฐหรือองคกรภายนอกจะ สนบั สนุนอยูเบอ้ื งหลัง และชว ยเหลือในสว นท่ีเกินความสามารถของประชาชนและชุมชน 2.5.3 หลักการมีสวนรวมของประชาชน เปนการเปดโอกาสใหประชาชนรวม คดิ ตดั สินใจ วางแผน ปฏิบัติตามแผน และติดตามประเมินผลในกิจกรรม หรอื โครงการใด ๆ ที่จะทําในชุมชน เพ่ือใหประชาชนไดมีสวนรวมอยางแทจริงในการดําเนินงาน อันเปนการ ปลกู ฝง จิตสาํ นึก ในเรอ่ื งความเปนเจาของโครงการและกิจกรรมพัฒนา 2.5.4 หลกั ประชาธิปไตย ในการทาํ งานพัฒนาชมุ ชนจะตอ งเร่ิมดวยการพูดคุย ประชุมหารอื รว มกนั คดิ รว มกนั ตัดสนิ ใจ และทํารวมกัน รวมถึงรับผิดชอบรวมกันภายใตความ ชวยเหลือซึง่ กนั และกัน ตามวิถที างแหงประชาธปิ ไตย นอกจากหลกั การพัฒนาชมุ ชนทีก่ ลาวมาแลว องคก ารสหประชาชาติ ยังไดกาํ หนด หลกั การดําเนินงานพัฒนาชมุ ชนไว 10 ประการ ดังนี้ 1. ตองสอดคลอ งกับความตองการท่แี ทจ ริงของประชาชน 2. ตองเปน โครงการเอนกประสงคที่ชว ยแกปญ หาไดหลายดาน 3. ตอ งเปลย่ี นแปลงทศั นคติไปพรอม ๆ กับการดาํ เนนิ งาน 4. ตองใหประชาชนมีสว นรว มอยา งเตม็ ที่ 5. ตอ งแสวงหาและพฒั นาใหเกิดผนู ําในทองถนิ่ 6. ตอ งยอมรับใหโอกาสสตรี และเยาวชนมสี วนรวมในโครงการ 7. รัฐตองเตรียมจัดบรกิ ารใหก ารสนบั สนนุ

7 8. ตอ งวางแผนอยางเปน ระบบ และมปี ระสิทธภิ าพทุกระดบั 9. สนบั สนนุ ใหองคก รเอกชน อาสาสมัครตาง ๆ เขา มามีสว นรว ม 10. ตองมกี ารวางแผนใหเ กิดความเจรญิ แกช ุมชนทส่ี อดคลอ งกบั ความเจรญิ ในระดบั ชาติ เรื่องที่ 3 การพฒั นาสงั คม 3.1 ความหมายของการพฒั นาสงั คม การพัฒนาสังคม (Social Development) หมายถึง กระบวนการ เปล่ียนแปลงที่ดีทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพื่อให ประชาชนมีชีวิตความเปนอยูท่ีดีขึ้น ทั้งดานที่อยูอาศัย อาหาร เคร่ืองนุงหม สุขภาพอนามัย การศกึ ษา การมงี านทาํ มรี ายไดเพยี งพอตอ การครองชีพ ประชาชนไดรับความเสมอภาค ความ ยุติธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี ท้ังน้ี ประชาชนตองมีสวนรวมในกระบวนการเปลี่ยนแปลงในทุก ขั้นตอน อยา งมีระบบ 3.2 ความสําคัญของการพัฒนาสงั คม เม่ือบุคคลมาอยูรวมกันเปนสังคม ปญหาตาง ๆ มักจะเกิดตามมาเสมอ ยิ่งสังคม มีขนาดใหญ ปญหาก็ยิ่งจะมีมากและมีความสลับซับซอนเปนเงาตามตัว ปญหาหนึ่ง อาจจะกลายเปนสาเหตุของอีกหลายปญหาหนึ่ง เก่ียวโยงกันเปนลูกโซ ถาปลอยไวก็จะเพ่ิม ความรุนแรง เพ่ิมความสลับซับซอน และขยายวงกวางออกไปเรื่อย ๆ ยากตอการแกไข ประชาชนในสังคมน้ันกจ็ ะไมม ี ความสงบสขุ ดังนนั้ ความสําคญั ของการพัฒนาสังคม อาจกลาว เปนขอ ๆ ได ดังน้ี 3.2.1 ทาํ ใหป ญหาของสังคมลดนอ ยลง และหมดไปในทส่ี ดุ 3.2.2 ปองกันไมใ หปญ หานั้นหรอื ปญ หาในลกั ษณะเดียวกันเกิดข้ึนอีก 3.2.3 ทาํ ใหส ังคมเกดิ ความเจรญิ กา วหนา 3.2.4 ทําใหประชาชนในสังคมสมานสามัคคีและอยูรวมกันอยางมีความสุข ตาม ฐานะของแตล ะบคุ คล 3.2.5 ทาํ ใหสังคมเกดิ ความเปนปกแผน มคี วามมัน่ คง 3.3 แนวคิดในการพัฒนาสังคม การพัฒนาสังคมมีขอบเขตกวางขวาง เพราะปญหาของสังคมมีมาก และ สลับซับซอน การแกปญหาสังคมจึงตองทําอยางรอบคอบ และตองอาศัยความรวมมือกันของ บุคคลจากหลาย ๆ ฝา ย และโดยเฉพาะอยางย่งิ ประชาชนในสังคมนน้ั ๆ จะตองรับรู พรอมท่ีจะ

8 ใหขอมูลท่ีถูกตอง และเขามามีสวนรวมในการพัฒนา การพัฒนาสังคมจึงเปนท้ังกระบวนการ วธิ กี าร กรรมวิธเี ปลีย่ นแปลง และแผนการดําเนนิ งาน ซง่ึ มรี ายละเอยี ด ดังน้ี 3.3.1 กระบวนการ (Process) การพัฒนาสงั คมตอ งกระทาํ ตอ เนื่องกันอยางมีระบบ เพ่ือใหเกิดการเปล่ียนแปลงจากลักษณะหน่ึงไปสูอีกลักษณะหนึ่ง ซึ่งตองเปนลักษณะที่ดี กวาเดิม 3.3.2 วิธกี าร (Method) การพัฒนาสังคมตองกาํ หนดวิธกี ารในการดําเนินงาน โดยเนนความรวมมือของประชาชนในสังคมน้ันกับเจาหนาที่ของรัฐบาลท่ีจะทํางานรวมกัน วิธีการดังกลา วนต้ี อ งเปน ท่ียอมรบั รวมกนั วา สามารถนําการเปลย่ี นแปลงมาสสู งั คมไดอยางถาวร และมีประโยชนต อสงั คม 3.3.3 กรรมวิธีเปล่ียนแปลง (Movement) การพัฒนาสังคมตองทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลง ใหได และจะตองเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึน โดยเฉพาะอยางยิ่งคือการ เปลีย่ นแปลงทศั นคติ เพ่ือใหคนในสังคมเกิดสํานึกในการมีสวนรวมรับผิดชอบตอผลประโยชน ของสวนรวม และรักความเจริญกา วหนาอนั จะนาํ ไปสูการเปล่ียนแปลงทางวัตถุตอ ไป 3.3.4 แผนการดําเนินงาน (Plan) การพัฒนาสังคมตองทําอยางมีแผน มีข้ันตอน สามารถตรวจสอบ และประเมินผลได แผนงานน้ีจะตองมีทุกระดับ นับต้ังแตแผนระดับชาติ หรอื แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ลงมาจนถงึ แผนพฒั นาระดับผปู ฏิบตั ใิ นระดับพ้นื ที่ 3.4 การพฒั นาสังคมไทย การพัฒนาสังคมไทย สามารถกระทําทั้งการพัฒนาสังคมในเมืองและการ พฒั นาสงั คมชนบทควบคูกันไป แตเ นือ่ งจากสังคมชนบทเปนท่ีอยูอาศัยของประชาชนสวนใหญ ของประเทศ ดังน้ัน การพัฒนาจึงทุมเทไปท่ีชนบทมากกวาในเมือง การพัฒนาสังคมสามารถ ดําเนนิ การพัฒนาหลาย ๆ ดาน ไปพรอ ม ๆ กนั โดยเฉพาะดานท่ีสงผลตอการพัฒนาดานอื่น ๆ ไดแก การศึกษา และการสาธารณสขุ การพฒั นาดานการศกึ ษา การศกึ ษาเปน ปจจัยสาํ คญั ทีส่ ุดในการวดั ความเจริญของ สงั คม สาํ หรบั ประเทศไทย การพัฒนาดา นการศกึ ษายงั ไมเจริญกาวหนา อยา งเต็มที่ โดยเฉพาะ อยางยิง่ สงั คม ในชนบทของไทยยังมีประชาชนที่ไมรูหนังสือและไมจบการศึกษาภาคบังคับ อยูคอ นขา งมาก ความสําคญั ของการศกึ ษาท่ีมีตอบุคคลและสังคม การศึกษากอใหเกิดความเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดี ทําใหคนมีความรู ความเขาใจ ในวิทยาการใหม ๆ กระตนุ ใหเกิดความคดิ สรางสรรค ปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลง ตลอดทั้งมีเหตุผล

9 ในการแกปญหาตาง ๆ การพัฒนาดานการศึกษา ก็คือ การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพ ของบคุ คล และเมื่อบุคคลซ่ึงเปนสมาชิกของสังคมมีคุณภาพแลว ก็จะทําใหสังคมมีการพัฒนา ตามไปดวย สถาบนั ทีส่ าํ คญั ในการพฒั นาการศกึ ษา ไดแ ก บาน วดั โรงเรยี น หนว ยงาน อน่ื ๆ ทั้งของรฐั และเอกชน การพัฒนาดานสาธารณสุข การสาธารณสุข เปนการปองกันและรักษาโรค ทํานุ บํารงุ ใหป ระชาชนมีสุขภาพและพลานามัยท่ีดี มีความสมบูรณทั้งทางรางกายและจิตใจ สังคม จะเจริญรุงเรืองกาวหนาได จําเปนตองมีพลเมืองที่มีสุขภาพอนามัยดี ดังนั้น ในการพัฒนา ประเทศจงึ จําเปน ตอ งจัดใหม ีการพฒั นาดา นสาธารณสุข เพราะการพัฒนาดานนี้มีความสําคัญ ทั้งตอ ตัวบคุ คลและสงั คม การบริหารงานของทุกรัฐบาล มเี ปา หมายมงุ ไปทีก่ ารสรา งความกนิ ดอี ยดู ี มีคุณภาพ ชีวติ ทีด่ ีใหแกป ระชาชน เพื่อใหคนมคี วามสุข มรี ายไดม ่ันคง มีสขุ ภาพดี ครอบครัวอบอุน ชุมชน เขมแข็ง และสังคมอยเู ย็นเปน สขุ มคี วามสมานฉนั ท และเอ้ืออาทรตอกัน ในดานการพัฒนาทาง สังคมน้นั อาจกลา วไดวา มีความมงุ หมายเพื่อใหคนมีความเจรญิ มั่นคงใน 10 ดาน ดงั นี้ 1. ดานการมงี านทําและรายได 2. ดา นครอบครัว 3. ดา นสุขภาพอนามยั 4. ดา นการศึกษา 5. ดา นความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยส นิ (สวนบุคคล) 6. ดานที่อยูอ าศัยและสงิ่ แวดลอ ม 7. ดานสิทธิและความเปนธรรม 8. ดานสังคม วฒั นธรรม 9. ดา นการสนบั สนุนทางสงั คม 10. ดานการเมือง ธรรมาภิบาล และความมนั่ คงของสงั คม

10 บทที่ 2 ขอ มูลตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม เร่ืองที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และประโยชนข องขอ มูล 1.1 ความหมายและชนิดของขอ มลู ขอมูล (Data) หมายถึง ขอเท็จจริง (Facts) หรือปรากฏการณ (Phenomena) หรือ เหตุการณ (Events) ที่เกิดขึ้น หรือมีอยู เปนอยูเองแลวตามปกติ ซ่ึงถูกตรวจพบและ ไดรับการบันทึกหรือเก็บรวบรวมไวใชประโยชน หากขอเท็จจริง หรือปรากฏการณ หรือ เหตุการณ เหลาน้ันไมมีผูใดพบเห็น และไมไดมีการบันทึกรวบรวมไวดวยวิธีการใด ๆ ก็ตาม ความเปน ขอมูลก็ไมเกิดขึ้น ไพโรจน ชลารักษ (2552 : 1) ชนิดของขอมูลสามารถจําแนกได หลายแบบ ดงั น้ี 1.1.1 จําแนกตามลักษณะของขอ มูล จาํ แนกออกเปน 2 ชนิด ดงั น้ี 1) ขอมลู เชิงคณุ ภาพ หมายถงึ ขอมลู ทีไ่ มส ามารถบอกไดวามีคามากหรือนอย แตส ามารถบอกไดว าดหี รือไมด ี หรอื บอกลักษณะความเปนกลมุ ของขอ มูล เชน เพศ ศาสนา สีผม อาชพี คุณภาพสนิ คา ความพึงพอใจ ฯลฯ 2) ขอมลู เชิงปริมาณ หมายถึง ขอ มูลทีส่ ามารถวัดคา ไดว า มีคา มากหรอื นอย ซงึ่ สามารถวดั คา ออกมาเปนตัวเลขได เชน อายุ สว นสงู น้ําหนกั อณุ หภูมิ ฯลฯ 1.1.2. จําแนกตามแหลง ท่ีมาของขอมูล แบง ออกไดเปน 2 ชนดิ ดังนี้ 1) ขอมูลปฐมภมู ิ หมายถงึ ขอมูลท่ีผใู ชเปนผเู กบ็ รวบรวมขอมูลเอง เชน การสอบถาม การทดลองในหอ งทดลอง การสงั เกต การสมั ภาษณ เปน ตน 2) ขอมูลทตุ ิยภมู ิ หมายถงึ ขอ มลู ท่ผี ูใชน ํามาจากหนวยงานอื่นหรือผูอื่นท่ีไดทํา การเก็บรวบรวมไวแลวในอดตี เชน รายงานประจาํ ปข องหนวยงานตา ง ๆ ขอ มูลทอ งถน่ิ ซงึ่ แตล ะ อบต. เปน ผรู วบรวมไว เปน ตน 1.1.3 จําแนกตามเนื้อหาสาระของขอ มูล จาํ แนกเปน ชนิด ดังนี้ 1) ขอ มลู ดา นภมู ศิ าสตร คือ ขอมูลเก่ียวกับสภาพพ้ืนท่ีและสภาพแวดลอมทาง ธรรมชาติ เชน ลักษณะของภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะทางกายภาพของ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ เปน ตน

11 2) ขอมูลดานประวัติศาสตร คือ ขอมูลเหตุการณที่เปนท่ีมาหรือเรื่องราวของ ชุมชน สังคม ประเทศชาติตามที่บันทึกไวเปนหลักฐาน เชน ประวัติความเปนมาของหมูบาน/ ชุมชน/ตําบล/ จังหวัด สภาพความเปนอยูของคนในอดีต การปกครองในอดีต สถานที่สําคัญ ทางประวตั ศิ าสตร เปน ตน 3) ขอมูลดา นเศรษฐกจิ คอื ขอ มลู เกี่ยวกับการผลิต การบรโิ ภค การซอื้ ขาย การกระจายสินคาและบริการ รายได รายจา ย ที่มาของรายได ที่ไปของรายจา ย 4) ขอ มลู ดา นการเมืองการปกครอง ขอมูลดานการเมือง คือ ขอมลู เกยี่ วกับการ ไดมาซ่ึงอํานาจในการปกครองและการบริหารราชการแผนดิน และการใชอํานาจที่ไดมาเพื่อ สรางความผาสุกใหแกประชาชน เชน ระบอบการปกครอง ระบบการเลือกต้ัง การแบงเขต เลอื กตั้ง พรรคการเมือง คณะกรรมการเลอื กตั้ง การออกเสียงเลอื กตัง้ เปนตน สวนขอมูลการ ปกครอง หมายถึง ขอมูลการทํางานของ เจาหนาท่ีของรัฐซึ่งจะดําเนินการตามกฎหมายและ นโยบายท่ีรัฐมอบใหดําเนินการ โดยมุงท่ีจะสราง ความผาสุก ความเปนระเบียบ ความสงบ เรียบรอ ยใหเกิดขึ้นในสังคม เชน การแบง เขตการปกครอง ท่ตี ้ังและอาณาเขตของการปกครอง ผูนําทอ งถน่ิ องคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน เปนตน 5) ขอมูลดานศาสนาและวัฒนธรรม คือขอมูลเกี่ยวกับ ศาสนาท่ีประชาชนนับ ถอื ศาสนสถาน ท่ีตั้งศาสนสถาน วันสําคัญทางศาสนา ความเชื่อ ประเพณี ภาษา วรรณกรรม ดนตรี นาฏศลิ ป ศิลปกรรม เปนตน 6) ขอมูลดานหนาที่พลเมือง คือ ขอมูลเก่ียวกับ หนาที่ความรับผิดชอบของ บคุ คลทีต่ อ งปฏบิ ตั ิกิจทีต่ อ งทาํ เชน การปกปองสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย การปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย การไปใชส ทิ ธเ์ิ ลอื กต้ัง การมีสว นรวมในการพัฒนาประเทศ การปอ งกนั ประเทศ การรับราชการทหาร การเสียภาษีอากร การชวยเหลือราชการ การศึกษา อบรม การพิทักษปกปองและสืบสานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาของชาติ การอนุรักษ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม การรักษาสาธารณสมบัติ การเสียสละ การมีจิตอาสาเพื่อ ประโยชนของสวนรวม เปนตน 7) ขอ มลู ดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ คือ ขอมูลเก่ียวกับส่ิงตาง ๆ ที่อยูรอบตัวเรา เชน ดนิ น้าํ พืชพรรณ ปา ไม ทุงหญา สัตว แรธ าตุ พลังงาน แมน ํ้า ทะเล เปนตน

12 8) ขอมูลดานสาธารณสุข เชน จํานวนโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน สถานี อนามัยประจําตําบล จํานวนแพทย พยาบาล เจาหนาท่ีสาธารณสุข จํานวนคนเกิดคนตาย สาเหตุการตาย โรคทพ่ี บบอ ย โรคระบาด เปน ตน 9) ขอ มูลดา นการศกึ ษา เชน จํานวนสถานศกึ ษา รายชื่อสถานศึกษา จํานวนครู จํานวนนกั เรยี นในสถานศกึ ษา จาํ นวนผจู บการศกึ ษา สภาพปญ หาดา นการศกึ ษา เปนตน 1.2 ความสําคัญของขอมลู ขอ มลู มคี วามสําคัญและมีประโยชนตอการดําเนินชีวิตของบุคคล และการดํารงอยู ของชุมชนและสังคม เพราะขอมูลสามารถนํามาใชเพื่อการส่ือสาร การตัดสินใจ การเรียนรู การศึกษาคนควา การกําหนดแนวทางในการพัฒนา การปรับปรุงแกไข ตลอดจนใชเปน หลักฐานสาํ คัญตา ง ๆ ในทน่ี จ้ี ะจําแนกความสําคญั ของขอ มลู ออกเปน 2 ระดับ คือ ความสําคัญ ของขอมลู ท่ีมตี อปจ เจกบุคคล และความสาํ คัญทม่ี ีตอ ชมุ ชนและสงั คม 1.2.1 ความสาํ คัญของขอมลู ที่มตี อปจเจกบคุ คล 1) ทําใหมนุษยสามารถดํารงชีวิตอยูรอดปลอดภัย เพราะมนุษยรูจักนําขอมูล มาใชใ นการดํารงชีวติ แตโบราณแลว มนุษยรูจักสังเกตสิ่งตางๆ ท่ีอยูรอบตัว เชน สังเกตวา ดิน อากาศ ฤดูกาลใด ที่เหมาะสมกับการปลูกพืช ผักกินไดชนิดใด พืชชนิดใดใชเปนยารักษา โรคได เปนตน การสะสม ขอมูลตางๆ แลวถายทอดสืบตอกันมา ทําใหมนุษยสามารถนํา ทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใชเ ปนอาหาร สิ่งของเครื่องใช ท่อี ยอู าศัย และยารักษาโรคเพื่อการดํารง ชพี ได 2) ชว ยใหมีความรคู วามเขา ใจเรื่องราวตา ง ๆ ท่ีเกิดข้ึนรอบตัว เชน ความเขาใจ เก่ยี วกบั รางกาย จิตใจ ความตองการ และพฤติกรรมของมนุษย เปนตน ทําใหมนุษยสามารถ ปรบั ตวั เอง ใหอ ยูรวมกับคนอ่นื ในครอบครัวและสังคมไดอ ยางมคี วามสขุ 3) ชวยใหการตัดสินใจในการแกปญหาตาง ๆ มีประสิทธิภาพ ท้ังที่เปนการ ตดั สนิ ใจตอการกระทําหรือไมกระทําส่ิงใด เพราะการตัดสินใจโดยที่ไมมีขอมูลหรือมีขอมูลไม ถกู ตอ งอาจทาํ ใหเกดิ การผดิ พลาดและเสียหายได 1.2.2 ความสําคัญของขอมูลท่ีมีตอ ชมุ ชนสงั คม

13 1) ขอมูลทําใหเกิดการศึกษาเรียนรู ซ่ึงการศึกษาเปนสิ่งจําเปนตอการพัฒนา ชมุ ชนและสงั คมเปน อยา งยิง่ ทั้งนี้เนอ่ื งจากชุมชนและสังคมใดมสี มาชิกของชมุ ชนและสังคมเปน ผูม กี ารศกึ ษา การพัฒนาก็จะเขา ไปสูชุมชนและสงั คมนัน้ ไดง ายและรวดเร็วขึ้น 2) ขอ มลู ทส่ี ะสมเปนองคค วามรสู ามารถรกั ษาไวและถายทอดความรูไปสูคนรุน ตอไปของชมุ ชนและสังคม ทําใหเกิดความรูความเขาใจระหวางคนในชุมชนและสังคมเดียวกัน และคนตางชุมชนและสังคม กอใหเกิดการอยูรวมกันไดอยางสงบสุข ทั้งในปจจุบันและใน อนาคต 3) ขอมูลชวยเสริมสรางความรู ความสามารถใหม ๆ ในดานตาง ๆ ท้ังดาน การเกษตร การคา การพาณชิ ย เทคโนโลยี การคมนาคม อตุ สาหกรรม และอื่นๆ ที่เปนพ้ืนฐาน เพอ่ื การพฒั นาชมุ ชนและสงั คม 1.3 ความสมั พันธของขอมูล ขอมลู ในดา นตางๆ มกั มคี วามเกีย่ วขอ ง สมั พันธและเชื่อมโยงกัน ในการนําขอมูลมา ใชในการวางแผนการดําเนินงานพัฒนาชุมชนและสังคมน้ัน ผูใชขอมูลจึงตองนําขอมูลในทุก องคประกอบ ทุกประเภท ตลอดจนขอมูลที่มีความเปนปจจุบัน มาประกอบการพิจารณา ตัดสินใจ ทั้งนี้ เพื่อใหการวางแผนมีความสอดคลองกับวัตถุประสงค เปาหมายของการพัฒนา ลดหรือขจัดความเส่ียงท่ีจะเกิดผลกระทบในดานลบ และกอเกิดประโยชนสูงสุดตอชุมชนและ สังคม เร่อื งท่ี 2 ขอ มูลตนเอง ครอบครัว 2.1 ขอมลู ตนเอง คือ ขอ มูลความเปน ตัวเราซงึ่ มสี ิ่งทแ่ี สดงใหเห็นถึงความแตกตาง จากผูอน่ื ทง้ั ภายนอกทีส่ ามารถมองเหน็ ได เชน ช่ือ – นามสกุล วัน เดือน ปเกิด อายุ สัญชาติ เชอื้ ชาติ สถานภาพ สผี ิว รปู รา ง สว นสงู นาํ้ หนกั อาชีพ รายได และภายในตัวเรา เชน อารมณ บคุ ลิกลักษณะ ความคิดความรสู กึ และความเชื่อ เปน ตน 2.2 ขอมลู ครอบครวั เ ป น ข อ มู ล ข อ ง ก ลุ ม ค น ตั้ ง แ ต 2 ค น ขึ้ น ไ ป ท่ี มี ความสัมพันธเก่ียวของกันทางสายโลหิต การสมรส หรือการรับผูอื่นไวในความอุปการะ เชน บตุ รบญุ ธรรม คนใช ญาตพิ นี่ อง มาอาศยั อยดู ว ยกนั ในครัวเรือนเดยี วกัน เปนตน ขอมูลครอบครัว เชน จํานวนสมาชิกในครอบครัว ขอมูลตนเองของสมาชิกใน ครอบครัว สภาพที่พักอาศัยและสภาพแวดลอม ระยะเวลาท่ีอาศัยอยูในชุมชน รายได – รายจา ยรวมตอ เดือน หรอื ตอป ของครอบครวั เปน ตน

14 เร่อื งที่ 3 ขอ มูลชุมชน สงั คม 3.1 ขอ มูลชุมชน ดังไดกลาวามาแลววา ชมุ ชน หมายถงึ กลมุ คนทีอ่ าศยั อยูในอาณาเขตเดียวกนั มีวัฒนธรรม ความเชื่อ จารีตประเพณีเดียวกัน มีความสัมพันธ และมีวิถีชีวิตประจําวัน คลา ยคลึงกนั ชุมชนมลี กั ษณะหลายประการเหมือนกับสังคม แตมีขนาดเล็กกวา มีความสนใจ รวมท่ีประสานสัมพันธกันในวงแคบกวาขอมูลชุมชน จึงเปนขอมูลเก่ียวกับส่ิงตางๆ ในชุมชน เชน ขอมูลดานภูมิศาสตร ขอมูลดานประวัติศาสตรและความเปนมา ขอมูลดานเศรษฐกิจ ขอมูลดานการเมืองและการปกครอง ขอมูลดานการศึกษา ขอมูลดานศาสนาและวัฒนธรรม และขอ มูลดา นทรัพยากรและสิง่ แวดลอ ม เปนตน 3.2 ขอ มลู สงั คม สังคม มีลักษณะคลายกับชุมชน แตมีขนาดใหญกวา ขอบเขตของขอมูลมีขนาด กวางกวา สังคมมีที่มาจากการท่ีกลุมคนมากกวาสองคนข้ึนไปอยูอาศัยรวมกันเปนเวลาอัน ยาวนานในพ้ืนที่เดียวกัน คนในกลุมมีความสัมพันธเกี่ยวของกัน มีระเบียบแบบแผนรวมกัน เพอ่ื ใหการดาํ รงอยูเ ปนไปดว ยดี มีกิจกรรมรว มกนั มีประเพณีและวฒั นธรรมท่ใี ชเปนแนวทางใน การดําเนินชีวิตอยูรว มกันในสังคมอยา งสงบสขุ คลา ยคลงึ กัน ขอมูลทางสังคมมีลักษณะคลายกับขอมูลชุมชน แตมีจํานวนหรือปริมาณมากกวา ขอ มูลดงั กลา วประกอบดว ย ขอมลู ดานภูมิศาสตร ขอมูลดานประวัติศาสตรและความเปนมา ขอมูลดานเศรษฐกิจ ขอมูลดานการเมืองและการปกครอง ขอมูลดานการศึกษา ขอมูลดาน ศาสนาและวัฒนธรรม และขอมูลดานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ขอมูลดานความม่ันคง และ ขอ มูลดานสาธารณสขุ

15 บทท่ี 3 การเก็บรวบรวมขอมูล และการวเิ คราะหขอ มูล เร่อื งท่ี 1 การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูล เปนขั้นตอนท่ีใหไดมาซึ่งขอมูลที่ตองการ มีความหมาย รวมทงั้ การเกบ็ ขอมลู ข้ึนมาใหม และการรวบรวมขอ มูลจากผูอ่ืนท่ีไดเก็บไวแลว หรือไดรายงาน ไวในเอกสารตา ง ๆ ซ่งึ การเกบ็ รวบรวมขอมูลมีเทคนคิ และวิธีการหลายวิธี ดงั น้ี 1.1. การเกบ็ รวบรวมขอ มูลจากระบบรายงาน (Reporting System) เปน ผล พลอยไดจากระบบการบรหิ ารงาน เปน การเก็บรวบรวมขอ มลู จากรายงานหรือจากเอกสารที่ ทําไวประกอบการทํางานซึ่งการเก็บรวบรวมขอมูลจากรายงานสวนมากใชเพียงครั้งเดียว จากรายงานดังกลาว อาจมีขอมูลเบ้ืองตน บางประเภทที่สามารถนํามาประมวลเปนยอดรวม ขอ มูลสถติ ไิ ด วธิ เี กบ็ รวบรวมขอ มูลจากรายงานของหนว ยบริหาร เปนวธิ ีการรวบรวมขอมูลสถิติ ท่ไี มส้นิ เปลืองคา ใชจายในการดําเนินงานมากนัก คาใชจายที่ใชสวนใหญก็เพ่ือการประมวลผล พมิ พแบบฟอรมตาง ๆ ตลอดจนการพิมพรายงาน วิธีการนใ้ี ชกันมากท้งั ในหนวยงานของรัฐและ เอกชน หนวยงานทมี่ กี ารเกบ็ รวบรวมขอมูลสถติ ใิ นระดบั ประเทศ ประกอบดวย สํานักงานสถิติ แหง ชาติ สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย และกระทรวง ทบวง กรม ตา งๆ 1.2การเกบ็ รวบรวมขอมลู จากทะเบยี น (Registration) เปน ขอ มูลสถติ ทิ รี่ วบรวม จากระบบทะเบียน มีลักษณะคลายกับการรวบรวมจากรายงานตรงที่เปนผลพลอยได เชนเดียวกัน จะตางกันตรงที่ แหลงเบื้องตนของขอมูลเปนเอกสารการทะเบียน ซ่ึงการเก็บมี ลักษณะตอเน่ือง มีการปรับแกหรือเปล่ียนแปลง ใหถูกตองทันสมัย ทําใหไดสถิติท่ีตอเน่ืองเปน อนกุ รมเวลา ขอมูลที่เก็บโดยวิธีการทะเบียน มีขอรายการไมมากนัก เนื่องจากระบบทะเบียน เปนระบบขอมูลท่ีคอนขางใหญ ตัวอยางขอมูลสถิติท่ีรวบรวมจากระบบทะเบียน ไดแก สถิติ จํานวนประชากรท่กี รมการปกครอง ดาํ เนนิ การเกบ็ รวบรวมจากทะเบียนราษฎร ประกอบดวย จํานวนประชากร จาํ แนกตามเพศเปนรายจงั หวดั อําเภอ ตําบล ขอ มลู ทะเบยี นยานพาหนะของ กรมการขนสงทางบก ที่จะใหไดขอมูลสถิติจํานวนรถยนต จําแนกตามชนิดหรือประเภทของ รถยนต เปนตน

16 1.3การเกบ็ รวบรวมขอ มลู โดยวิธีสํามะโน (Census) เปนการเก็บรวบรวมขอ มลู สถติ ขิ องทุก ๆ หนว ยของประชากรที่สนใจศกึ ษาภายในพ้ืนท่ีท่ีกําหนด และภายในระยะเวลาที่ กําหนด การเก็บรวบรวมขอมูลสถิติดวยวิธีน้ี จะทําใหไดขอมูลในระดับพื้นที่ยอยในระดับ หมบู าน ตําบล อําเภอ และจังหวดั ตามพระราชบัญญัติสถิติ พ.ศ.2508 ไดบัญญัติไววา สํานักงานสถิติแหงชาติเปน หนวยงานเดยี วทสี่ ามารถจัดทาํ สาํ มะโนได และการเก็บรวบรวมขอมูลสถิติดวยวิธีการสํามะโน เปนงานที่ตองใชเงินงบประมาณ เวลาและกําลังคนเปนจํานวนมาก สวนใหญจะจัดทําสํามะโน ทกุ ๆ 10 ป หรอื 5 ป 1.4การเก็บรวบรวมขอมลู โดยวธิ สี าํ รวจ (Sample Survey) เปนการเกบ็ รวบรวม ขอมลู สถิติ จากบางหนวยของประชากรดวยวธิ ีการเลือกสุม ตัวอยาง การเก็บรวบรวมขอมูลสถิติ ดว ยวิธีนี้ จะทาํ ใหไดขอ มูลในระดบั รวม เชน จังหวดั ภาค เขตการปกครอง และรวมท่ัวประเทศ และขอ มูลท่ไี ดจ ะเปนคาโดยประมาณ การสํารวจเปนวธิ กี ารเก็บรวบรวมขอมูลที่ใชงบประมาณ เวลา และกําลังคนไมมากนัก จึงสามารถจัดทําไดเปนประจําทุกป หรือทุก 2 ป ปจจุบันการ สาํ รวจเปนวิธีการเกบ็ รวบรวมขอมลู สถติ ิทมี่ ีความสาํ คญั และใชกันอยางแพรห ลายมากที่สดุ ทั้งในวงการราชการและเอกชน ไมวาจะเปนการสํารวจเพ่ือหาขอมูลทางดานการเกษตร อุตสาหกรรม สาธารณสุข การคมนาคม การศกึ ษา และขอ มลู ทางเศรษฐกจิ และสังคมอนื่ ๆ 1.5 การเก็บรวบรวมขอมูลโดยวิธีการสังเกต (Observation) เปนวิธีเก็บขอมูล โดยการสังเกตโดยตรงจากปฏิกิรยิ า ทา ทาง หรอื เหตกุ ารณ หรอื ปรากฏการณ ที่เกิดข้ึนในขณะ ใดขณะหนงึ่ และจดบันทึกไวโดยไมมีการสัมภาษณ วิธีนี้ใชกันอยางกวางขวางในการวิจัย เชน การใหเจา หนาทสี่ ังเกตปฏิกิรยิ าของผูขับรถยนตบ นทอ งถนนภายใตสภาพการจราจรตาง ๆ กัน การใหเ จาหนาทพี่ ฒั นาชมุ ชนสังเกตการประชุมและการมีสวนรวมในการออกความคิดเห็นของ สมาชกิ อบต. เปน ตน 1.6 การเก็บรวบรวมขอมูลโดยวิธีการบันทึกขอมูลจากการวัดหรือนับ (Counting) วิธนี ้ีจะมีอปุ กรณเพื่อใชใ นการวดั หรือนบั ตามความจาํ เปนและความเหมาะสม เชน การนบั จาํ นวนรถยนตท ีแ่ ลน ผานที่จดุ ใดจุดหนึ่ง ก็อาจใชเคร่ืองนับโดยใหรถแลนผานเครื่องนับ หรอื การเก็บขอมูลจํานวนผูมาใชบริการในหองสมุดประชาชน ก็ใชเครื่องนับเม่ือมีคนเดินผาน เครือ่ ง เปนตน

17 เร่อื งที่ 2 การวิเคราะหข อ มูล การวิเคราะหข อมลู เปนขนั้ ตอนการนาํ ขอมลู ทเี่ ก็บรวบรวมไดมาประมวลผลและทํา การวิเคราะห โดยเลือกคาสถิติท่ีนํามาใชในการวิเคราะหใหเหมาะสม คาสถิติท่ีนิยมใชในการ วิเคราะหขอ มูล ไดแ ก 2.1 ยอดรวม (Total) คือ การนําขอมูลสถิติมารวมกันเปนผลรวมทั้งหมด เชน จํานวนนักศกึ ษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนตนในจังหวัดตราด จํานวนประชากรท้ังหมดใน จังหวัดระยอง จํานวนคนท่ีเปนไขเลือดออกในภาคตะวันออก จํานวนคนวางงานทั้งประเทศ เปนตน 2.2 คาเฉลี่ย (Average, Mean) หมายถึง คาเฉลี่ยซ่ึงเกิดจากขอมูลของผลรวม ท้ังหมดหารดวยจํานวนรายการของขอมูล เชน การวัดสวนสูงของนักศึกษา กศน. ระดับ ประถมศกึ ษา จาํ นวน 10 คน วัดไดเ ปนเซนตเิ มตร มดี งั น้ี คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 สว นสงู 155 165 152 170 163 158 160 168 167 171 สวนสูงโดยเฉลย่ี ของนักศกึ ษา กศน. ระดบั ประถมศกึ ษา คอื = 155 165 152 170 163 158 160 168 167 171 10 = 1629 10 = 162.9 เซนตเิ มตร 2.3 สัดสวน (Proportion) คือ ความสมั พันธของจํานวนยอยกบั จาํ นวนรวม ทั้งหมด โดยใหถือวาจํานวนรวมทั้งหมดเปน 1 สวน เชน การสํารวจการลงทะเบียนเรียนของ นักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 500 คน ลงทะเบียนเรียนในหมวดวิชา ภาษาไทย จํานวน 300 คน ลงทะเบียนเรียนในหมวดวิชาภาษาอังกฤษ จํานวน 200 คน ดังนั้น สัดสวนของนักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนในหมวดวิชาภาษาไทย = 300 = 0.60 และ 500 สัดสวนของนักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนในหมวดวิชาภาษาอังกฤษ = 200 หรือ 1- 0.60 = 500 0.40

18 2.4 รอยละหรือเปอรเซ็นต (Percentage or Percent) คือ สัดสวน เม่ือเทียบตอ 100 สามารถคํานวณได โดยนํา 100 ไปคูณสัดสวนที่ตองการหาผลลัพธก็จะออกมาเปนรอยละ หรอื เปอรเซ็นต ตวั อยา ง ใน กศน. อําเภอแหงหน่ึง มีนักศึกษาทั้งหมด 650 คน แยกเปนนักศึกษา ระดับประถมศึกษา จํานวน 118 คน นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 250 คน และนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 282 คน เราจะหารอยละหรือเปอรเซ็นต ของนักศึกษาแตล ะระดบั ไดด ังน้ี ระดับประถมศึกษา = 118 100 = 18.15 % ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน 650 = 38.46 % ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย = 43.38 % = 250 100 100 % รวมท้ังหมด 650 = 282 100 650 เร่ืองท่ี 3 การนาํ เสนอขอ มูล โดยท่ัวไปแลวการนําเสนอขอ มลู แบง เปน 2 วธิ ี คือ การนําเสนอขอ มูลอยางไม เปน แบบแผน และการนําเสนอขอมลู อยางเปน แบบแผน ซ่งึ มีรายละเอยี ด ดังน้ี 3.1การนาํ เสนอขอ มลู อยางไมเ ปน แบบแผน การนําเสนอขอมูลอยางไมเปนแบบแผน เปนการนําเสนอขอมลู ทีไ่ มตอ งยึดมั่น ตามกฎเกณฑแ ละแบบแผนอะไรมากนัก มีวิธยี อยที่นิยมใช 2 วิธี คอื 3.1.1 การนาํ เสนอขอมลู ในรูปขอ ความ เปนการนําเสนอขอ มูลโดยการ บรรยายเก่ียวกับขอ มูลนั้น ๆ เชน ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทอาชีวศึกษา อัตราสวนนักเรียนตอ อาจารยในปการศกึ ษา 2556 คอื 19 ตอ 1 ในปการศึกษา 2557 อัตราสวน คือ 21 ตอ 1 และ ในปก ารศกึ ษา 2558 อตั ราสว น คือ 22 ตอ 1 จะเหน็ ไดวา อตั ราสวนของนักเรียนตออาจารย มี แนวโนม เพิ่มข้นึ อยา งเหน็ ไดช ดั

19 3.1.2 การนาํ เสนอขอมูลในรปู ขอความก่งึ ตาราง เปนการนาํ เสนอขอ มลู โดย การแยกขอ ความและตวั เลขออกจากกนั เพ่ือไดเปรียบเทียบความแตกตางของขอมูลไดชัดเจน ยงิ่ ข้นึ เชน จากการสาํ รวจตลาดสดแหงหนงึ่ ผลไมบางชนิดขายในราคา ดังตอไปน้ี สม เขียวหวาน กิโลกรมั ละ 35 บาท ชมพู กโิ ลกรมั ละ 25 บาท มะมวง กโิ ลกรมั ละ 40 บาท สับปะรด กิโลกรัมละ 25 บาท เงาะ กโิ ลกรัมละ 15 บาท มังคุด กโิ ลกรัมละ 25 บาท 3.2การนําเสนอขอ มลู อยางเปน แบบแผน การนําเสนอขอมูลอยางเปนแบบแผน เปนการนําเสนอท่ีจะตองปฏิบัติตาม หลักเกณฑที่ไดกําหนดไวเปนมาตรฐาน ตัวอยางการนําเสนอแบบนี้ เชน การนําเสนอในรูป ตาราง กราฟ และแผนภมู ิ เปนตน 3.2.1 การนําเสนอในรปู ตาราง ขอมูลตาง ๆ ท่ีเกบ็ รวบรวมมาไดเม่อื ทําการ ประมวลผลแลวจะอยูใ นรปู ตาราง สวนการนําเสนออยางอื่นเปนการนาํ เสนอโดยใชขอมูลจาก ตาราง จํานวนขา ราชการ ในโรงเรียนแหงหนึง่ มี 22 คน จาํ แนกตามระดับการศกึ ษาสูงสดุ ดังน้ี ระดับการศกึ ษาสูงสดุ จาํ นวนขาราชการ(คน) ปริญญาเอก 1 ปรญิ ญาโท 16 ปรญิ ญาตรี 5 ต่าํ กวาปริญญาตรี 0 22 รวม

20 3.2.2 การนําเสนอดวยกราฟเสน เปน แบบทีร่ ูจกั กนั ดีและใชก ันมากท่ีสดุ แบบ หนึ่ง เหมาะสาํ หรับขอ มลู ทอี่ ยใู นรปู ของอนุกรมเวลา เชน ราคาขาวเปลอื กในเดือนตาง ๆ ปรมิ าณสนิ คาสง ออกรายป ราคาผลไมแ ตล ะป เปนตน ตวั อยาง : ราคาขายปลีกลองกอง ทต่ี ลาดกลางผลไมแ หง หน่ึง ในระยะเวลา 5 ป มดี งั นี้ ป พ.ศ. 2548 2549 2550 2551 2552 ราคา (บาท) : 120.- 95.- 80.- 65.- 40.- กิโลกรัม จากขอมลู ทีก่ ลา วมา สามารถนําเสนอแนวโนมของราคาขายปลกี ลองกอง 5 ป ดวยกราฟเสนไดด งั น้ี ราคา ราคาลองกอง 140 120 100 80 60 40 20 0 พ.ศ. 2548 พ.ศ.2549 พ.ศ.2550 พ.ศ.2551 พ.ศ.2552 3.2.3 การนําเสนอดว ยแผนภูมแิ ทง ประกอบดว ยรูปแทงสเี่ หล่ยี มผืนผา ซ่ึง แตล ะ แทงมี ความหนาเทา ๆ กนั โดยจะวางตามแนวตง้ั หรือแนวนอนของแกนพกิ ดั ฉากก็ได

21 ตัวอยา ง: นกั ศกึ ษา กศน. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน ทส่ี อบผา นในหมวดวชิ า คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย และพัฒนาสงั คมและชุมชน นกั ศกึ ษา กศน .ม.ตน้ ทสี อบผา่ น คน 8000 2350 2135 2035 6734 7000 5600 6000 5000 หมวดวชิ า 4000 คณิตศาสตร์ 3000 วิทยาศาสตร์ 2000 ภร์าษาอังกฤษ 1000 ษ ภาษาไทย 0 ัพฒนาสังคมฯ 3.2.4 การนาํ เสนอดว ยรปู แผนภูมวิ งกลม เปน การแบงวงกลมออกเปนสวนตา ง ๆ ตัวอยาง: แผนภมู แิ สดงผลการสอบของนกั ศึกษาที่สอบผา นจาํ แนกตามหมวดวชิ า พัฒนาสังคมฯ นกั ศึกษา กศน.ม.ตน้ ทีสอบผา่ น คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 36% คณติ ศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย 12% พฒั นาสังคมฯ วิทยาศาสตร์ 11% ภาษาองั กฤษ 11% ภาษาไทย 30%

22 บทที่ 4 การมีสวนรวมในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม เรอื่ งที่ 1 การวางแผน การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกําหนดวัตถุประสงค เพือ่ การตดั สินใจ เลอื กแนวทางในการทํางานใหด ที ีส่ ดุ เพ่ือใหบรรลุตามท่ีตองการในระยะเวลา ทก่ี ําหนด ความสําคัญของการวางแผน 1. เพือ่ ลดความไมแ นนอนและความเสยี่ งใหเหลอื นอ ยที่สุด 2. สรางการยอมรบั ในแนวคดิ ใหม ๆ 3. เพือ่ ใหการดาํ เนนิ งานบรรลเุ ปา หมาย 4. ลดข้ันตอนการทํางานทซี่ าํ้ ซอ น 5. ทาํ ใหเ กิดความชดั เจนในการทาํ งาน วัตถุประสงคในการวางแผน 1. ทําใหรูทศิ ทางในการทํางาน 2. ทําใหความไมแนน อนลดลง 3. ลดความเสียหายหรือการซํ้าซอ นของงานทีท่ ํา 4. ทําใหรมู าตรฐานในการควบคมุ ใหเปนไปตามที่กําหนด ขอดีของการวางแผน 1. ทาํ ใหเกิดการปรบั ปรงุ การทาํ งานใหดขี น้ึ 2. ทําใหเ กิดการประสานงานดียิง่ ขนึ้ 3. ทาํ ใหการปรับปรงุ และการควบคมุ ดีข้ึน 4. ทําใหเกดิ การปรบั ปรงุ การบรหิ ารเวลาใหด ขี ึ้น หลักพ้นื ฐานการวางแผน 1. ตอ งสนบั สนนุ เปาหมายและวตั ถปุ ระสงคข ององคก ร 2. เปน งานอันดับแรกของกระบวนการจัดการ 3. เปน หนา ทข่ี องผบู รหิ ารทกุ คน 4. ตองคํานงึ ถงึ ประสิทธภิ าพของแผนงาน

กระบวนการในการวางแผน 23 กําหนดวตั ถปุ ระสงค์ กําหนดข้อตกลงตา่ ง ๆ ที เป็ นขอบเขตในการวางแผน พิจารณาข้อจํากดั ตา่ ง ๆ ทีอาจเกดิ ขนึ ในการวางแผน นําแผนสกู่ ารปฏิบตั ิ พฒั นาทางเลอื ก - ทําตารางการปฏบิ ตั ิงาน (แสวงหาทางเลือก) - มาตรฐานการทํางาน - ปรบั ปรุง / แก้ไข ประเมินทางเลอื ก (พิจารณาความเสยี ง) ลกั ษณะของแผนทด่ี ี 1. มีลักษณะชเ้ี ฉพาะมากกวามลี ักษณะกวา ง ๆ หรอื กลาวท่ัว ๆ ไป 2. มกี ารจําแนกความแตกตา งระหวางสง่ิ ที่รแู ละไมรใู หชัดเจน 3. มีการเชอ่ื มโยงอยา งเปนเหตเุ ปนผล และสามารถนําไปปฏิบัติได 4. มลี กั ษณะยืดหยนุ สามารถปรบั ปรุงและพฒั นาได 5. ไดรบั การยอมรับจากผทู เี่ ก่ยี วขอ งทุกฝา ย

24 เร่ืองท่ี 2 การมสี ว นรว มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม การมีสวนรวม หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชนไดมีสวนรวมในทุกข้ันตอน ของการพัฒนาทัง้ ในการแกไขปญ หาและปองกันปญหา โดยเปดโอกาสใหมีสวนรวมในการคิด ริเร่ิมรวมกําหนดนโยบาย รวมวางแผน ตัดสินใจและปฏิบัติตามแผน รวมตรวจสอบการใช อํานาจรัฐทุกระดับรวมติดตามประเมินผลรับผิดชอบในเร่ืองตาง ๆ อันมีผลกระทบกับ ประชาชน ชมุ ชนและภาคสวนตา งๆ ในพ้นื ท่ี การมีสวนรวมของประชาชน เปนกระบวนการที่ประชาชนและผูท่ีเก่ียวของมี โอกาสไดเขารวมในการแสดงทัศนะ รวมเสนอปญหา ประเด็นสําคัญท่ีเกี่ยวของ รวมคิด รว มตัดสินใจ รว มแกไ ขปญ หา รว มติดตาม และรวมรับประโยชน ประชาชนกับการมสี ว นรวมในการพฒั นาสังคม มนุษยถูกจัดใหเปนทรัพยากรท่ีมีคุณภาพที่สุดในสังคม และยังเปนองคประกอบ ท่ีถูกจัดใหเปนหนวยยอยของสังคม สังคมจะเจริญหรือมีการพัฒนาไปไดหรือไมขึ้นอยูกับ คณุ ภาพของประชาชนที่เปน องคประกอบในสงั คมนนั้ ๆ การท่ีสังคมจะพัฒนาไดอยางมีคุณภาพจําเปนอยางย่ิงที่จะตองเร่ิมตนลําดับแรก ท่กี ารพฒั นาหนว ยที่ยอยที่สุดของสังคมกอนคือ การพัฒนาคน และการพัฒนาในลําดับตอมา เร่มิ กนั ท่คี รอบครวั แลวตอ ยอดไปจนถงึ ระดบั ชมุ ชน สงั คม และประเทศ ตอ ไป 2.1. การพัฒนาตนเอง และครอบครัว การพัฒนาตนเอง เปนการพัฒนาตนเองดวยตนเอง เปนการเสริมสราง เพ่ิมพูน ความรู ประสบการณ บุคลิก ลักษณะ อุปนิสัยท่ีดี ตลอดจนความสามารถในการจัดการดาน อารมณ ซึ่งจะสง ผลใหเกิดประโยชนต อ ตนเองและผอู นื่ และมสี วนชวยทําใหส ังคมเกิดความ สงบสุข การจะใหทุกคน ทุกกลุมในหมูบานมีบทบาทในการตัดสินใจที่จะดําเนินการใด ๆ เพ่ือหมูบานได ประชาชนแตละคนควรชวยกันแสดงความคิดเห็นท่ีเปนประโยชนแกสวนรวม และตองเพมิ่ ความรู ความสามารถพฒั นาตนเองใหเปนผูรอบรูอยูเ สมอ มีขอ มูลเพียงพอ เปน ประโยชน และมสี าระสาํ คัญสอดคลอ งกบั เร่ืองที่จะดําเนินการ การพัฒนาตนเองจึงถือเปน จดุ เรมิ่ ตน ท่สี าํ คญั ของการพัฒนาครอบครัว ชมุ ชน และสังคม การพัฒนาครอบครัว คือการที่สมาชิกของครอบครัวรวมกันพัฒนาชีวิตความ เปนอยูของสมาชิกของครอบครัวใหดีข้ึน สมาชิกแตละคนของครอบครัวตองรับผิดชอบตอ หนาท่ีของตน มีความเอื้อเฟอ มีคณุ ธรรม รจู กั การพ่ึงพาตนเอง มีความรว มมือรว มใจ

25 มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค มีความเช่ือมั่น เอื้ออาทรตอกัน และพัฒนาตนเองในทุกๆ ดานอยู เสมอ สถาบันครอบครัวเปนหนวยท่ีเล็กที่สุดในการพัฒนา ดังน้ัน การพัฒนาครอบครัวอยาง ตอเน่ืองและมีคุณภาพ จะสงผลดีตอการพัฒนาชุมชนและสังคม และเปนตัวขับเคลื่อนความ เจริญกาวหนา ใหแกประเทศในอนาคต ในการพฒั นาชนบทหรือการพฒั นาเมอื งนนั้ การแสวงหาแนวทางและวธิ กี ารเพ่ิมพูน ความรู ประสบการณ ใหค นในพืน้ ท่นี ัน้ ๆ มีความสามารถและเรยี นรทู ีจ่ ะเขามามีสวนรว มในการ ดําเนินงาน ถือเปนปจจัยพื้นฐานที่สําคัญ ทั้งน้ี การพัฒนาคนท่ีดีท่ีสุด คือ การรวมกลุม ประชาชนใหเปนองคกรเพื่อพัฒนาคนในกลุม เพราะกลุมคนเหลาน้ันจะกอใหเกิดการเรียนรู ฝก การคดิ และการแกป ญ หา และสรางเสริมบุคลิกภาพ ผานกระบวนการทํางานรวมกัน ซึ่งจะ ชว ยใหค นไดร ับการพัฒนาในดา นความคิด ทัศนคติ ความมีเหตุผล ซึ่งเปนรากฐานท่ีสําคัญของ ระบอบประชาธปิ ไตย 1.2 การพฒั นาชุมชน และสงั คม การพัฒนาชมุ ชน และสังคม หมายถงึ การทํากิจกรรมท่ีมผี ลตอคุณภาพชีวิตของทุก คนในชุมชนรวมกนั ดงั นัน้ การพฒั นาชุมชนและสังคม จึงตองใชการมีสวนรวมของประชาชนใน ชุมชนและสังคม รวมกันคิดเก่ียวกับปญหาตางๆ ตัดสินใจและลงมือปฏิบัติรวมกันในกิจกรรม เพอ่ื แกป ญหาทเ่ี ปนปญ หาสวนรวม เหตทุ ีต่ องใหประชาชนเขา มามีสว นรว ม เนือ่ งจากประชาชน รวู าความตองการของตนเองคืออะไร ปญหาคืออะไร จะแกป ญหาน้ันอยา งไร 1.3 หลักการพัฒนากับการมีสวนรวมของประชาชน 1.3.1 การมสี วนรว มในการคน หาปญหาและสาเหตุของปญ หา เปน ข้ันตอนทส่ี ําคัญทีส่ ุด เพราะถา ประชาชนไมเขาใจปญหาและวิเคราะหหา สาเหตุของปญหาดวยตนเองไมได กิจกรรมตาง ๆ ท่ีตามมาก็จะไมเกิดประโยชน เนื่องจาก ประชาชนขาดความรู ความเขาใจ และไมสามารถมองเหน็ ความสาํ คญั ของกจิ กรรมนนั้ สง่ิ ทส่ี ําคญั ท่สี ุด คอื ประชาชนทอี่ ยกู บั ปญ หาและรูจักปญหาของตนเองดีท่ีสุด แตใ นกรณที ีม่ องปญ หาไมอ อกก็อาจจะขอความรวมมือจากเพื่อน ประชาชนในชุมชนใกลเคียง หรอื เจา หนาทีข่ องรัฐทรี่ ับผิดชอบในเรอ่ื งนนั้ ๆ มาชว ยวเิ คราะหป ญหาและหาสาเหตุของปญหา กไ็ ด

26 1.3.2 การมสี วนรวมในการวางแผนการดาํ เนนิ งาน ในการวางแผนการดําเนนิ งานหรือกิจกรรม เจาหนาท่ีของรัฐควรที่จะตองเขาใจ ประชาชนและเขาไปมีสวนรวมในการวางแผน โดยคอยใหคําแนะนํา ปรึกษา หรือชี้แนะ กระบวนการดาํ เนนิ งานใหก ับประชาชนจนกวาจะเสรจ็ สิ้นกระบวนการ 1.3.3 การมีสว นรวมในการลงทนุ และปฏบิ ตั ิงาน เจาหนา ทีร่ ัฐควรจะชวยสรา งแรงบนั ดาลใจและจิตสาํ นึกใหประชาชน โดยใหรูสึกถึง ความเปนเจาของ ใหเกิดสํานึกในการดูแล รักษา หวงแหนสิ่งน้ัน ถาการลงทุนและการ ปฏิบัติงานทั้งหมดมาจากภายนอก ในกรณีท่ีเกิดความเสียหายประชาชน จะไมรูสํานึกหรือ เดอื ดรอ นตอความเสยี หายท่เี กิดขนึ้ เน่อื งจากไมใชของตนเองจงึ ไมมีการบํารงุ รกั ษา ไมตอง หวงแหน นอกจากจะมีการเขามามีสวนรวมในการปฏิบัติงานดวยตนเอง จะทําใหเกิด ประสบการณต รง โดยเรยี นรจู ากการดาํ เนนิ กิจกรรมอยางใกลชิดและสามารถดําเนินกิจกรรม ชนดิ นั้นดว ยตนเอง ตอ ไปได ขณะเดยี วกัน บคุ คลควรมคี า นยิ มทเี่ ก้ือหนุนในการพัฒนาสังคมอีก ดวย ไดแก การเสียสละ การมีระเบียบวินัย ความอดทน ขยันขันแข็ง มานะอดออม ไมสุรุยสรุ าย ซอ่ื สัตย การเออ้ื เฟอ เผอื่ แผ ตรงตอเวลา ฯลฯ 1.3.4 การมีสว นรวมในการติดตามและประเมินผลงาน ควรใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการติดตามและประเมินผลงาน เพ่อื ทีจ่ ะสามารถบอกไดว างานท่ีทําไปนน้ั เปน ไปตามแผนหรือไมเพียงใด ผลที่เกิดข้ึนสอดคลอง กับเปาหมายและวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวหรือไม เพียงใด มีปญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน หรือไม ควรปรับปรุงแกไขอยางไร ดังนั้น ในการติดตามและประเมินผลควรใหประชาชนใน ชุมชนน้นั และบุคคลภายนอกชุมชนมีสวนรวมอยางเต็มที่ ซึ่งจะทําใหประชาชนเห็นคุณคาของ การทํากิจกรรมนนั้ รวมกนั ตวั อยา งท่ี 1: การมสี ว นรว มของประชาชนในการอนรุ ักษวัฒนธรรม ในการอนุรักษวัฒนธรรมดั้งเดิมของหมูบานวัฒนธรรมถลาง บานแขนน หมูบาน วัฒนธรรมถลาง จังหวัดภูเก็ต จัดเปนหมูบานที่สืบสานความรูด้ังเดิมของภูเก็ตต้ังแตสมัยทาว เทพกระษัตรี อีกทั้งวฒั นธรรมในการปรงุ อาหารซ่งึ เปนอาหารตํารับเจาเมืองในสมัยโบราณของ ภเู ก็ต และศิลปวัฒนธรรมดานนาฏศิลปของภูเก็ต เชน การรํามโนราห ไดมีการถายทอดและ เปด โอกาสใหผูท่ีสนใจเขารวมสืบสานวัฒนธรรมดั้งเดิม และสามารถที่จะพัฒนาเปนชุมชนที่มี

27 ความเขม แขง็ ซ่งึ เปน ผลสบื เน่ืองมาจากการสงเสรมิ การมีสวนรวมของประชาชนในการสืบสาน วฒั นธรรมทองถนิ่ ใหด าํ รงอยอู ยางยัง่ ยนื ตัวอยางท่ี 2: การมีสวนรวมของประชาชนในการอนุรักษสิ่งแวดลอมในเขตวน อุทยานแหงชาติ สริ นิ าถ จงั หวัดภูเก็ต เปนผลสืบเน่อื งจากการบกุ รกุ ทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยการ เขา ไปขุดคลอง การปลอ ยน้ําเสยี จากสถานประกอบการ สง ผลใหป ระชาชนทีอ่ ยูบริเวณโดยรอบ ไดรับผลกระทบ และเสียหาย จากการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ทําให ประชาชนและภาครัฐไดเขามามีสวนรวมในการจัดระบบการบําบัดน้ําเสีย และการขุดลอกคู คลอง เพอ่ื ปองกนั และอนุรกั ษสิ่งแวดลอมใหค งอยูใ นสภาพท่เี ปน ธรรมชาติตอ ไป ตัวอยางท่ี 3: การบริหารจดั การของเสยี โดยเตาเผาขยะและการบาํ บัดของเสียของ เทศบาลนครภเู ก็ต จงั หวดั ภเู กต็ สืบเน่ืองจากปริมาณขยะที่มีมากถึง 500 ตันตอวัน ซ่ึงเกินความสามารถในการ กําจัด โดยเตาเผาทมี่ อี ยูสามารถกําจดั ขยะได 250 ตนั ตอ วนั หลมุ ฝงกลบของเทศบาลมีเพียง 5 บอ ซ่งึ ถกู ใชงานจนหมด และไมส ามารถรองรับขยะไดอ กี ประชาชนไดเ ขา ไปมสี วนรวมโดยใหค วามรวมมือในการคัดแยกขยะกอนท้ิง ซ่ึงแยก ตามลกั ษณะของขยะ เชน 1. ขยะอินทรยี  หรอื ขยะเปยกท่สี ามารถยอยไดตามธรรมชาติ เทศบาลนครภูเก็ต ได นาํ ไปทาํ ปยุ หมักสาํ หรับเกษตรกร 2. ขยะรีไซเคิล เชน แกว พลาสติก กระดาษ ทองแดง เปนตน นําไปจําหนา ย 3. ขยะอันตราย เชน ถา นไฟฉาย หลอดไฟ เปนตน นําไปฝงกลบและทาํ ลาย 4. ขยะทวั่ ไป นาํ เขาเตาเผาขยะเพอื่ ทําลาย ในการจัดกระบวนการดังกลาว สงผลใหประชาชนมีสวนรวมในการสงเสริม สิ่งแวดลอมท่ีดีใหกับจังหวัดภูเก็ต อีกท้ังเปนการบูรณาการในการดําเนินกิจกรรมรวมกัน ระหวางสวนราชการ เทศบาลนครภูเก็ต และภาคประชาชน เปนการสรางการมีสวนรวม ระหวางองคกรปกครองสวนทองถ่ินกับประชาชนในการรวมกันสรางสรรคส่ิงแวดลอมท่ีดี เพอ่ื คนในภูเก็ต

28 บทท่ี 5 เทคนิคการมสี วนรวมในการจดั ทําแผน เรือ่ งท่ี 1 เทคนคิ การมสี ว นรวมในการจดั ทาํ แผน 1.1 การมสี วนรวมของประชาชนในการจดั ทาํ แผน การเปด โอกาสใหป ระชาชนมสี วนรวมในการจดั ทาํ แผน ตัดสินใจ ในการ วางโครงการสาํ หรับประชาชนเอง มีวัตถุประสงคเพอื่ 1.1.1 ใหป ระชาชนยอมรบั ในแผนการดาํ เนินงาน และพรอมจะรวมมอื เปนการลด การตอ ตา น และลดความรูส ึกแตกแยกจากโครงการ 1.1.2 ใหประชาชนไดรวมตดั สนิ ใจเกย่ี วกับสถานการณ ปญหาความตอ งการ ทิศทางของการแกปญ หา และผลลพั ธท จ่ี ะเกิดขน้ึ 1.1.3 ใหประชาชนมีประสบการณต รงในการรว มแกปญ หาของประชาชนเอง ทําใหประชาชนเกดิ การเรยี นรใู นกระบวนการแกป ญ หา 1.2 การจัดทําเวทีประชาคม เวทีประชาคม เปนวิธีการกระตุนใหเกิดการเรียนรูอยางมีสวนรวม ระหวางคนที่มี ประเด็นหรือปญหารวมกันโดยใชเวทีในการสื่อสารเพื่อการรับรูและเขาใจในประเด็น/ปญหา และชวยกันหาแนวทางแกไขประเด็นปญหานั้น ๆ ซ่ึงมีขั้นตอนในกระบวนการจัดทําเวที ประชาคม ดังน้ี 1.2.1 เตรยี มการ การเตรยี มทีมงานจดั เวทปี ระชาคม ควรแบง เปน 2 สวน คอื 1) ผูอาํ นวยการเรยี นรหู ลักหรอื วิทยากรกระบวนการหลกั ท่ีมหี นาที่ ขบั เคลือ่ นการมีสวนรวมเวทีประชาสงั คมทงั้ กระบวน และเปน วิทยากรหลักทที่ ําใหเกิดการ แสดงความคดิ เหน็ รวมกันระหวางผูเขา รว มอภิปรายในเวทปี ระชาคม 2) ผูสนบั สนุนวิทยากรกระบวนการ ซึง่ อาจจะแสดงบทบาทเปนวิทยากรเอง หรือผจู ดบนั ทึกการประชมุ ผสู นับสนนุ ฯ มหี นาทีเ่ ตมิ คาํ ถามในเวทีเพื่อใหประเด็นบางประเด็น สมบูรณมากย่ิงข้ึน สังเกตลักษณะทาทีและบรรยากาศของการอภิปราย สรุปประเด็นท่ี อภปิ รายไปแลว และใหขอมูลเพ่มิ เตมิ ทเ่ี กีย่ วกับกลุมและบรรยากาศแกว ทิ ยากรหลัก หากพบวา ทิศทางของกระบวนการเบย่ี งเบนไปจากวัตถปุ ระสงค หรอื ประเด็นทีต่ ้งั ไว

29 1.2.2 ดําเนินการเวทปี ระชาคม ในกระบวนการนผี้ ูอ ํานวยการเรยี นรหู รอื วิทยากรกระบวนการหลกั มบี ทบาท มากที่สดุ ขนั้ ตอนในกระบวนการน้ปี ระกอบดวย 1) การทําความรจู ักกันระหวางผูเขา รวมอภิปราย คอื การละลายพฤตกิ รรมใน กลุมและระหวางกลุมกบั ทมี งาน เพ่ือสรา งบรรยากาศทด่ี รี ะหวางการอภปิ ราย 2) บอกวัตถุประสงคของการจัดเวทีประชาคม เพื่อใหผูเขาอภิปรายไดเตรียม ตัว ในฐานะผูมีสวนเก่ียวของกับประเด็น/ปญหา การบอกวัตถุประสงคของการจัดเวที ประชาคมนีส้ ามารถทาํ ไดหลายวิธี อยางไรกต็ ามการทีจ่ ะเลอื กใชวิธีไหนน้ันตองคํานึงถึงความ ถนัดและทักษะของวิทยากรกระบวนการ และการกระตุนใหเกิดการมีสวนรวมของผูรวม อภปิ ราย ควรใชภาษาท่สี อดคลองกบั ภมู หิ ลงั ของผเู ขา รวมอภิปราย และตอ งใหผ ูร วมอภิปราย ในเวทปี ระชาคมรสู กึ ไวใจตั้งแตเ ร่ิมตน 3) การเกริ่นนําเขา สทู ีม่ าท่ีไปของประเด็นการอภปิ รายในเวทีประชาคม เพื่อให ผูเขารวมอภิปรายไดเขาใจที่ไปที่มา และความสําคัญของประเด็นตอการดําเนินชีวิต หรือวิถี ชีวิต ทั้งนี้จุดมุงหมายของข้ันตอนน้ีคือกระตุนใหผูเขารวมอภิปรายในฐานะผูมีสวนเก่ียวของ โดยตรงตอประเด็น/ปญหา ตองชวยกันผลักดันหรือมีสวนรวมในกระบวนการแกไขปญหาท่ี สง ผลกระทบโดยตรง 4) การวางกฎ และระเบียบของการจัดเวทีประชาคมรวมกัน ขั้นตอนน้ีเปน ขั้นตอนกอนการเร่ิมอภิปรายในประเด็นท่ตี งั้ ไว มีจุดมุงหมายเพื่อรวมกันกําหนดขอบเขต และ การวางระเบียบของการจัดทําเวทีประชาคมรวมกันระหวางผูดําเนินการอภิปรายและผูรวม อภิปราย ท้ังน้ีเพ่ือปองกันความขัดแยงระหวางการอภิปราย อยางไรก็ตามหากกติกา ท่ีผูเขารวมไดเสนอแตเปนกฎพื้นฐานท่ีจําเปนสําหรับกิจกรรมระดมสมอง เชน เวทีประชาคม นั้น วทิ ยากรกระบวนการจําเปน ท่ีตองเสนอในทปี่ ระชมุ ซึ่งอาจจะเสนอเพ่ิมเติมภายหลังจากท่ี ผเู ขารวมเวทปี ระชาคมไดเ สนอมาแลว กฎพน้ื ฐาน คอื (1) ทุกคนตองแสดงความคิดเห็น (หรือหากเปนกลุมใหญ ตัวแทนของแต ละกลมุ ตอ งแสดงความคิดเห็น) (2) กาํ หนดเวลาทแ่ี นนอนในการพดู แตละครงั้ (3) ไมแทรกพดู ระหวางคนอนื่ กําลังอภปิ ราย

30 (4) ทกุ คนในเวทีประชาคมมีความเทา เทยี มกันในการแสดงความคิดเห็นไม วาผูเขารว มจะมีสถานะทางสงั คม หรือสถานภาพทตี่ า งกนั เชน ลูกบา น ผใู หญบาน ผูรบั บริการ ผูใหบรกิ าร ผูหญงิ ผูช าย เปนตน (5) ทุกคนสามารถเสนอประเด็นใหม ๆ ได แตตองตรงกบั ประเดน็ หลกั ที่ เปนประเด็นอภปิ ราย (6) วิทยากรหลักเปน เพยี งคนกลางท่ชี วยกระตนุ ใหเ กดิ การพูดคุย และ สรุปประเด็นทเ่ี กิดจากการอภปิ ราย ไมใ ชผเู ชี่ยวชาญในการแกป ญ หา 5) การอภิปรายประเด็นหรือปญหา ในขั้นตอนน้ีวิทยากรกระบวนการ/ ผูอาํ นวยการเรยี นรตู อ งดําเนนิ การอภิปรายใหบรรลุตามวัตถุประสงค ตามกระบวนการ และ ตามแผนท่ีวางไว นอกจากน้ัน ทีมงานเองก็ตองชวยสนับสนุนใหเวทีประชาคมดําเนินการไป อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ และตามแผนทไี่ ดต กลงกนั ไว วิทยากรหลกั สามารถใชว ธิ ีการอ่ืน ๆ เขามา ชวยสนบั สนนุ การซกั ถามเพ่อื กระตุน การมสี ว นรวมในเวทีใหมากท่สี ดุ 6) การสรุป เปนข้ันตอนสุดทายของการจัดเวทีประชาคม ซ่ึงวิทยากรหลัก/ ผูอํานวยการเรียนรูตองสรุปผลของการอภิปราย โดยแยกเปนผลท่ีไดจากการพูดคุยกันเพื่อ นําไปเปนแนวทางในการแกปญหาตอไป ผลท่ีไมสามารถสรุปไดในเวทีและจําเปนตอง ดําเนินการอยางใดอยางหน่ึงตอไป ในขั้นตอนนี้จําเปนตองมีการทบทวนรวมกัน และทําเปน ขอตกลงรวมกันวาจะตองมีการดําเนินการอยางไรกับผลท่ีไดจากเวทีประชาคม โดยเฉพาะ อยางยิ่งอาจระบุอยางชัดเจนวาใครจะตองไปทําอะไรตอ และจะนัดหมายกลับมาพบกัน เพือ่ ติดตามความคืบหนา กนั เมอ่ื ไร อยา งไร 1.2.3 ติดตาม-ประเมนิ ผล เปน กระบวนการตอเนอื่ งหลงั จากการจัดเวทปี ระชาคมเสรจ็ สิ้นแลว ซงึ่ สามารถแบง กระบวนการนีเ้ ปน 2 ข้นั ตอนใหญ คือ การตดิ ตาม และการประเมินผล 1) ขั้นตอนการติดตาม เปนการตามไปดูวามีการดําเนินการอยางใดอยาง หนึ่งหรือไมตามท่ีไดตกลงกันไว ขั้นตอนนี้จําเปนตองเปดโอกาสใหประชาชนหรือผูที่มีสวน เกี่ยวของไดเขามามีสวนรวมในการติดตามผล โดยอาจจะกําหนดบทบาทหนาที่ทําแผนการ ตดิ ตาม และกาํ หนดวธิ ีการติดตามรว มกนั และมีการติดตามรวมกันอยางสมํ่าเสมอตามแผนที่ วางไว ขนั้ ตอนนีจ้ ะชวยใหผ เู ขารว ม ในเวทีประชาคม เขาใจความสําคัญของการทํางานรวมกัน ในฐานะเจาของประเด็น/ปญหาและเรียนรูจากประสบการณการติดตามเพ่ือนําไปเพิ่มทักษะ การจัดการปญหาของชาวบา นเองในอนาคต

31 2) ขั้นตอนของการประเมินผล คือ (1) เพ่ือตรวจสอบการเปล่ียนแปลงภายหลังการจัดเวทีประชาคมวา ประชาชน มีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนหรือไม เม่ือมีการจัดการอยางใดอยางหนึ่งแลว เชน เมื่อมี การผลักดันประเด็นใดประเด็นหน่ึงท่ีเปนปญหาเขาสูความสนใจของผูมีอํานาจในการกําหนด นโยบาย หรือบรรจุอยใู นนโยบายของรฐั แลว เปนตน (2) เพ่ือประเมินทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการจัด เวทปี ระชาคมท้ังหมดวา ไดรับความรวมมือมากนอยเพียงใด ลักษณะและกระบวนการท่ีทํา เอ้ือตอ การแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันหรือไม ผลท่ีไดรับคุมคาหรือไมและบรรลุตาม วตั ถุประสงคท ่วี างไวหรอื ไมอยา งไร การสรปุ ขอ มูลที่ไดจ ากการติดตามและการประเมินผล จะชวยใหท ั้งผจู ัดเวที ประชาคมและเขารว มไดมีบทเรียนรวมกนั และสามารถนาํ ประสบการณท ่ีไดไปใชพ ฒั นาใน การจัดกจิ กรรมประชาคมอื่น ๆ ตอ ไป 1.3 การประชมุ กลุมยอย หรือการสนทนากลมุ การสนทนากลุม หมายถงึ การรวบรวมขอ มลู จากการสนทนากับกลุมผูใหขอมูลใน ประเดน็ ปญ หาทเี่ ฉพาะเจาะจง โดยมผี ูด ําเนินการสนทนา (Moderator) เปนผูคอยจุดประเด็น ในการสนทนา เพื่อชกั จูงใหก ลมุ เกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นตอประเด็นหรือแนวทางการ สนทนาอยางกวา งขวางละเอียดลึกซ้ึง โดยมีผูเขารวมสนทนาในแตละกลุมประมาณ 6-10 คน ซง่ึ เลือกมาจากประชากรเปาหมายทก่ี าํ หนดเอาไว (สํานักงานกองทนุ สนบั สนุนการวิจยั , 2549) 1.3.1 ข้ันตอนการจัดสนทนากลุม นักวชิ าการทา นหนงึ่ ชื่อ จูดติ ชาเกน ไซมอน (Judith Sharken Simon) กลาววา การสนทนากลุม ไมไ ดจ ัดทาํ ไดใ นระยะเวลาอันสัน้ กอนทจี่ ะมีการประชมุ ควรมกี าร เตรียมการไมนอยกวา 4 สปั ดาห บางครัง้ กวา ท่จี ะปฏบิ ตั ิไดจริงอาจใชเวลาถงึ 6-8 สปั ดาห กอ นท่ีจะมกี ารดาํ เนินงาน ผูรว มงานควรมกี ารตกลง ทําความเขาใจเกีย่ วกับหวั ขอ การสนทนา และทดสอบคําถาม เพอ่ื ใหม ีความเขา ใจตรงกัน เพ่ือใหก ารสนทนาที่เกดิ ข้ึนเปนไปตาม ระยะเวลาทก่ี าํ หนด ซ่งึ มีข้นั ตอนในการจดั สนทนากลมุ ดงั น้ี 1) กาํ หนดวตั ถปุ ระสงค (6-8 สปั ดาหกอ นการสนทนากลมุ ) 2) กาํ หนดกลุมผรู ว มงานและบุคคลกลุม เปา หมาย (6-8 สัปดาหกอ นการสนทนา กลมุ )

32 3) รวบรวมท่ีอยูและเบอรโทรศัพทของผูรวมงาน (6-8 สัปดาหกอนการสนทนา กลุม) 4) ตดั สนิ ใจวา จะทําการสนทนาเปนจํานวนก่ีกลุม (4-5 สัปดาหกอนการสนทนา กลมุ ) 5) วางแผนเรือ่ งระยะเวลาและตารางเวลาการสนทนา (4-5 สัปดาหก อนการ สนทนากลุม) 6) ออกแบบแนวคําถามที่จะใช (4-5 สัปดาหกอนการสนทนากลุม ) 7) ทดสอบแนวคาํ ถามท่สี รา งข้ึน (4-5 สปั ดาหก อ นการสนทนากลมุ ) 8) ทาํ ความเขาใจกับผูด าํ เนินการสนทนา และผูจดบนั ทึก (4-5 สปั ดาหกอ นการ สนทนากลมุ ) 9) คัดเลือกผเู ขารวมกลุม สนทนา และจัดทาํ บัตรเชิญสง ใหผูรว มสนทนา (3-4 สัปดาหก อ นการสนทนากลุม) 10) โทรศัพทเ พอ่ื ติดตามผลและสง บตั รเชญิ ใหผูรวมงาน (3-4 สัปดาหก อน การสนทนากลมุ ) 11) การจัดการเพ่ือเตรยี มการทําสนทนากลุม เชน จัดตาํ แหนงท่ีนั่ง จดั เตรียม เคร่อื งมืออุปกรณ เปนตน 12) แจง สถานทใี่ หผูเ ขารวมสนทนาทราบลว งหนา 2 วนั 13) จัดกลุมสนทนา และหลังจากการประชมุ ควรมีการสง จดหมายขอบคณุ ผรู วมงานดว ย 14) สรปุ ผลการประชุม วเิ คราะหขอมูลและสงใหผ รู ว มประชุมทุกคน 15) การเขยี นรายงาน 1.3.2 การดาํ เนนิ การสนทนากลมุ 1) แนะนําตนเองและทมี งาน ประกอบดวย พิธกี ร ผูจดบันทกึ และผูบริการทว่ั ไป โดยปกตไิ มควรใหม ผี สู ังเกตการณ อาจมีผลตอการแสดงออก 2) อธบิ ายถงึ จุดมุงหมายในการมาทําสนทนากลุม วตั ถุประสงคข องการศึกษา 3) เร่มิ เกริ่นนาํ ดวยคาํ ถามอุนเครื่องสรา งบรรยากาศเปนกนั เอง 4) เมอื่ เรมิ่ คุนเคย เรม่ิ คําถามในแนวการสนทนาทจี่ ัดเตรียมไวท ง้ิ ชว งใหม ีการถก ประเด็น และโตแ ยง กันใหพอสมควร

33 5) สรา งบรรยากาศใหเกิดการแลกเปล่ียนความคดิ เห็นตอ กัน ควบคมุ เกมไมให หยุดน่ิง อยาซักถามคนใดคนหน่ึงจนเกินไป คําถามท่ีถามไมควรถามคนเดียว อยาซักถาม รายตัว 6) ในการน่ังสนทนา พยายามอยาใหเ กดิ การขมทางความคิด หรือชักนําผอู ่นื ให เห็นคลอ ยตามกับผทู ีพ่ ูดเกง ควรสรางบรรยากาศใหค นทไ่ี มคอ ยพูดใหแสดงความคดิ เห็นออกมา ใหไ ด 7) พธิ ีกรควรเปน ผูคุยเกงซกั ถามเกง มีพรสวรรคใ นการพูดคยุ จังหวะการถามดี ถามชา ๆ ละเอียด ควรมกี ารพดู แทรกตลกอยา งเหมาะสมดวย 1.3.3 ขอ ดขี องการจัดสนทนากลุม 1) ผเู กบ็ ขอ มูล เปนผูไดรบั การฝกอบรมเปนอยางดี 2) เปนการน่งั สนทนาระหวางผูดาํ เนนิ การกับผรู ู ผใู หข อมลู หลายคนทเ่ี ปน กลมุ จงึ กอ ใหเ กิดการเสวนาในเร่อื งที่สนใจ ไมม ีการปดบัง คําตอบท่ีไดจากการถกประเดน็ ซึง่ กนั และกัน ถอื วาเปนการกล่นั กรองซึ่งแนวความคดิ และเหตผุ ล โดยไมม ีการตปี ระเด็นปญหาผดิ ไป เปน อยา งอ่ืน 3) การสนทนากลมุ เปนการสรางบรรยากาศเสวนาใหเ ปนกนั เองระหวางผนู ํา การสนทนาของกลุมกับสมาชิกกลุมสนทนาหลาย ๆ คนพรอมกัน จึงลดสภาวการณเขินอาย ออกไปทําใหสมาชิกกลมุ กลาคุยกลา แสดงความคิดเหน็ 4) การใชว ิธีการสนทนากลุม ไดขอมูลละเอียดและสอดคลองกับวัตถุประสงคของ การศึกษาไดสาํ เร็จหรือไดด ีย่งิ ขึน้ 5) คําตอบจากการสนทนากลมุ มีลกั ษณะเปนคําตอบเชิงเหตุผลคลา ย ๆ กบั การรวบรวมขอ มูลแบบคณุ ภาพ 6) ประหยัดเวลาและงบประมาณของผดู าํ เนนิ การในการศึกษา 7) ทําใหไ ดร ายละเอียด สามารถตอบคําถามประเภททาํ ไมและอยางไรไดอยาง แตกฉาน ลึกซงึ้ และในประเดน็ หรอื เร่ืองท่ไี มไดค ิดหรือเตรียมไวกอนกไ็ ด 8) เปนการเผชิญหนา กนั ในลกั ษณะกลมุ มากกวา การสัมภาษณตวั ตอตัว ทาํ ใหมี ปฏกิ ริ ยิ าโตต อบกันได 9) การสนทนากลุม จะชวยบง ช้ีอทิ ธิพลของวัฒนธรรมและคุณคา ตา ง ๆ ของสงั คม นัน้ ได เน่อื งจากสมาชกิ ของกลุมมาจากวัฒนธรรมเดียวกนั 10) สภาพของการสนทนากลุม ชวยใหเ กิดและไดข อมูลที่เปน จรงิ

34 1.4 การสมั มนา “สัมมนา” แปลวา รวมใจ เปนศัพทบัญญัติใหตรงกับ คําวา Seminar ความหมายของการสัมมนาคอื การประชุมของกลมุ บคุ คลทีม่ คี วามรู ความสนใจ ประสบการณ ในเรอื่ งเดยี วกัน ทม่ี จี ดุ มุงหมายเพ่ือรวมกันวิเคราะหและหาแนวทางการแกปญหาที่ประสบอยู ตามหลกั การของประชาธปิ ไตย 1.4.1 ประโยชนข องการสัมมนา 1) ผูจดั สามารถดําเนนิ การจดั สัมมนาไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ 2) ผเู ขา รว มสัมมนาไดรับความรู แนวคิดจากการเขา รว มสัมมนา 3) ชว ยทาํ ใหระบบและวิธกี ารทํางานมปี ระสิทธภิ าพสูงขนึ้ 4) ชว ยแบง เบาภาระการปฏิบัติงานของผบู งั คับบัญชา 5) เปนการพัฒนาและสง เสรมิ ความกา วหนา ของผปู ฏิบัติงาน 6) เกิดความริเริม่ สรา งสรรค 7) สามารถสรางความเขาใจอันดีตอเพือ่ นรวมงาน 8) สามารถรวมกนั แกป ญ หาในการทํางานได และฝก การเปนผนู ํา 1.4.2 องคป ระกอบของการสมั มนา 1) ผดู ําเนินการสัมมนา 2) วิทยากร 3) ผเู ขารวมสัมมนา 1.4.3 ลักษณะทวั่ ไปของการสมั มนา 1) เปนประเภทหนึ่งของการประชุม 2) มีการยดื หยุนตามความเหมาะสม 3) เปนองคความรูและปญ หาทางวชิ าการ 4) เปนกระบวนการรวมผทู ีส่ นใจในความรูทางวิชาการท่มี รี ะดับใกลเ คียงกัน หรือแตกตา งกนั มาสรา งสรรคองคความรใู หม 5) อาศยั หลกั กระบวนการกลมุ 6) เปน กิจกรรมทเี่ รงเรา ใหผ ูเขารว มสัมมนา มีความกระตือรอื รน 7) มโี อกาสนาํ เสนอ พดู คุย โตต อบซักถาม และแสดงความคดิ เห็นตอ กัน 8) ไดพ ัฒนาทกั ษะ การพูด การฟง การคิด และการนําเสนอความคิด ความ เช่ือ และความรอู ื่น ๆ ตลอดจนการเขียนรายงานหรือเอกสารประกอบการสมั มนา

35 9) ฝก การเปน ผนู าํ และผตู ามในกระบวนการเรียนรู 10) เล็งถึงกระบวนการเรียนรู (process) มากกวาผลท่ีไดรับ (product) จาก การสมั มนาโดยตรง 1.5 การสาํ รวจประชามติ ประชามติ (Referendum) หมายถึง การลงประชามติ, คะแนนเสียงท่ี ประชาชนลง ความหมายตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง มติของ ประชาชน สวนใหญในประเทศที่แสดงออกในเรื่องใดเรื่องหน่ึงหรือในท่ีใดท่ีหนึ่ง มติของ ประชาชนท่รี ัฐใหส ทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนนรบั รองรา งกฎหมายท่สี ําคัญ ท่ผี า นสภานิติบัญญัติแลว หรอื ใหตัดสินปญ หาสําคญั ๆ ในการบริหารประเทศ 1.5.1 ประเภทการสํารวจประชามติ การสํารวจประชามตทิ างดานการเมือง สวนมากจะรจู ักกันในนามของ Public Opinion Polls หรอื การทําโพล ซึง่ เปน ทรี่ จู กั กันอยา งแพรหลาย คอื การทําโพลการเลอื กต้งั (Election Polls) แบง ได ดงั น้ี 1) Benchmark Survey เปน การทาํ การสาํ รวจเพอ่ื ตองการทราบความเห็น ของประชาชนเกยี่ วกบั การรับรเู ร่อื งราว ผลงานของผูสมัคร ชื่อผูสมัคร และคะแนนเสียง เปรยี บเทียบ 2) Trial Heat Survey เปนการหย่ังเสียงวา ประชาชนจะเลอื กใคร 3) Tracking Polls คือการถามเพ่ือดูแนวโนม การเปลี่ยนแปลง สว นมากจะทํา ตอนใกลเลือกตัง้ 4) Cross-sectional vs. Panel เปน การทาํ โพล ณ เวลาใดเวลาหน่ึง หลาย ๆ คร้งั เพ่อื ทําใหเ ห็นวาภาพผูสมคั รในแตละหวงเวลามีคะแนนความนยิ มเปนอยา งไร แตไ ม ทราบรปู แบบการเปลีย่ นแปลงทเ่ี กดิ ข้ึนในตัวคน ๆ เดียว จงึ ตอ งทาํ Panel Survey 5) Focus Groups ไมใ ช Polls แตเปน การไดขอ มูลทค่ี อนขา งนาเชือ่ ถือได เพราะจะเจาะถามเฉพาะกลมุ ทรี่ ูและใหค วามสําคญั กบั เรอื่ งน้ัน ๆ จรงิ จัง ปจ จบุ ันนิยมเชิญ ผูเชี่ยวชาญหลาย ๆ ดา นมาใหความเห็นหรอื บางครงั้ กเ็ ชิญกลุมตัวอยางมาถามโดยตรงเลย การทาํ ประชมุ กลมุ ยอ ยยังสามารถใชใ นการถามเพอ่ื ดูวา ทิศทางของคําถามท่ีควรถามควรเปน เชนไรดวย 6) Deliberative Opinion คือการรวมเอาการสํารวจท่ัวไป กับการทําการ ประชุมกลุม ยอ ยเขา ดวยกัน โดยการนําเอาตัวแทนประชาชนมารวมกัน แลวใหขอมูลขาวสาร

36 หรือโอกาสในการอภิปรายประเด็นปญหา แลวสํารวจความเห็นในประเด็นปญหาเพื่อวัด ประเดน็ ทปี่ ระชาชนคดิ 7) Exit Polls เปนการสัมภาษณผูใชสิทธ์ิออกเสียงเม่ือเขาออกจากคูหา เลือกตง้ั เพื่อดวู าเขาลงคะแนนใหใคร ปจจุบันในสังคมไทยนิยมมาก เพราะมีความนาเชื่อถือ มากกวา Polls ประเภทอ่นื ๆ การสํารวจทัศนคติและความคิดเห็นทางดานการตลาด (Marketing Research) สวนมากจะเนนการศึกษาความเห็นของผูใชสินคาและบริการตอคุณสมบัติอันพึงประสงคของ สินคาและบริการ รวมทั้งความคาดหวังในการไดรับการสงเสริมการขายที่สอดรับกับความ ตอ งการของผูใ ชส ินคาและบริการดวย การสาํ รวจความเหน็ เก่ียวกบั ประเด็นทเี่ กีย่ วขอ งกับการอยูรวมกันในสงั คม เปนการสาํ รวจความคิดเห็นของสาธารณชนในมิติท่ีเก่ียวของกับสภาพความเบ่ียงเบนจากการ จัดระเบียบสังคมที่มีอยูในสังคมใดสังคมหนึ่ง เพื่อนําขอมูลมากําหนดแนวทางในการแกไข ปญหาความสัมพันธที่เกิดขึ้นเปนวิธีการที่ใชมากในทางรัฐศาสตรและสังคมวิทยา เรียกวา การวิจยั นโยบายสาธารณะ(Policy Research) 1.5.2 กระบวนการสาํ รวจประชามติ 1) การกําหนดปญหาหรือขอมูลท่ีตองการสาํ รวจ คือ การเลือกส่ิงท่ีตองการจะ ทราบจากประชาชนเกี่ยวกบั นโยบาย บคุ คล คณะบุคคล เหตุการณ ผลงาน และสถานท่ีตาง ๆ เชน ดา นการเมอื ง มักเก่ียวของกับบุคคล นโยบายรัฐ ดานสังคมวิทยา เกี่ยวกับความสัมพันธ สภาพปญหาสงั คมทีเ่ กิดขน้ึ 2) กลมุ ตัวอยาง ตัวแทน คือ การกาํ หนดกลมุ ตัวอยา งของการสํารวจประชามติ ท่ีดีตองใหครอบคลุมทุกเพศ วัย อาชีพ ระดับการศึกษา และรายได เพ่ือใหไดเปนตัวแทนที่ แทจริง ซ่ึงจะมีผลตอการสรุปผล หากกลุมตัวอยางท่ีไดไมเปนตัวแทนที่แทจริงทั้งในดาน คณุ ภาพและปรมิ าณ การสรปุ อาจผิดพลาดได 3) การสรางแบบสอบถาม แบบสอบถาม คือ เครื่องมือวิจัยชนิดหน่ึงใชวัด คาตัวแปรในการวิจัย แบบสอบถามมีสภาพเหมือนมาตรหรือมิเตอรท่ีใชในทางวิทยาศาสตร หรือใชใ นชีวิตประจําวนั เชน มาตรวดั ความดันนํ้า มาตรวัดปริมาณไฟฟา แบบสอบถามที่ใชใน การทาํ ประชามติ คือ มาตรวัดคุณสมบัติของเหตกุ ารณท ีท่ าํ การศึกษา (Likert scale) เคร่ืองมือ วัดทัศนคติ หรือความคิดเห็นที่กําหนดคะแนนของคําตอบในแบบสอบถาม สวนใหญกําหนด นํา้ หนักความเหน็ ตอคําถามแตละขอเปน 5 ระดบั เชน “เห็นดวยอยางย่ิง” ใหมีคะแนนเทากับ

37 5 “เห็นดวย” ใหมีคะแนนเทากับ 4 “เฉย ๆ” หรือ “ไมแนใจ” หรือ “เห็นดวย ปานกลาง” ใหมีคะแนนเทากับ 3 “ไมเห็นดวย” ใหมีคะแนนเทากับ 2 และ ”ไมเห็นดวยอยางย่ิง” ใหมี คะแนนเทา กบั 1 คะแนนของคาํ ตอบเกี่ยวกบั ทัศนคติหรือความคดิ เห็นแตละชุด จะนํามาสราง เปนมาตรวัดระดับของทัศนคติหรือความคิดเห็นในเร่ืองนั้น ๆ การออกแบบสอบถามเปนทั้ง ศาสตรและศิลป การออกแบบสอบถามไดชัดเจน เขาใจงาย สามารถเปดโอกาสใหไดมีโอกาส คดิ ไดบาง เปน ส่ิงท่ีทําไดยาก เปนเร่ืองความสามารถในการเรียบเรียงขอความใหตรงกับความ เขาใจของคนตอบ และคนตอบตอ งเขาใจคลายกนั ดวย จึงจะทาํ ใหไดขอมูลที่มีความนาเช่ือถือ 4) ประชุมเจาหนาท่ีเก็บขอมูล เปนการประชุมเพื่อซักซอมความเขาใจใน ประเด็นคําถามที่ถามใหตรงกัน ความคาดหวังในคําตอบประเภทการใหคําแนะนําวิธีการ สัมภาษณ การจดบันทึกขอมลู การหาขอมลู เพิ่มเตมิ ในกรณที ่ียงั ไมไ ดค าํ ตอบ 5) การเก็บขอมูลภาคสนาม เจา หนาที่เก็บขอมูลจะไดรับการฝกในเรื่องวิธีการ สัมภาษณ การบันทึกขอมูล และการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล การเก็บขอมูลการ สํารวจประชามติสามารถดําเนนิ การได 3 ทางคอื การสัมภาษณแบบเห็นหนา (Face to Face) การสมั ภาษณท างโทรศพั ท และการสง แบบสอบถามทางไปรษณยี  6) การวเิ คราะหข อมูล ในกรณีการสาํ รวจประชามติ การวเิ คราะหข อ มลู สวนมากไมส ลับซบั ซอนเปนขอมูลแบบรอยละ เพ่ือตีความและหยิบประเด็นท่ีสาํ คญั จัดลําดับ ความสาํ คัญ 7) การนําเสนอผลการสํารวจประชามติ มีโวหารท่ีใชนําเสนอผลการสํารวจ ประชามติ ดงั น้ี (1) โวหารท่ีเนนนัยสําคัญทางสถิติ นําเสนอผลโดยสรางความเช่ือม่ันจาก การอา งถงึ ผลท่ีมนี ัยสาํ คญั ทางสถติ ริ องรบั (2) โวหารวาดวยเปนวิทยาศาสตร การนําเสนอผลโดยการอางถึง กระบวนการไดมาซ่งึ ขอมลู ทเี่ นนการสงั เกตการณ การประมวลขอมูลดว ยวิธกี ารทเ่ี ปนกลาง (3) โวหารในเชิงปรมิ าณ นําเสนอผลโดยใชตัวเลขที่สํารวจไดมาสรางความ นาเช่ือถือ และความชอบธรรมในประเดน็ ท่ีศกึ ษา (4) โวหารวาดว ยความเปนตวั แทน การนาํ เสนอขอ มลู ในฐานะที่เปนตัวแทน ของกลมุ ตวั อยา งท่ที าํ การศกึ ษา

38 1.6 การทําประชาพิจารณ การทําประชาพิจารณ หมายถึง การจัดเวทสี าธารณะเพอื่ ใหป ระชาชนโดยเฉพาะ ผเู ก่ยี วขอ งหรอื ผทู ี่มสี วนไดเสียโดยตรง ไดมีโอกาสทราบขอมลู ในรายละเอียดเพอื่ เปน การเปด โอกาสใหม สี วนในการแสดงความคดิ เห็น และมีสว นรวมในการใหขอ มูลและความคดิ เหน็ ตอ นโยบายหรอื โครงการน้ัน ๆ ไมว า จะเปนการเห็นดวยหรอื ไมเหน็ ดวยกต็ าม 1.6.1 ข้นั ตอนการทําประชาพิจารณ ในที่น้ีขอนําเสนอตัวอยางการทําประชาพิจารณของสภารางรัฐธรรมนูญ เพื่อใหรางรัฐธรรมนูญฉบับท่ีจะทําขึ้นน้ีเปนของประชาชนโดยแทจริง สภารางรัฐธรรมนูญได แตง ตั้งคณะกรรมาธกิ าร รับฟงความคิดเห็น และประชาพิจารณข้ึน เพื่อรวบรวมความคิดเห็น ของประชาชนเกย่ี วกับรางรฐั ธรรมนญู โดยมีขน้ั ตอนดงั นี้คอื 1) ขัน้ ตอนท่ี 1 สมาชิกสภารางรัฐธรรมนญู นาํ ประเด็นหลกั และหลักการ สาํ คญั ในการแกไขปญหา ซึ่งแยกเปน 3 ประเด็นคือ ประเด็นเร่ืองสิทธิและการมีสวนรวมของ พลเมือง ประเด็นเรื่องการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ และประเด็นเรื่องสถาบันการเมืองและ ความสัมพนั ธระหวางสถาบันการเมือง ออกไปรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเบ้ืองตน และ นําขอมลู เสนอกรรมาธิการ ภายในชวงตนเดือนเมษายน 2) ขนั้ ตอนท่ี 2 กรรมาธกิ ารรับฟงความคดิ เห็นและประชาพจิ ารณอ อกรับฟง ความคดิ เห็นจากประชาชนจังหวดั ตาง ๆ จนถงึ เดือนมิถนุ ายน 3) ขั้นตอนท่ี 3 คณะกรรมาธิการรับฟงความคดิ เห็นและประชาพิจารณส งผล สรุปความคิดเห็นของประชาชนที่ไดจากการจัดทําสมัชชาระดับจังหวัดใหกรรมาธิการยกราง รฐั ธรรมนญู เร่อื งที่ 2 การจัดทาํ แผน 2.1 แผน แผน (Plan) หมายถงึ การตัดสนิ ใจท่กี ําหนดลว งหนา สาํ หรบั การเลือกใช แนวทาง การปฏบิ ตั ิการ ประกอบดวยปจ จัยสาํ คัญ คือ อนาคต ปฏบิ ตั กิ ารและสิ่งที่ตองการ ใหเกิดขึ้นนั่นคือ องคกร หรือแตละบุคคลท่ีตองรับผิดชอบ (ขรรคชัย คงเสนห และคณะ, 2545)

39 แผนแบง ออกเปน 2 ประเภท ตามขอบเขตของกจิ กรรมทท่ี ํา คือ 2.1.1 แผนกลยุทธ (Strategic plan) เปนแผนที่ทําข้ึน เพ่ือสนองความ ตองการในระยะยาวและรวมกิจกรรมทุกอยางของหนวยงาน ผูบริหารระดับสูงที่วางแผนกล ยุทธจะตองกําหนดวัตถุประสงคของท้ังหนวยงาน แลวตัดสินใจวาจะทําอยางไร และจะ จัดสรรทรัพยากรอยางไรจึงจะทําใหสําเร็จตามเปาหมายนั้น จะตองใชเวลาในการกําหนด กจิ กรรมทีแ่ ตกตา งกนั ในแตละหนวยงาน รวมท้ังทิศทางการดําเนินงานที่ไมเหมือนกัน ใหอยู ในแนวเดียวกนั การตดั สนิ ใจทส่ี าํ คัญของแผน กลยุทธก ค็ อื การเลือกวิธีการในการดําเนินงาน และการจัดสรรทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัดใหเหมาะสม เพื่อที่จะนําพาหนวยงานใหกาวไป ขา งหนา อยา งสอดคลอ งกับสถานการณแวดลอ มภายนอกทเี่ ปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 2.1.2 แผนดาํ เนินงานหรือแผนปฏิบตั กิ าร (Operational plan) เปนแผนท่ี กําหนดข้ึนมาใชส าํ หรับแตละกจิ กรรมโดยเฉพาะ เพื่อใหบ รรลุเปาหมายของแตล ะกจิ กรรม ซง่ึ เทา กับเปนแผนงานเพ่อื ใหแ ผนกลยทุ ธบรรลผุ ลหรอื เปน การนําแผนกลยุทธไปใชนน่ั เอง แผนดําเนินงานท่แี ยกตามกจิ กรรม ไดแ ก แผนการผลติ แผนการเงนิ แผนการตลาด แผนทรพั ยากรมนุษยและแผนอปุ กรณ ปจ จบุ ันหนว ยงานไดนําแผนท่มี ีขอบขายความรับผิดชอบเช่อื มโยงนโยบายกับ แผนงาน เปน “ยทุ ธศาสตร” คือ การตัดสนิ ใจจากทางเลอื กท่ีเช่อื วาดที สี่ ุด และเปนไปไดท สี่ ดุ เรยี กวา แผนยุทธศาสตร แผนทด่ี ตี องประกอบดว ยคุณลกั ษณะสาํ คัญ คอื กาํ หนดวัตถปุ ระสงคข องแผน อยางชดั เจน สามารถนาํ ไปปฏิบัตงิ าย และสะดวกตอ การปฏิบตั ิ ยดื หยุนไดต ามสภาพการณ กาํ หนดมาตรฐานของการปฏิบัติงานไวลว งหนา มีความละเอยี ดถีถ่ ว น และเปนทย่ี อมรับและ เกิดประโยชนแกผเู ก่ยี วของ สามารถจูงใจใหท ุกคนปฏบิ ตั ิตามแผน 2.2 โครงการ โครงการ (Project) เปน สวนประกอบสว นหน่งึ ในการวางแผนพัฒนาท่ชี ว ยให เห็นภาพ และทิศทางการพัฒนา มีขอบเขตท่ีสามารถติดตามและประเมินผลได ถือเปน สวนประกอบสําคัญของแผน จัดทําขึ้นเพ่ือพัฒนาหรือแกปญหาใดปญหาหน่ึงขององคกร แผนงานที่ปราศจากโครงการยอมเปนแผนงานที่ไมสมบูรณ ไมสามารถนําไปปฏิบัติใหเปน รปู ธรรมได โครงการจึงมคี วามสัมพนั ธก บั แผนงาน

40 การเขียนโครงการขึ้นมารองรบั แผนงานเปน ส่ิงสําคญั และจําเปนยิ่ง เพราะจะทํา ใหงายในการปฏิบัติและงายตอการติดตามและประเมินผล เพราะถาโครงการบรรลุผลสําเร็จ น่ันหมายความวา แผนงานและนโยบายนั้นบรรลุผลสําเร็จดวย โครงการจึงเปรียบเสมือน พาหนะท่ีนําแผนปฏิบัติการไปสูการดําเนินงานใหเกิดผล เพ่ือไปสูจุดหมายปลายทางตามที่ ตอ งการ อกี ทัง้ ยังเปนจุดเชอ่ื มโยงจากแผนงานไปสแู ผนเงนิ และแผนคนอีกดวย โครงการมีลกั ษณะสําคัญ ดังนี้ 1. เปน ระบบ มขี ้นั ตอนการดําเนินงาน 2. มีวัตถปุ ระสงคเ ฉพาะเจาะจง ชัดเจน 3. มีระยะเวลาแนน อน (มจี ุดเรมิ่ ตนและจุดสิ้นสดุ ในการดําเนนิ งาน) 4. เปนเอกเทศและมีผรู บั ผดิ ชอบโครงการอยางชดั เจน 5. ตอ งใชทรัพยากรในการดําเนินการ 6. มเี จาของงานหรอื ผูจ ดั สรรงบประมาณ ในปจจบุ นั สาํ นกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ได ใชวิธกี ารเขยี นโครงการแบบผสมผสานระหวางแบบประเพณีนิยม และแบบตารางเหตผุ ล ตอเนอ่ื ง ซงึ่ มีองคป ระกอบและรายละเอียด ดังน้ี หัวขอ ลกั ษณะ/รูปแบบ/แนวทางการเขียน 1. ชื่อโครงการ เปนชื่อท่ีส้ัน กระชับ เขาใจงาย และส่ือไดชัดเจนวาเน้ือหา ส า ร ะ ข อ ง ส่ิ ง ที่ จ ะ ทํ า คื อ อ ะ ไ ร โ ด ย ท่ั ว ไ ป ชื่ อ โ ค ร ง ก า ร มีองคประกอบ 2 สวน คือ สวนที่ 1 เปนประเภทของโครงการ เชน โครงการฝกอบรม โครงการสัมมนา โครงการประชุมเชิง ปฏิบัติการ สวนที่ 2 เปนลักษณะหรือความเกี่ยวของของ โครงการ วาเก่ียวกับเร่ืองอะไร หรือเก่ียวกับใคร เชน กําหนด ตามตาํ แหนง งานของผเู ขารวมโครงการ กาํ หนดตามลักษณะของ เนื้อหาวิชาหลักของหลักสูตรหรือประกอบกันท้ังสองสวน เชน โครงการอบรมอาชีพไมดอกไมประดับ โครงการสรางเสริม สขุ ภาพผูสูงอายุ โครงการจัดการขยะมลู ฝอยชุมชน เปน ตน 2. หลกั การและเหตผุ ล ความสําคญั ของโครงการ บอกสาเหตหุ รอื ปญ หาที่ทําใหเกิด โครงการนข้ี ึ้น และทีส่ ําคัญคอื ตอ งบอกไดว า ถาไดท ําโครงการ

หัวขอ 41 3. วัตถุประสงค ลกั ษณะ/รูปแบบ/แนวทางการเขยี น แลวจะแกไขปญ หานีต้ รงไหน การเขียนอธบิ ายปญ หาทีม่ า โครงการ ควรนําขอมลู สถานการณปญหาจากทอ งถน่ิ หรอื พน้ื ทท่ี ่ี จะทําโครงการมาแจกแจงใหผ ูอา นเกิดความเขา ใจชดั เจนขึน้ โดย มหี ลักการเขียน ดงั น้ี 1. เขียนในลักษณะบรรยายความ ไมน ยิ มเขียนเปนขอ ๆ 2. เขียนใหชดั เจน อา นเขาใจงา ย และมเี หตผุ ลสนับสนนุ เพยี งพอ ลําดับทีห่ นึง่ เปนการบรรยายถงึ เหตุผลและความจําเปน ในการจัดโครงการโดยบอกท่มี า และ ความสาํ คญั ของโครงการ นน้ั ๆ ลาํ ดบั ทีส่ อง เปนการอธิบายถงึ ปญหาขอ ขัดของ หรือ พฤติกรรมท่ีเบ่ียงเบนจากหลักการที่ควรจะเปน ซึ่งทําใหเกิด ความเสียหายในการปฏิบัติงาน(หรืออาจเขียนรวมไวใ นลําดับแรก ก็ได)สดุ ทายเปนการสรุปวาจากสภาพปญ หาที่เกิดข้นึ ผูรับผิดชอบจึงเหน็ ความจาํ เปนทจี่ ะตอ งจดั ทําโครงการข้นึ ในเรอื่ ง อะไรและสาํ หรบั ใครเพ่ือใหเกดิ ผลอยางไร ระบุสงิ่ ท่ีตอ งการใหเ กิดขึ้นเมือ่ ดาํ เนินการตามโครงการน้ีแลว โดย ตอบคําถามวา “จะทําเพอ่ื อะไร” หรือ “ทําแลว ไดอะไร” โดย ตองสอดคลอ งกบั หลักการและเหตผุ ล วตั ถปุ ระสงคท ี่ดคี วรเปน วตั ถุประสงคเ ชิงพฤตกิ รรม ซึง่ สามารถสังเกตไดและวดั ได องคประกอบของวตั ถุประสงคท ่ดี ี มีดังน้ี 1. เขาใจงา ย ชัดเจน ไมคลมุ เครือ 2. เฉพาะเจาะจง ไมกวางจนเกินไป 3. ระบถุ ึงผลลัพธท ต่ี อ งการ วาสิ่งท่ตี องการใหเกิดข้ึนคือ อะไร 4. สามารถวัดได ท้งั ในแงข องปรมิ าณและคุณภาพ 5. มคี วามเปนไปได ไมเล่อื นลอย หรือทาํ ไดยากเกินความเปน จรงิ คํากรยิ าทีค่ วรใชในการเขียนวตั ถุประสงคของโครงการ แลว ทาํ ใหส ามารถวัดและประเมินผลได ไดแก คําวา เพื่อให แสดง กระทาํ ดาํ เนินการ วดั เลือก แกไข สาธติ ตดั สนิ ใจ

หวั ขอ 42 4. เปาหมาย ลักษณะ/รูปแบบ/แนวทางการเขียน 5. กลุม เปาหมาย วิเคราะห วางแผน มอบหมาย จาํ แนก จัดลาํ ดับ ระบุ อธิบาย 6. วธิ ดี าํ เนินการ แกปญ หา ปรบั ปรงุ 7. งบประมาณ พัฒนา ตรวจสอบ ระบุสิ่งทต่ี อ งการใหเกิดข้ึนท้ังในเชิงปริมาณ และเชงิ คณุ ภาพใน แตละชวงเวลาจากการดําเนนิ การตามโครงการนแี้ ลว โดยตอบ คาํ ถามวา “จะทําเทาใด” ใครคอื กลุมเปาหมายของโครงการ หากกลมุ เปา หมายมหี ลาย กลุมใหบอกชดั ลงไปวา ใครคอื กลุม เปา หมายหลกั ใครคอื กลุมเปาหมายรอง บอกรายละเอยี ดวธิ ดี ําเนินการ โดยระบุเวลาและกิจกรรมการ ดําเนนิ โครงการ (ควรมรี ายละเอยี ดหวั ขอกจิ กรรม) เปนสว นที่แสดงยอดงบประมาณ พรอ มแจกแจงคาใชจา ย ในการดําเนินกจิ กรรมขั้นตา ง ๆ โดยท่วั ไปจะแจกแจงเปน หมวด ยอย ๆ เชน หมวดคา วัสดุ หมวดคาใชจาย หมวดคาตอบแทน หมวดคาครภุ ัณฑ ซึง่ การแจกแจงงบประมาณจะมปี ระโยชนใน การตรวจสอบความเปนไปไดแ ละความเหมาะสม นอกจากนีค้ วร ระบุแหลง ท่มี าของงบประมาณดว ยวา เปน งบประมาณแผน ดิน งบชว ยเหลือจากตางประเทศ เงินกูหรืองบบรจิ าค จํานวนเทา ไร ในการจดั ทํา ประมาณการคา ใชจ ายของโครงการ จะตอ ง ตระหนักวา คา ใชจ ายท้ังหมด แบง ออกไดเปน 2 สว น คอื คาใชจายจากโครงการ หรืองบประมาณสวนทจี่ า ยจริง และ คา ใชจ ายแฝง ไดแ ก คา ใชจายอื่น ๆ ท่ีเกิดขึน้ จริง หรือมีการใช จา ยอยูจรงิ แตไ มส ามารถระบุรายการคาใชจา ยน้ัน ๆ เปน จาํ นวนเงินไดอ ยางชัดเจน ดังน้นั ผูคิดประมาณการตอ งศกึ ษา และทาํ ความเขาใจในรายละเอยี ดโครงการหลักเกณฑและอตั รา การเบิกจายเงินงบประมาณตามระเบียบดวย

43 หวั ขอ ลกั ษณะ/รูปแบบ/แนวทางการเขยี น 8. ระยะเวลา ตอบคาํ ถามวา “ทาํ เม่อื ใด และนานเทา ใด” (ระบุเวลาเร่มิ ตน ดําเนินงาน และเวลาสน้ิ สุดโครงการอยา งชัดเจน)โดยจะตองระบุ วนั เดือน ป เชน เดยี วกบั การแสดงแผนภมู แิ กนท (Gantt Chart) 9. สถานท่ี เปนการระบุสถานทต่ี ัง้ ของโครงการหรือระบุวากจิ กรรมน้นั จะทาํ ณ สถานทแ่ี หงใด เพ่ือสะดวกตอการประสานงานและจดั เตรยี ม สถานทใ่ี หพรอ มกอ นท่จี ะทาํ กจิ กรรมนนั้ ๆ 10. ผูรับผิดชอบ เปน การระบเุ พ่อื ใหทราบวาหนว ยงานใดเปนเจาของ หรอื รบั ผิดชอบโครงการ โครงการยอ ย ๆ บางโครงการระบุเปน ชือ่ บุคคลผรู บั ผิดชอบเปนรายโครงการ 11. โครงการ/กจิ กรรม หลาย ๆ โครงการที่หนวยงานดาํ เนนิ งานอาจมคี วามเกีย่ วของกัน ทีเ่ กย่ี วขอ ง หรอื ในแตละแผนอาจมโี ครงการหลายโครงการ หรอื บาง โครงการเปน โครงการยอ ยในโครงการใหญ ดงั นนั้ จึงตองระบุ โครงการท่มี ีความเกย่ี วของดว ย 12. เครอื ขาย/ ในการดําเนินการโครงการ ควรจะประสานงานและขอ ความ หนว ยงานที่ใหการ รวมมือกับหนวยงานอื่น หากมีหนวยงานรวมดําเนินโครงการ สนับสนุน มากกวาหนึ่งหนวยงานตองระบุช่ือใหครบถวน และแจกแจงให ชัดเจนดวยวา หนวยงานท่ีรวมโครงการแตละฝายจะเขามามีสวน รวมโครงการใน สวนใด ซึ่งจะเปนขอมูลสะทอนใหเห็นวา โครงการจะประสบผลสําเร็จและเกดิ ผลตอเน่ือง 3. ผลทคี่ าดวา จะไดรับ เมือ่ โครงการนัน้ เสร็จสิ้นแลว จะเกิดผลอยางไรบา งใครเปน ผู ไดรับผลประโยชนโดยตรงและผลประโยชนในดา นผลกระทบของ โครงการ 14. การประเมิน บอกรายละเอียดการใหไดมาซงึ่ คําตอบวาโครงการท่ีจดั น้มี ี โครงการ ประโยชนแ ละคมุ คาอยางไร โดยบอกประเด็นการประเมนิ / ตัวชว้ี ัด แหลง ขอ มูล วิธีการประเมิน ใหส อดคลองกบั วัตถุประสงคห รอื เปาหมายของโครงการ